You are on page 1of 102

เอกสารประกอบการเรียน หลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์

โครงการส่งเสริมผูม้ ีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์
โรงเรียนสตรีพัทลุง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-5
เรื่อง

ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์

ดร.ยูซุฟ เจะบ่าว
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คำนำ
คณิตศาสตร์เปนวิ ็ ชาทีม่ หี ลั กการชั ดเจนและแน่นอน องค์ความรู้ทั้งหมดในวิชานี้สอดประสานเปนหนึ ็ ง่
เดียวกั น อย่างมีระเบียบแบบแผน สวยงาม และมีพัฒนาการจากขั้ น ต้น ไปสูข่ ั้ น ทีส่ ลั บ ซั บ ซ้อนขึ้น ตามลำดั บ ผู้
เรียนจึงควรมีความรู้ความเข้าใจในหลั กการพื้นฐานของวิชานี้เปนอย่ ็ างดี โดยเฉพาะหลั กตรรกศาสตร์และการ
็ อ่ งมือในการศกึ ษาค้นคว้าได้อย่างถูกต้องและเปนระบบต่
พิสจู น์ เพือ่ ใช้เปนเครื ็ อไป
เอกสารฉบั บ นี้จัด ทำขึ้น เพือ่ ใช้ ประกอบการเรียนหลั กสูตรเพิม่ พูน ประสบการณ์ โครงการส่ง เสริม ผู้ม ี
ความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ โรงเรียนสตรีพัทลุง ในวั นที่ 5 และ 12 กุมภาพั นธ์ 2565 มีเนื้อหาครอบคลุม
ภาพรวมของวิชาคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ และเน้นย้ำทีห่ ลั กการพิสจู น์แบบต่าง ๆ โดยผู้เขียนได้ปรั บเนื้อหามา
จากส่วนหนึง่ ของเอกสารประกอบการสอนรายวิชา “หลั กคณิตศาสตร์” (Principles of Mathematics) สำหรั บ
นั กศกึ ษาสาขาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์
ผู้เขียนขอขอบพระคุณครูวรานั นท์ สาครินทร์ และกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสตรีพัทลุง
ทีก่ รุณาติดต่อประสานงาน รวมทั้ งช่วยอำนวยความสะดวกอย่างดียงิ่ และหวั งว่าเอกสารฉบั บนี้จะเปนประโยชน์็
แก่นักเรียนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ตลอดจนผู้ทสี่ นใจในเรือ่ งตรรกศาสตร์และการพิสจู น์ไม่มากก็น้อย

ดร.ยูซฟุ เจะบ่าว
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การคำนวน
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์

i
สารบั ญ

iii
iv สารบั ญ
บทที่ 1
บทนำ
็ ฒนาการทางภูมปิ ญั ญาแขนงหนึง่ ของมนุษยชาติ และเปนส
คณิตศาสตร์เปนพั ็ งิ่ หนึง่ ทีส่ ะท้อนให้ เห็นว่า
มนุษย์มคี วามสามารถทางสติปญั ญา ความคิดสร้างสรรค์ และพลั งแห่งจินตนาการมากมายเพียงใด ในบทนี้เรา
จะกล่าวถึงธรรมชาติและโครงสร้างของวิชานี้

1.1 คณิตศาสตร์คอื อะไร


พจนานุกรมฉบั บราชบั ณฑิตยสถาน ได้ ให้ ความหมายของคำว่า คณิตศาสตร์ (อ่านว่า “คะ นิด ตะสาด”
หรือ “คะนิดสาด”) ไว้ วา่ คือ “วิชาว่าด้วยการคํานวณ” ซึง่ คำดั งกล่าว เปน็ คำ สมาสทีม่ าจากคำว่า “คณิต” ซึง่
หมายถึง การนั บ การคำนวณ กั บคำว่า “ศาสตร์” ซึง่ หมายถึง ระบบวิชา ความรู้
ในภาษาอั งกฤษ คำว่า mathematics มีรากศั พท์มาจากคำว่า µαθηµα (mathema) ในภาษากรีก ซึง่
ความหมายเดิมของคำนี้คอื “ความรู้ การศกึ ษา” ต่อคำมาดั งกล่าวถูกนำไปใช้ ในภาษาละตินและภาษาอั งกฤษ
็ า mathematics ดั งทีเ่ ราใช้ ในปจั จุบัน โดยคำนี้
ในรูปแบบและความหมายทีต่ า่ งออกไป จนกระทั ง่ เกิดเปนคำว่
มั กเขียนย่อเปน็ maths หรือ math โดยคำย่อแบบหลั งทีไ่ ม่ม ี s นิยมใช้ในประเทศสหรั ฐอเมริกาและแคนาดา
Cambridge Dictionary ให้ ความหมายของคำว่า mathematics ว่า คือ “the study of numbers,
shapes and space using reason and usually a special system of symbols and rules for organizing
่ กึ ษาตั วเลข รูปทรง และปริภมู ิ โดยใช้ หลั กเหตุผล และมีระบบสั ญลั กษณ์และหลั กเกณฑ์
them” หรือ “วิชาทีศ
พิเศษสำหรั บจั ดระเบียบความรู้เหล่านั้ น” นอกจากนี้ สารานุกรม Wikipedia ฉบั บภาษาอั งกฤษ ได้ กล่าวไว้ วา่
“คณิตศาสตร์เปนวิ ็ ชาทีศ่ กึ ษา ปริมาณ โครงสร้าง ปริภมู ิ และการเปลีย่ นแปลง นั กคณิตศาสตร์พยายามค้นหา
แบบรูป (pattern) ตั้ งข้อความคาดการณ์ใหม่ ๆ และยืนยั นความจริงหรือเท็จของข้อความคาดการณ์เหล่านั้ น
ด้วยการพิสจู น์”
ดั งนั้ น อาจกล่าวได้วา่
คณิตศาสตร์ คื อวิชาที่ ศึกษาจำนวน (number ) ร ูปทรง (shape) ปริภมู ิ (space)
โครงสร้ าง (structure) และแบบร ูป (pattern) โดยใช้ ระบบสั ญลั กษณ์ (symbolic system)
และหลั กตรรกศาสตร์ (logical principle) และยืนยั นความจริงของความร้ ดู้ วยการพิส ูจน์ (proof )

1
2 บทนำ

อย่างไรก็ตาม ความหมายข้างต้นเปนความหมายคร่ าว ๆ เท่านั้ น เนือ่ งจากขอบเขตของวิชาคณิตศาสตร์
มีความลึกซึ้งกว้างขวางเกินกว่าจะให้คำอธิบายเพียงสั้ น ๆ ได้ อนึง่ ความหมายของวิชานี้อาจแตกต่างกั นออกไป
ขึ้นอยูก่ ั บประสบการณ์และความรั บรู้ของแต่ละบุคคล
จากความหมายคร่าว ๆ ข้างต้น จะเห็น ว่า นอกจากระบบสั ญลั กษณ์แล้ว องค์ประกอบสำคั ญ ของวิชา
คณิตศาสตร์ คือ หลั กตรรกศาสตร์และการพิสจู น์ หากปราศจากทั้ งสองสงิ่ นี้แล้ว การศกึ ษาและการสร้างองค์
ความรู้ทางคณิตศาสตร์ยอ่ มไม่อาจเกิดขึ้นได้
เปา้ หมายทั ว่ ไปในการศกึ ษาค้นคว้าทางคณิตศาสตร์
อาจกล่าวได้ วา่ เปา้ หมายสำคั ญ อย่างหนึง่ ของวิชาคณิตศาสตร์ คือ การศกึ ษาทำความเข้าใจธรรมชาติ
หรือ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ โดยใช้ “ตั ว แบบเชิง คณิตศาสตร์” (mathematical model) หรือ “ระบบเชิง คณิต-
ศาสตร์” (mathematical system) โดยตั วแบบหรือระบบเชิงคณิตศาสตร์เปนแนวคิ ็ ดเชิงนามธรรม (abstract
concept) ทีใ่ ช้ แทนความจริงในธรรมชาติ ตั วอย่างเช่น ระบบจำนวน (number system) เปนตั ็ วแบบทีใ่ ช้ แทน
จำนวนหรือ ขนาดของสงิ่ ของ เรขาคณิต แบบยุค ลิด (Euclidean geometry) เปนตั ็ ว แบบทีใ่ ช้ แทนรูป ทรงใน
ธรรมชาติ เปนต้ ็ น ธรรมชาติและระบบเชิงคณิตศาสตร์ จึงมั กเปนส ็ งิ่ ทีส่ ะท้อนซึง่ กั นและกั นดั งแผนภาพ อย่างไร
ก็ตาม ตั วแบบหรือระบบเชิงคณิตศาสตร์อาจใช้ แทนสงิ่ ทีม่ อี ยูจ่ ริงได้ ดหี รือไม่กไ็ ด้ นอกจากนี้ เมือ่ คณิตศาสตร์ม ี

พั ฒนาการทีก่ ว้างไกลขึ้น ก็อาจเกิดระบบเชิงคณิตศาสตร์ใหม่ ๆ ทีเ่ ปนนามธรรมมากยิ ง่ ขึ้น ซึง่ อาจไม่องิ อยูก่ ั บ
ปรากฏการณ์ทมี่ อี ยูจ่ ริงในธรรมชาติอย่างเห็นได้ชัดเสมอไป

ธรรมชาติ ! ระบบเชิงคณิตศาสตร์

การทีร่ ะบบเชิงคณิตศาสตร์บางระบบสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติได้ด ี ทำให้มคี ำกล่าว


ว่า “คณิตศาสตร์เปนภาษาของวิ ็ ็
ทยาศาสตร์” (Mathematics is the language of Sciences.) และเปนศาสตร์
ทีอ่ ยูเ่ คียงคูก่ ั นกั บวิทยาศาสตร์อย่างขาดไม่ได้ จนทำให้คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Carl Friedrich Gauss) นั กคณิต-
ศาสตร์ชาวเยอรมั น ถึงกั บกล่าวไว้วา่ “คณิตศาสตร์เปนราชิ ็ นขี องวิทยาศาสตร์” (Mathematics is the Queen
of Sciences.)

การศกึ ษาค้นคว้าในระบบเชิงคณิตศาสตร์หนึง่ ๆ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดั งต่อไปนี้

1. การนั บ การคำนวณ หรือการประมาณค่า เช่น การนั บจำนวนวิธเี รียงสั บเปลีย่ น การหาค่าสุดขีด


็ น
สั มพั ทธ์ การหาค่าประมาณจำนวนของจำนวนเฉพาะทีม่ คี า่ ไม่เกินจำนวนเต็มบวก n ใด ๆ เปนต้
2. การแก้ สมการ ซึง่ สมการมีอยูห่ ลายประเภท เช่น สมการพหุนาม ระบบสมการเชิง เส้น สมการเชิง
็ น
ฟงั ก์ชัน สมการเชิงอนุพันธ์ สมการไดโอแฟนไทน์ เปนต้
3. การจั ดจำแนกประเภท เช่น การแบ่งประเภทของจำนวน หรือในวิชาเรขาคณิต มีการแบ่งประเภท
ของรูป ทรงโดยใช้ เกณฑ์ ตา่ ง ๆ ในวิชาพีชคณิต นามธรรม มีการจั ด แบ่ง กรุป จำกั ด (finite group)
ออกเปนกลุ็ ม่ ของกรุปทีส่ มสั ณฐาน (isomorphoic) กั น ซึง่ แนวคิดสำคั ญอย่างหนึง่ ทีใ่ ช้จัดจำแนกสงิ่
ทีเ่ หมือนกั นหรือต่างกั น ได้แก่ “ความสั มพั นธ์สมมูล” (equivalence relation)
1.2 ระบบเชิงคณิตศาสตร์ 3

4. การหาแบบรปู (pattern) และการวางนั ย ทั ว่ ไป (generalization) เช่น การหาลั กษณะการเรียง


ลำดั บของตั วเลขหลั งจุดทศนิยม การหาความสั มพั นธ์ระหว่างสั มประสทิ ธิแ์ ละรากของพุนาม การหา
็ งในระบบจำนวนจริง R ให้เปนจริ
สูตรทั ว่ ไปของสมาชิกในลำดั บ หรือการขยายทฤษฎีบทซึง่ เปนจริ ็ ง

ใน R2 หรือ Rn เมือ่ n เปนจำนวนเต็ ็ น
มบวกใด ๆ เปนต้

1.2 ระบบเชงิ คณิตศาสตร์


ในวิชาคณิตศาสตร์ มีระบบเชิงคณิตศาสตร์มากมายหลายระบบ เช่น ระบบจำนวน เต็ม (whole number

system) ระบบจำนวนจริง (real number system) หรือระบบทีเ่ ปนนามธรรมมากขึ ้ น เช่น กรุป (group) ริง
ิ (field) มอดูล (module) รวมทั้ งปริภมู ิ (space) ต่าง ๆ เช่น ปริภมู เิ วกเตอร์ (vector space) ปริภมู ิ
(ring) ฟลด์
็ น
ทอพอโลยี (topological space) เปนต้
องค์ประกอบของระบบเชิงคณิตศาสตร์แต่ละระบบ มีดังต่อไปนี้
1. ็
เซต (set) ของสงิ่ ทีเ่ ราสนใจศกึ ษา ซึง่ อาจจะเปนจำนวน รูปทรง พหุนาม ฟงั ก์ชัน หรืออืน่ ๆ
2. ็
คำศั พท์ (terminology) ทีใ่ ช้อธิบายแนวคิด (concept) ต่าง ๆ ในระบบนั้ น ซึง่ แบ่งเปนสองประเภท
ได้แก่
• คำอนิยาม (undefined term) คือคำซึง่ สามารถเข้าใจความหมายได้ โดยไม่ต้องอธิบาย เช่น คำ
ว่า “เซต” และคำว่า “เหมือนกั น”
• คำนิยาม (defined term) คือคำทีส่ ามารถให้ ความหมายได้ โดยใช้ คำอนิยาม หรือคำนิยามทีม่ ี
มาก่อน
3. สั จพจน์ (axiom) คือข้อความทีก่ ำหนดให้เปนจริ ็ งในระบบเชิงคณิตศาสตร์นั้นโดยไม่ต้องพิสจู น์ เช่น
“ถ้า n จำนวนเต็มบวก แล้ว n + 1 เปนจำนวนเต็็ มบวก” หรือในเรขาคณิตแบบยุคลิด สั จพจน์ข้อ
แรกกล่าวว่า “สามารถลากส่วนของเส้นตรงจากจุดหนึง่ ไปยั งอีกจุดหนึง่ ได้เสมอ”
สั จพจน์ในระบบเชิงคณิตศาสตร์แต่ละระบบอาจแตกต่างกั นออกไป อย่างไรก็ตาม มีสัจพจน์กลุม่
หนึง่ ซึง่ ถือว่าอยูใ่ นระบบเชิงคณิตศาสตร์ทกุ ระบบโดยอั ตโนมั ต ิ ได้แก่ สั จพจน์การเท่ากั น ดั งนี้
สั จพจน์การเท่ากั น

ให้ U เปนเซตใด ๆ และ x, y, z ∈ U จะได้วา่
(i) x = x (กฎสะท้อน: reflexive law)
(ii) ถ้า x = y แล้ว y = x (กฎสมมาตร: symmetric law)
(iii) ถ้า x = y และ y = z แล้ว x = z (กฎถ่ายทอด: transitive law)

(iv) ็ อความทีม่ ี x และ x = y แล้วข้อความทีเ่ กิดจากการ แทน x บางตั ว (หรือทุกตั ว)


ถ้า P เปนข้
ใน P ด้วย y ยั งคงสมมูลกั บ P (กฎการแทนที:่ substitution law)
4 บทนำ

4. ็ ง โดย การพิสจู น์ (proof) คือกระบวน


ทฤษฎีบท (theorem) คือข้อความทีถ่ กู พิสจู น์แล้วว่าเปนจริ
็ ง โดยใช้หลั กตรรกศาสตร์ ซึง่ ในการพิสจู น์
การอ้างเหตุผลเพือ่ สรุปว่าข้อความใดข้อความหนึง่ เปนจริ
ทฤษฎีบทนั้ น มั กต้องนำคำอนิยาม คำนิยาม รวมทั้ งสั จพจน์ และทฤษฎีบททีม่ อี ยูก่ อ่ นมาใช้ ด้วย ดั ง
แผนภาพ
คำอนิยาม คำนิยาม การพิสจู น์ตามหลั กตรรกศาสตร์ ทฤษฎีบทใหม่
สั จพจน์ ทฤษฎีบทเก่า −−−−−−−−−−−−−−−−−−−−→

็ ง อาจไม่ถกู เรียกว่าทฤษฎีบทเสมอไป ขึ้นอยูก่ ั บระดั บความสำคั ญ


ข้อความทีพ่ สิ จู น์แล้วว่าเปนจริ
และลั กษณะของข้อความนั้ น ๆ โดยมีคำอืน่ ๆ สำหรั บเรียกทฤษฎีบทบางประเภท ดั งนี้
• Proposition มั กใช้เรียกทฤษฎีบททีไ่ ม่ซับซ้อน หรืออาจไม่มคี วามสำคั ญมากนั ก
• ็
บทตั้ง (lemma) ใช้เรียกทฤษฎีบทซึง่ จะถูกนำไปใช้พสิ จู น์ทฤษฎีบททีจ่ ะตามมา ซึง่ เปนทฤษฎี
บท
หลั กหรือทฤษฎีบททีส่ ำคั ญมากกว่า
• ็
บทแทรก (corollary) ใช้เรียกทฤษฎีบทซึง่ เปนผลอย่ างง่ายจากทฤษฎีบททีม่ มี าก่อน
็ งเกีย่ วกั บสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ดั งนั้ น สมบั ต ิ
ในบางกรณี จะใช้ คำว่า สมบั ต ิ (property) สำหรั บข้อความทีเ่ ปนจริ

อาจเปนความจริ งเกีย่ วกั บคำอนิยาม คำนิยาม สั จพจน์ หรือทฤษฎีบทก็ได้ นอกจากนี้ อาจใช้ คำว่า กฎ (law)
็ จพจน์หรือทฤษฎีบทได้อกี ด้วย
สำหรั บเรียกความจริงทีเ่ ปนสั
ข้อความคาดการณ์
เมือ่ นั กคณิตศาสตร์ศกึ ษาเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ อาจมีตัวอย่างหรือข้อสั งเกตทีท่ ำให้ คาดคะเนหรือน่าเชือ่ ได้
ว่า ข้อสรุปบางประการน่าจะเปนจริ ็ ง แต่ยังไม่สามารถพิสจู น์ความจริงของข้อความนั้ นได้ เรียกข้อคาดคะเนเช่น
นี้วา่ ข้อความคาดการณ์ (conjecture)
ตั วอย่างข้อความคาดการณ์ทมี่ ชี อื่ เสยี ง ซึง่ ยั งไม่มใี ครแก้ได้จนถึงปจั จุบัน (ป ี ค.ศ. 2015) ได้แก่
• ข้อความคาดการณ์ของโกลด์บัค (Goldbach’s Conjecture) ซึง่ กล่าวว่า จำนวนเต็ม คูท่ กุ จำนวนที่
มากกว่า 2 สามารถเขียนในรูปผลบวกของจำนวนเฉพาะสองจำนวนได้เสมอ
• ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคูแ่ ฝด (Twin Prime Conjecture) ซึง่ กล่าวว่า มีจำนวนเฉพาะ p

อยูม่ ากมายไม่จำกั ด ซึง่ p + 2 เปนจำนวนเฉพาะเช่
นกั น
• สมมติฐานรีมันน์ (Riemann Hypothesis) เปนป ็ ญั หาทีถ่ อื ว่ายากทีส่ ดุ ข้อหนึง่ ในปจั จุบัน ซึง่ กล่าวว่า
“รากทีไ่ ม่ชัดแจ้ง” (nontrivial roots) ของ Riemann zeta function มีสว่ นจริงเท่ากั บ 12 เท่านั้ น
โดย Riemann zeta function คือ
1 1
ζ(z) = 1 + z
+ z + ···
2 3
็ ญั หารางวั ล แห่ง สหั สวรรษ (Millennium Prize Problem) ข้อ หนึง่ จากทั้ ง
สมมติฐานรีมัน น์ เปนป
หมด 7 ข้อ ซึง่ สถาบั น คณิต ศาสตร์เคลย์ (Clay Mathematics Institute) ประกาศว่า จะมอบเงิน
จำนวนหนึง่ ล้านดอลลาร์สหรั ฐสำหรั บผู้ทสี่ ามารถแก้ปญั หาข้อใดข้อหนึง่ ใน 7 ข้อนี้ได้
1.2 ระบบเชิงคณิตศาสตร์ 5

ข้อความคาดการณ์อาจจะเปนจริ ็ งหรือไม่กไ็ ด้ หากพิสจู น์ได้ วา่ จริง ข้อความนั้ นจะกลายเปนทฤษฎี


็ บท
เช่น ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร (Poincaré Conjecture) เกีย่ วกั บ 3-manifold ซึง่ เปนหนึ ็ ง่ ในปญั หารางวั ล
แห่งสหั สวรรษ ถูกพิสจู น์ได้ ในป ี ค.ศ. 2003 โดยกริกอรี เพเรลมาน (Grigori Perelman) นั กคณิตศาสตร์ชาว
รั สเซีย หรือทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา (Fermat’s Last Theorem) ทีก่ ล่าวว่า สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 3

สมการ xn + yn = z n ไม่มผี ลเฉลยเปนจำนวนเต็ ม โดยที่ xyz %= 0 ซึง่ ถูกพิสจู น์โดย แอนดรูว์ ไวลส์ (Andrew
Wiles) นั กคณิตศาสตร์ชาวอั งกฤษ ในป ี ค.ศ. 1994

แต่หากข้อความคาดการณ์ใดถูกพิสจู น์แย้ง (disprove) ว่าไม่จริง ข้อความนั้ นก็จะตกไป เช่น ปแยร์ ิ เดอ


แฟร์มา (Pierre de Fermat) นั กคณิตศาสตร์ชาวฝรั ง่ เศส เคยตั้ งข้อความคาดการณ์วา่ ถ้า n เปน็ จำนวนเต็ม
n

บวกใด ๆ แล้ว 22 + 1 จะเปนจำนวนเฉพาะเสมอ แต่ตอ่ มา เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler) นั ก
คณิตศาสตร์ชาวสวิส สามารถยกตั วอย่างค้าน (counter example) ได้วา่ เมือ่ n = 5 จะได้
5
22 + 1 = 4294967297 = 641 × 6700417


ซึง่ ไม่เปนจำนวนเฉพาะ

ความเคลือ่ นไหวในวงการคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์มพี ั ฒนาการเรือ่ ยมาจากอดีตจนถึงปจั จุบัน และการศกึ ษาค้นคว้าทางคณิตศาสตร์ยังคง
ดำเนิน ต่อ ไปอย่างไม่ม ที สี่ ้ นิ สุด การค้น พบความรู้ใหม่ ๆ ยั ง คงเกิด ขึ้น อย่างต่อ เนือ่ ง โดยมีบทความทีต่ พี มิ พ์ใน
วารสารวิชาการทางคณิตศาสตร์ปละหลายหมื ี น่ บทความ นอกจากนี้ ยั งมีปญั หาทางคณิตศาสตร์ทรี่ อการหาคำ
ตอบอยูอ่ กี นั บไม่ถ้วน จึงกล่าวได้ วา่ คณิตศาสตร์ยังคงเปนวิ ็ ชาทีก่ ้าวไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดนิง่ และยั งมีความ
น่าตืน่ เต้นและมีชวี ติ ชีวาอยูต่ ลอดเวลา

ในบทนี้ เราได้ เห็นโครงสร้างและธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์โดยสั งเขปแล้ว จะเห็นว่ากระบวนการ


สำคั ญของการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางคณิตศาสตร์คอื การพิสจู น์ โดยใช้หลั กตรรกศาสตร์ ดั งนั้ นในบทที่ 2 เรา
จะกล่าวถึงความรู้เบื้องต้นทางตรรกศาสตร์กอ่ น
6 บทนำ
บทที่ 2
ตรรกศาสตร์
็ วใจสำคั ญ
ตรรกศาสตร์ (Logic) ซึง่ มีความหมายอย่างกว้าง ๆ ว่าคือวิชาทีว่ า่ ด้วยหลั กเหตุผล ถือเปนหั
ของคณิตศาสตร์ เนือ่ งจากเราต้องอาศั ย หลั ก ดั ง กล่าวในการวิเคราะห์องค์ประกอบและหาค่า ความจริง ของข้อ
ความ ตลอดจนใช้ในการพิสจู น์เพือ่ ให้ได้ข้อสรุปใหม่ ๆ จากข้อมูลทีม่ อี ยูเ่ ดิม
ในบทนี้ จะกล่าวถึง ความรู้เบื้องต้นทางตรรกศาสตร์ ซึง่ ได้แก่ แนวคิด เกีย่ วกั บ ประพจน์ ตั ว เชือ่ มทาง
ตรรกศาสตร์ รูปแบบของประพจน์ทสี่ มมูลกั น ประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณ การอ้างเหตุผล และการพิสจู น์

2.1 ประพจน์
็ งหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่าง
ประพจน์ (statement หรือ proposition) คือประโยคหรือข้อความทีเ่ ปนจริ
หนึง่ ในบริบทหรือระบบองค์ความรู้ระบบใดระบบหนึง่ เช่น
ณ ปจั จุบัน มีดาวฤกษ์ในกาแล็กซีทางช้างเผือกทั้ งส้ นิ 7, 234, 168, 965 ดวง
1+1=2

3≥4

เส้นตรง y = 2x + 1 ขนานกั บเส้นตรง 4x − 2y = 3


√ √2

2 เปนจำนวนอตรรกยะ

25652566 + 2022 ็
เปนจำนวนเฉพาะ
จะเห็น ว่า ถึง แม้ เราอาจไม่สามารถบอกได้ วา่ ข้อความบางข้อความเปนจริ ็ ง หรือ ไม่ ภายใต้ ข้อ จำกั ด ของ
็ งหรือเท็จเพียงกรณีใดกรณีหนึง่ อย่างแน่นอน ก็ยอ่ มถือได้
ความรู้ทเี่ รามีอยู่ แต่หากข้อความดั งกล่าวต้องเปนจริ

ว่าข้อความนั้ นเปนประพจน์
เรามั กใช้สัญลั กษณ์ P, Q, R, . . . หรือ p, q, r, . . . หรือ p1, p2, p3, . . . แทนประพจน์ เช่น
P :1+1=2

q: ระนาบ x − y + z = 1 ตั้ งฉากกั บระนาบ x + y = 2


r1 : ็
สมการ x5 + x4 − 3x2 + x − 7 = 0 ไม่มคี ำตอบเปนจำนวนจริ

7
8 ตรรกศาสตร์

ค่ าความจริง (truth value) ของประพจน์มไี ด้ คา่ ใดค่าหนึง่ จากสองค่า คือ จริง (true) ซึง่ ในทีน่ ้ เี ขียน
แทนด้วยสั ญลั กษณ์ T หรือ เท็ จ (false) ซึง่ เขียนแทนด้วยสั ญลั กษณ์ F เช่น จากตั วอย่างข้างต้น ประพจน์ P มี
ค่าความจริงเปน็ T ประพจน์ q มีคา่ ความจริงเปน็ T และประพจน์ r1 มีคา่ ความจริงเปน็ F

ข้อความทีเ่ ปนการเปล่ ง อุทานแสดงอารมณ์ หรือ ความรู้สกึ ส่วนตั ว ประโยคคำถาม และประโยคคำสั ง่

หรือขอร้อง ไม่ถอื ว่าเปนประพจน์ เช่น
โปรดเอื้อเฟอ้ ื แก่เด็ก สตรี และคนชรา
การพิสจู น์ของ Fermat’s Last Theorem ช่างน่าอั ศจรรย์และสวยงามยิง่ นั ก
มีจำนวนเฉพาะกีจ่ ำนวนทีอ่ ยูร่ ะหว่าง 1 และ 100

ประโยคเปดิ
ประโยคเปดิ (open sentence) ได้แก่ประโยคบอกเล่าทางคณิตศาสตร์ทมี่ ตี ั วแปรปรากฏอยู่ ประโยคเปดิ

ไม่ถอื ว่าเปนประพจน์ เนือ่ งจากเรายั งไม่ทราบว่าตั วแปรในประโยคนั้ นแทนสงิ่ ใดหรือค่าใด เช่น
x2 = 1

n2 + n ็
เปนจำนวนคู ่
x+y >0

เรามั กใช้สัญลั กษณ์ P (x) หรือ Q(x) หรือ r(x) หรืออืน่ ๆ แทนประโยคเปดที ิ ม่ ี x เปนตั
็ วแปร ในกรณี
ทีป่ ระโยคเปดมีิ x และ y เปนตั ็ วแปร อาจใช้ สัญลั กษณ์ P (x, y) หรืออืน่ ๆ แทนประโยคดั งกล่าว โดยมั กระบุ
ขอบเขตหรือเอกภพสั มพั ทธ์สำหรั บตั วแปรไว้ ด้วย ซึง่ เมือ่ แทนค่าตั วแปรจากเอกภพสั มพั ทธ์ลงในประโยคเปดิ
จะได้ประพจน์ทเี่ ปนจริ็ งหรือเท็จอย่างใดอย่างหนึง่ (ในระบบเชิงคณิตศาสตร์ทพี่ จิ ารณา)
ตั วอย่างที่ 1 กำหนดให้เอกภพสั มพั ทธ์คอื U = {−3, −2, −1, 0, 1, 2, 3}
(i) กำหนด P (x) : x2 < 2
็ ง
จงหาค่าของ x ∈ U ทั้ งหมด ทีท่ ำให้ P (x) เปนจริ

(ii) ็
กำหนด Q(n) : n2 + 3n เปนจำนวนคู ่
็ ง
จงหาค่าของ n ∈ U ทั้ งหมด ทีท่ ำให้ Q(n) เปนจริ

(iii) กำหนด R(y) : 3 หาร y2 + 1 ลงตั ว


็ ง
จงหาค่าของ y ∈ U ทั้ งหมด ทีท่ ำให้ R(y) เปนจริ
2.1 ประพจน์ 9

หมายเหตุ สมการ (equation) คือ ประโยคทางคณิตศาสตร์ ท ีม่ ีเครือ่ งหมายเท่ากั บ (=) ็ ยาหลั ก ของ
เปนกริ
ประโยค เช่น
3
22 = 256
(1 + 2)2 = 12 + 22
x2 + x = 0


จะเห็นว่าสมการแรกเปนประพจน์ ็ ง สมการทีส่ องเปนประพจน์
ทเี่ ปนจริ ็ ็ จ ส่วนสมการทีส่ ามเปนประโยค
ทเี่ ปนเท็ ็
เปดิ การหาค่าของตั วแปรทั้ งหมดในเอกภพสั มพั ทธ์ทที่ ำให้ สมการทีเ่ ปนประโยคเป
็ ิ นจริ
ดเป ็ ง เรียกว่า “การแก้
สมการ” หรือการหาผลเฉลยของสมการ
ในทำนองเดียวกั น อสมการ (inequality) คือประโยคทางคณิตศาสตร์ทมี่ เี ครือ่ งหมาย >, <, ≥ หรือ ≤
็ ยาหลั กของประโยค การแก้อสมการ คือการหาค่าของตั วแปรทั้ งหมดในเอกภพสั มพั ทธ์ทที่ ำให้อสมการที่
เปนกริ

เปนประโยคเป ิ นจริ
ดเป ็ ง

ตั วอย่างที่ 2 จงหาผลเฉลยทีเ่ ปนจำนวนจริ งทั้ งหมดของสมการ x3 − x2 − 2x + 2 = 0
วิธที ำ ให้ x ∈ R โดยที่ x3 − x2 − 2x + 2 = 0 จะได้วา่
x2 (x − 1) − 2(x − 1) = 0
(x − 1)(x2 − 2) = 0
√ √
(x − 1)(x − 2)(x + 2) = 0

ดั งนั้ น ผลเฉลยของสมการคือ x = 1 หรือ x = ± 2
การแก้สมการข้างต้นจะถือว่าไม่สมบูรณ์ หากทำดั งนี้:
แทนค่า x = 1 ลงใน x3 − x2 − 2x + 2 จะได้
13 − 12 − 2 · 1 + 2 = 0

ดั งนั้ น ผลเฉลยของสมการคือ x = 1

ตั วแปรแทนประพจน์ และตารางค่าความจริง
ในหลายกรณี เราจะกำหนดสั ญลั กษณ์แทนประพจน์ใด ๆ โดยไม่ระบุวา่ สั ญลั กษณ์นั้น คือ ประพจน์ใด
อย่างเฉพาะเจาะจง เช่น

ให้ p เปนประพจน์ ใด ๆ
เราจึง ยั ง ไม่สามารถระบุคา่ ความจริง ของ p ได้ ในที่น้ ีจะเรียก p ว่า ตั วแปรแทนประพจน์ (propositional

variable) ซึง่ ตั วแปรแทนประพจน์จะเปนประพจน์ อย่างสมบูรณ์กต็ อ่ เมือ่ มี การระบุวา่ p คือข้อความใด
หมายเหตุ ในตำราทีก่ ล่าวเกีย่ วกั บตรรกศาสตร์อย่างง่ายบางเล่ม อาจไม่มกี ารแยกความแตก ต่างระหว่างประ-
พจน์ และตั วแปรแทนประพจน์

ถ้า p เปนประพจน์ ใด ๆ แล้ว ค่าความจริงของ p มีได้ 2 กรณี คือ T หรือ F เราสามารถเขียนแสดงความ

เปนไปได้ ทั้งหมดของค่าความจริงของ p ได้ดังตาราง
10 ตรรกศาสตร์
p
T
F

เรียกตารางข้างต้นว่า ตารางค่ าความจริง (truth table) ของ p


ในหั วข้อ 3.2 เราจะกล่าวถึงร ูปแบบของประพจน์ ซึง่ คือตั วแปรแทนประพจน์ หรือผล ทีเ่ กิดจากการนำ
ตั วแปรแทนประพจน์มาเชือ่ มด้วยตั วเช่ ื อมทางตรรกศาสตร์ ซึง่ ในกรณีทัว่ ไป ถ้า P คือรูปแบบของประพจน์ท ี่
ประกอบด้วยตั วแปรแทนประพจน์ p1, p2, p3, . . . , pn แล้ว ตารางค่าความจริงของ P คือตารางทีแ่ สดงค่าความ
จริงของ P สำหรั บทุกกรณีทคี่ า่ ความจริง ของ p1, p2, p3, . . . , pn จะเกิดขึ้นได้ และเนือ่ งจากค่าความจริงของ
p1 , p2 , p3 , . . . , pn จะเปน็ ไปได้ 2n กรณี ตารางค่าความจริงของ P จะประกอบด้วย 2n แถว (ไม่รวมแถวบน
สุด) ดั งนี้

p1 p2 p3 ··· pn−1 pn P
T T T ··· T T X
T T T ··· T F X
... ... ... ... ... ... ...
F F F ··· F F X

โดย X ในแต่ละแถวคือค่าความจริงของ P ซึง่ อาจเปน็ T หรือ F ขึ้นอยูก่ ั บลั กษณะของ P

2.2 ตั วเชอื่ มทางตรรกศาสตร์


ประพจน์ สว่ นใหญ่ท ี่เรากล่าวถึง ในหั วข้อ 2.1 เปนประพจน์็ ท ี่เรียกว่าประพจน์ ม ูลฐาน (elementary

statement) ซึง่ ได้แก่ประพจน์ ท เี่ ปนประโยคเชิ ็
งเดีย่ ว กล่าวคือ เปนประโยคอย่ างง่ายทีป่ ระกอบด้วยประธาน
และกิรยิ า และ/หรือ กรรมของประโยคเท่านั้ น อย่างไรก็ตาม เราสามารถใช้ ตัว เชือ่ มทางตรรกศาสตร์ (logical
connectives) เพือ่ สร้างประพจน์ทม ี่ คี วามซั บซ้อนมากขึ้น ดั งนี้
1. นิเสธ

ถ้า p เปนประพจน์ แล้ว นิเสธ(negation) ของ p เขียนแทนด้วย ∼ p คือข้อความทีป่ ฏิเสธข้อความ p
เช่น
p : 11 ็
เปนจำนวนเฉพาะ
∼ p : 11 ็
ไม่เปนจำนวนเฉพาะ
q:2<3

∼ q : 2 %< 3 (นั น
่ คือ2 ≥ 3)
ค่าความจริงของ ∼ p จะตรงข้ามกั บค่าความจริงของ p ดั งตารางต่อไปนี้
2.2 ตั วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ 11
p ∼p
T F
F T

2. ประพจน์รวม

ถ้า p และ q เปนประพจน์ แล้ว ประพจน์ รวม (conjunction) ของ p และ q คือข้อ ความ “p และ q”
ซึง่ เขียนแทนด้วย p ∧ q เช่น ถ้ากำหนดให้

p : 2022 เปนจำนวนคู ,่ ็
q : 2565 เปนจำนวนคี ่

แล้ว p ∧ q คือข้อความ “2022 เปนจำนวนคู ็ ”่
่ และ 2565 เปนจำนวนคี
็ งก็ตอ่ เมือ่ p เปนจริ
ข้อความ p ∧ q จะเปนจริ ็ ง และ q เปนจริ
็ ง ดั งตารางต่อไปนี้
p q p∧q
T T T
T F F
F T F
F F F

หมายเหตุ ในบางกรณี เราอาจใช้ คำว่า “แต่” แทนคำว่า “และ” เพือ่ เน้นให้ เห็นนั ยที่ ตรงข้ามกั นของ

ข้อความสองข้อความ เช่น 2022 เปนจำนวนคู ็
่ แต่ 2565 เปนจำนวนคี ่

3. ประพจน์เลือก

ถ้า p และ q เปนประพจน์ แล้ว ประพจน์ เลื อก (disjunction) ของ p และ q คือข้อความ “p หรือ q”
ซึง่ เขียนแทน ด้วย p ∨ q เช่น ถ้ากำหนดให้
p : eπ > π e , q : eπ < π e

แล้ว p ∨ q คือข้อความ eπ > πe หรือ eπ < πe


็ งก็ตอ่ เมือ่ p เปนจริ
ข้อความ p ∨ q จะเปนจริ ็ ง หรือ q เปนจริ
็ งอย่างน้อยหนึง่ ข้อความ ดั งตารางต่อไปนี้
p q p∨q
T T T
T F T
F T T
F F F

หมายเหตุ ความหมายของ “หรือ” ทีก่ ล่าวข้างต้น อาจไม่ตรงกั บความหมายทีใ่ ช้ ในภาษาพูด กล่าวคือ


ประโยค “p หรือ q” ในภาษาพูดอาจหมายถึง p หรือ q เพียงอย่างใดอย่างหนึง่ เท่านั้ น เช่น “วั นนี้ผ้ใู หญ่
ลีเดินทางไปกรุงเทพโดยเครือ่ งบินหรือโดยรถไฟ” ซึง่ ความหมายดั งกล่าวมีความใกล้ เคียงกั บ exclusive
or (หรือ xor) ซึง่ เขียนแทนด้วยสั ญลั กษณ์ ⊕ โดยมีตารางค่าความจริงดั งนี้
12 ตรรกศาสตร์
p q p⊕q
T T F
T F T
F T T
F F F

4. ประพจน์มเี งือ่ นไข



ถ้า p และ q เปนประพจน์ แล้ว ประพจน์ มีเงื่ อนไข (conditional statement หรือ implication) ของ p
และ q คือข้อความ “ถ้า p แล้ว q” ซึง่ เขียนแทน ด้วย p → q เช่น ถ้ากำหนดให้
p : ชมพูส่ อบได้ทห ี่ นึง่
q : คุณแม่ซ้ อื iPhone ให้ชมพู่

แล้ว p → q คือข้อความ “ถ้าแชมพูส่ อบได้ทหี่ นึง่ แล้วคุณแม่จะซื้อ iPhone ให้” จะเห็นว่า หากข้อความ
ดั งกล่าวคือคำสั ญญาของคุณแม่ แล้วคุณแม่จะผิดสั ญญาก็ตอ่ เมือ่ ชมพูส่ อบได้ทหี่ นึง่ แต่ไม่ได้ซ้ อื iPhone
ให้
็ จเพียงกรณีเดียว คือเมือ่ p เปนจริ
ในกรณีทัว่ ไป ข้อความ p → q จะเปนเท็ ็ ง แต่ q เปนเท็ ็ จ ดั งตาราง
p q p→q
T T T
T F F
F T T
F F T

ข้อควรระวั ง ผู้อา่ นควรใช้คำว่า “ถ้า...แล้ว...” ในทางคณิตศาสตร์ให้ถกู ต้อง ไม่พงึ สั บสนกั บการใช้คำว่า


“แล้ว” ในภาษาพูด ซึง่ ในบางกรณีจะมีความหมายคล้ายคำว่า “และ” หรือการระบุเหตุการณ์กอ่ นหลั ง
เช่น “หลินปงกิิ นแล้วนอน”
บทนิยาม เรียก q → p ว่า บทกลั บ (converse) ของ p → q
จะเห็นว่า q → p มีความหมายไม่เหมือนกั บ p → q เช่น จากตั วอย่างข้างต้น บทกลั บ ของ p → q คือ
ข้อความ “ถ้าคุณแม่ซ้ อื iPhone ให้ แล้วชมพูส่ อบได้ทหี่ นึง่ ”
ตั วอย่างที่ 3 กำหนดให้เอกภพสั มพั ทธ์คอื เซตของจำนวนจริง และกำหนดประโยคเปดิ
P (x) : x2 > 1 และ Q(x) : x > 1

จงยกตั วอย่างของค่า x ซึง่ ทำให้


็ ง
(i) P (x) → Q(x) เปนจริ

(ii) P (x) → Q(x) เปนเท็็ จ


(iii) Q(x) → P (x) ็ ง
เปนจริ
(iv) ็ จ
Q(x) → P (x) เปนเท็
2.2 ตั วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ 13
เงือ่ นไขทีจ่ ำเปน็ และเงือ่ นไขทีเ่ พียงพอ
• ถ้า P → Q เปนจริ ็ ง แล้วเราจะกล่าวว่า Q เปน็ เงื่ อนไขที่ จำเปน็ (necessary condition) ของ P
เช่น เนือ่ งจาก
ถ้า f เปนฟ ็ งั ก์ชันเพิม่ แล้ว f เปนฟ ็ งั ก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่
็ งเสมอ ดั งนั้ น “f เปนฟ
เปนจริ ็ งั ก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่ ” เปนเงื
็ อ่ นไขทีจ่ ำเปนของ“
็ f เปนฟ็ งั ก์ชันเพิม่ ”
• ถ้า P → Q เปนจริ ็ ง แล้วเราจะกล่าวว่า P เปน็ เงื่ อนไขที่ เพียงพอ (sufficient condition) ของ Q
เช่น จากตั วอย่างข้างต้น จะได้ วา่ “f เปนฟ ็ งั ก์ชัน เพิม่ ” เปนเงื
็ อ่ นไขทีเ่ พียงพอของ “f เปนฟ ็ งั ก์ชัน
หนึง่ ต่อหนึง่ ”
• ถ้า P → Q เปนจริ ็ ง และ Q → P เปนจริ ็ ง แล้วเราจะกล่าวว่า Q เปน็ เงื่ อนไขที่ จำเปน็ และเพียงพอ
(necessary and sufficient condition) ของ P เช่น ให้ f : {1, 2, 3} → {1, 2, 3} เนือ่ งจากข้อความ
“ถ้า f เปนฟ ็ งั ก์ชันทั ว่ ถึง แล้ว f เปนฟ ็ งั ก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่ ” และข้อความ “ถ้า f เปนฟ ็ งั ก์ชันหนึง่ ต่อ
หนึง่ แล้ว f เปนฟ ็ งั ก์ชันทั ว่ ถึง” ล้วนเปนจริ
็ ง จึงกล่าวได้วา่ “f เปนฟ ็ งั ก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่ ” เปนเงื
็ อ่ นไข

ทีจ่ ำเปนและเพี ยงพอของ “ถ้า f เปนฟ ็ งั ก์ชันทั ว่ ถึง”
5. ประพจน์เงือ่ นไขสองทาง

ถ้า p และ q เปนประพจน์ แล้ว ประพจน์ เงื่ อนไขสองทาง (biconditional statement หรือ biimplication)
ของ p และ q คือข้อความ ”p ก็ตอ่ เมือ่ q” ซึง่ เขียนแทน ด้วย p ↔ q เช่น ถ้ากำหนดให้
p : แมวบินได้
q : ดวงอาทิตย์ข้ น ึ ทางทิศตะวั นตก
แล้ว p → q คือข้อความ ”แมวบินได้ ก็ตอ่ เมือ่ ดวงอาทิตย์ข้ นึ ทางทิศตะวั นตก”
็ งเมือ่ p และ q มีคา่ ความจริงตรงกั น ดั งตาราง
ข้อความ p ↔ q จะเปนจริ
p q p↔q
T T T
T F F
F T F
F F T

ข้อควรทราบเกีย่ วกั บบทนิยาม


็ ความรู้ท ีส่ ำคั ญ อย่างหนึง่ ในวิชาคณิตศาสตร์ เนือ่ งจากเปนจุ
บทนิยามเปนองค์ ็ ด เริม่ ต้น ทีเ่ ราให้ ความ
หมายของคำศั พท์หรือแนวคิดใหม่ ๆ นอกจากนี้ ในการพิสจู น์ เรามั กต้องอ้างถึงบทนิยามอยูเ่ สมอ ตามหลั กของ
การเขียนบทนิยาม เราจะใช้คำว่า “ก็ตอ่ เมือ่ ” เพือ่ ระบุเงือ่ นไขของคำศั พท์ทเี่ ราต้องการให้ความหมาย เช่น
บทนิยาม ให้ a, b ∈ Z โดยที่ a %= 0 เรากล่าวว่า a หาร b ลงตั ว (a divides b) ก็ตอ่ เมือ่ มีจำนวนเต็ม c ซึง่
b = ac และใช้สัญลั กษณ์ a | b แทน a หาร b ลงตั ว และใช้สัญลั กษณ์ a ! b แทน a หาร b ไม่ลงตั ว

อย่างไรก็ตาม นั กคณิตศาสตร์มักเขียนบทนิยามโดยใช้ คำว่า “ถ้า” เพือ่ ระบุเงือ่ นไขของคำศั พท์แทนคำ


็ เ่ ข้าใจกั นว่า คำว่า “ถ้า” ทีใ่ ช้ระบเุ งือ่ นไขของคำศั พท์ในบทนิยาม มีความหมายเปน็
ว่า “ก็ตอ่ เมือ่ ” โดยเปนที
“ก็ตอ่ เมือ่ ” เสมอ เช่น บทนิยามข้างต้นอาจเขียนเปน็
14 ตรรกศาสตร์

“ให้ a, b ∈ Z โดยที่ a %= 0 เรากล่าวว่า a หาร b ลงตั ว ถ้ามีจำนวนเต็ม c ซึง่ b = ac”

รปู แบบของประพจน์
ถ้า p, q, ... คือตั วแปรทีแ่ ทนประพจน์ใด ๆ แล้วเราจะเรียก p, q, r, ... รวมทั้ งนิพจน์ทเี่ กิดจากการเชือ่ ม
ตั วแปรเหล่านี้ด้วยตั วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์วา่ ร ูปแบบของประพจน์ ดั งนั้ น ∼ p, p ∧ q, p ∨ q, p → q, p ↔ q
็ ปแบบของประพจน์
ล้วนเปนรู
ตั วอย่างที่ 4 p ↔ (∼ q → r) เปนรู ็ ปแบบของประพจน์ทมี่ ตี ารางค่าความจริงดั งแสดง
p q r ∼q ∼q→r p ↔ (∼ q → r)
T T T
T T F
T F T
T F F
F T T
F T F
F F T
F F F

็ ็
เมือ่ แทนแต่ละตั วแปรด้วยข้อความทีเ่ ปนประพจน์
หมายเหตุ รูปแบบของประพจน์จะกลายเปนประพจน์

สั จนิรันดร์ และข้อความขั ดแย้ง


็ งในทุกกรณีหรือมีคา่ ความจริงเปนเท็
รูปแบบของประพจน์บางรูปแบบ อาจมีคา่ ความจริงเปนจริ ็ จในทุก
กรณี ดั งบทนิยามต่อไปนี้
บทนิยาม ให้ p เปนรู็ ปแบบของประพจน์ซงึ ่ ประกอบด้วยตั วแปร p1, p2, . . . , pn
• เรียก p ว่าสั จนิรันดร์ ็ งสำหรั บทุกค่าความจริงทีเ่ ปนไปได้
(tautology) ถ้า p มีคา่ ความจริงเปนจริ ็ ของ
p1 , p 2 , . . . , p n

• ็ จสำหรั บทุกค่าความจริงทีเ่ ปน็


เรียก p ว่าข้ อความขั ดแย้ ง (contradiction) ถ้า p มีคา่ ความจริงเปนเท็
ไปได้ของ p1, p2, . . . , pn
็ จนิรันดร์หรือข้อความขั ดแย้ง หรือไม่ใช่ทั้งสอง
ตั วอย่างที่ 5 จงพิจารณาว่ารูปแบบของประพจน์ตอ่ ไปนี้เปนสั
อย่าง
(i) p ∨ ∼ p
็ จนิรันดร์ เนือ่ งจากมีคา่ ความจริงเปนจริ
รูปแบบของประพจน์น้ เี ปนสั ็ งในทุกกรณี ดั งนี้

p p∨ ∼ p
T
F
2.2 ตั วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ 15
(ii) p ∧ ∼ p
็ อความขั ดแย้ง เนือ่ งจากมีคา่ ความจริงเปนเท็
รูปแบบของประพจน์น้ เี ปนข้ ็ จในทุกกรณี ดั งนี้

p p∧ ∼ p
T
F

(iii) (∼ p ∧ (p ∨ q)) → q
็ จนิรันดร์ เนือ่ งจากมีคา่ ความจริงเปนจริ
รูปแบบของประพจน์น้ เี ปนสั ็ งในทุกกรณี ดั งนี้

p q ∼p p∨q ∼ p ∧ (p ∨ q) (∼ p ∧ (p ∨ q)) → q
T T
T T
T F
T F
F T
F T
F F
F F

็ จนิรันดร์สามารถทำได้อกี วิธหี นึง่ ดั งนี้


การแสดงว่ารูปแบบของประพจน์ข้างต้นเปนสั

(iv) (p → (q → r)) ↔ ((p → q) → r)


16 ตรรกศาสตร์

2.3 รปู แบบของประพจน์ทสี่ มมลู กั น


บทนิยาม ให้ p และ q เปนรู ็ ปแบบของประพจน์ทปี่ ระกอบด้วยตั วแปร p1, p2, . . . , pn เรา กล่าวว่า p สมม ูล
(equivalent) กั บ q ซึง่ เขียนแทนด้วยสั ญลั กษณ์ p ≡ q ก็ตอ่ เมือ่ p และ q มีคา่ ความจริงเหมือนกั นสำหรั บทุก

ค่าความจริงทีเ่ ปนไปได้ ของ p1, p2, . . . , pn
ตั วอย่างที่ 6 จงแสดงว่า p → q ≡ ∼ p ∨ q
วิธที ำ พิจารณาตารางทีแ่ สดงค่าความจริงของ p → q และ ∼ p ∨ q ดั งนี้
p q p→q ∼p ∨q
T T
T F
F T
F F

จะเห็นว่าค่าความจริงของ p → q และ ∼ p ∨ q ตรงกั นในทุกกรณี ดั งนั้ น


p→q ≡ ∼p∨q

โดยการพิจารณาตารางค่าความจริง เราสามารถแสดงได้เช่นกั นว่า


p → q ≡ ∼ q →∼ p

เรียก ∼ q →∼ p ว่า ข้ อความแย้ งสลั บที่ (contrapositive) ของ p → q


กฎพื้นฐานเกีย่ วกั บการสมมูลกั นระหว่างรูปแบบของประพจน์ เปนดั็ งทฤษฎีบทต่อไปนี้
็ ปแบบของประพจน์ จะได้วา่
ทฤษฎีบท 1 ให้ p, q, r เปนรู
(1) p ≡ p (กฎการสะท้อน: reflexive law)

(2) ถ้า p ≡ q แล้ว q ≡ p (กฎการสมมาตร: symmetric law)

(3) ถ้า p ≡ q และ q ≡ r แล้ว p ≡ r (กฎการถ่ายทอด: transitive law)

(4) ∼ (∼ p) ≡ p (กฎนิเสธซ้อน: double negation law)

(5) p ≡ (p ∧ p) และ p ≡ p ∨ p (กฎการเติม: idempotent law)

(6) p ∧ q ≡ q ∧ p และ p ∨ q ≡ q ∨ p (กฎการสลั บที:่ commutative law)

(7) p ∧ (q ∧ r) ≡ (p ∧ q) ∧ r
p ∨ (q ∨ r) ≡ (p ∨ q) ∨ r (กฎการเปลีย่ นหมู:่ associative law)

(8) p ∧ (q ∨ r) ≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r)
p ∨ (q ∧ r) ≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r) (กฎการแจกแจง: distributive law)
2.3 รูปแบบของประพจน์ทสี่ มมูลกั น 17
(9) ∼ (p ∧ q) ≡ ∼ p∨ ∼ q
∼ (p ∨ q) ≡ ∼ p∧ ∼ q (กฎของเดอมอร์แกน: De Morgan’s law)

(10) p → q ≡ ∼ p ∨ q ≡ ∼ q →∼ p

(11) p ↔ q ≡ (p → q) ∧ (q → p) ≡∼ p ↔∼ q

นอกจากนี้ ยั ง มีข้อ สั งเกตเกีย่ วกั บ ความสั มพั นธ์ ระหว่างสั จ นิรัน ดร์ หรือ ข้อ ขั ด แย้ง และการสมมูล กั น
ระหว่างรูปแบบของประพจน์ ดั งนี้
็ ปแบบของประพจน์ จะได้วา่
ทฤษฎีบท 2 ให้ p และ q เปนรู
(1) ็ จนิรันดร์ แล้ว p ∧ q ≡ q
ถ้า p เปนสั
(2) ็ อขั ดแย้ง แล้ว p ∨ q ≡ q
ถ้า p เปนข้
(3) p ≡ q ็ จนิรันดร์
ก็ตอ่ เมือ่ p ↔ q เปนสั

ในการแสดงว่ารูปแบบของประพจน์สองรูปแบบสมมูลกั น นอกจากจะใช้ ตารางค่าความจริงแล้ว เรายั ง


สามารถใช้กฎแต่ละข้อในทฤษฎีบทข้างต้น ร่วมกั บ “กฎการแทนที”่ สำหรั บรูปแบบของประพจน์ ดั งนี้
ทฤษฎีบท 3 (กฎการแทนที:่ Substitution Law)
็ ปแบบของประพจน์ และให้ r เปนรู
ให้ p เปนรู ็ ปแบบของประพจน์ยอ่ ยทีอ่ ยูใ่ น p ถ้า r ≡ s และ q คือ
รูปแบบของประพจน์ทไี่ ด้จากการแทนที่ r ด้วย s ลงใน p แล้ว p ≡ q
ตั วอย่างที่ 7 จงแสดงว่า ∼ (p → q) ≡ p∧ ∼ q
วิธที ำ
18 ตรรกศาสตร์

2.4 ประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณ


จากหั วข้อ 2.1 เราทราบว่าประโยคเปดยั ิ งไม่เปนประพจน์
็ อย่างไรก็ตาม เราสามารถทำให้ ประโยคเปดิ

เปนประพจน์ได้โดยใช้ ตัวบ่งปริมาณ (quantifier) ดั งบทนิยามต่อไปนี้

บทนิยาม ให้ P (x) เปนประโยคเป ดิ โดยที่ x ∈ U
• ุ ว (universal quantifier) คือ ∀ และประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณสำหรั บทุก
ตั วบ่ งปริมาณสำหรั บทกตั
ตั ว คือ
∀x ∈ U , P (x)
็ ง ก็ตอ่ เมือ่ P (x) เปนจริ
ซึง่ คือ ข้อความ “สำหรั บ ทุก x ∈ U , P (x)” โดยประพจน์ดัง กล่าวเปนจริ ็ ง
สำหรั บทุก x ∈ U และเปนเท็ ็ จเมือ่ มี x ∈ U ซึง่ P (x) เปนเท็
็ จ
• ตั วบ่ งปริมาณสำหรั บตั วมีจริง (existential quantifier) คือ ∃ และประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณสำหรั บ
ตั วมีจริง คือ
∃x ∈ U , P (x)
็ งก็ตอ่ เมือ่ มี x ∈ U ซึง่ P (x) เปน็
ซึง่ คือข้อความ “มี x ∈ U ซึง่ P (x)” โดยประพจน์ดังกล่าวเปนจริ
็ จเมือ่ P (x) เปนเท็
จริง และเปนเท็ ็ จสำหรั บทุก x ∈ U
ประพจน์ในแต่ละข้อข้างต้น เรียกว่า ประพจน์ ท่ ี มีตัวบ่ งปริมาณ (quantified statement)
็ งหรือเปนเท็
ตั วอย่างที่ 8 ประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณดั งต่อไปนี้เปนจริ ็ จ
(a) ∀x ∈ R, x2 ≥ 0

(b) ∀x ∈ R, x2 = x

(c) ∃x ∈ R, x3 + x + 1 = 0

(d) ∃x ∈ R, x2 + 1 = 0

หมายเหตุ
(1) ในบางกรณี หากเปนที ็ ท่ ราบแล้ว ว่า เอกภพสั มพั ทธ์คอื เซตใด เราอาจเขียนประพจน์ท มี่ ตี ั ว บ่ง ปริมาณโดย
ละเอกภพสั มพั ทธ์ได้ เช่น หากเปนที็ ท่ ราบแล้ว ว่า เอกภพสั มพั ทธ์ คือ เซตของจำนวนจริง อาจขียน ∀x ∈
R, x2 ≥ 0 เปน็ ∀x, x2 ≥ 0 เปนต้ ็ น
(2) สั ญลั กษณ์ ∃! x ∈ U , P (x) หมายถึง “มี x ∈ U เพียงหนึง่ เดียว ซึง่ P (x)”
เช่น ∃! x ∈ R, x3 + 1 = 0
ทฤษฎีบท 4 การสมมูลต่อไปนี้เปนจริ ็ ง
(1) ∼ (∀x ∈ U , P (x)) ≡ ∃x ∈ U , ∼ P (x)

(2) ∼ (∃x ∈ U , P (x)) ≡ ∀x ∈ U , ∼ P (x)

นอกจากนี้ เราสามารถทำให้ ประโยคเปดทีิ ม่ ตี ั วแปรมากกว่า หนึง่ ตั ว เปนประพจน์


็ ได้ โดยใช้ ตัว บ่ง ปริมาณ
เท่ากั บจำนวนของตั วแปร เช่นในบทนิยามต่อไปนี้
2.4 ประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณ 19

บทนิยาม ให้ P (x, y) เปนประโยคเป ดิ โดยที่ x ∈ U และ y ∈ V
• ข้อความ ∀x ∈ U , ∀y ∈ V, P (x, y) คือ
“สำหรั บทุก x ∈ U และสำหรั บทุก y ∈ V, P (x, y)”
็ งเมือ่ P (x, y) เปนจริ
ซึง่ เปนจริ ็ งสำหรั บทุก x ∈ U และทุก y ∈ V
และเปนเท็็ จเมือ่ มี x ∈ U และมี y ∈ V ซึง่ P (x, y) เปนเท็
็ จ
• ข้อความ ∃x ∈ U , ∃y ∈ V, P (x, y) คือ

“มี x ∈ U และมี y ∈ V ซึง่ P (x, y)”


็ งเมือ่ มี x ∈ U และมี y ∈ V ทีท่ ำให้ P (x, y) เปนจริ
ซึง่ เปนจริ ็ ง
และเปนเท็ ็ จเมือ่ P (x, y) เปนเท็
็ จ สำหรั บทุก x ∈ U และสำหรั บทุก y ∈ V
• ข้อความ ∀x ∈ U , ∃y ∈ V, P (x, y) คือ
“สำหรั บทุก x ∈ U มี y ∈ V ซึง่ P (x, y)”
็ งเมือ่ สำหรั บทุก x ∈ U มี y ∈ V (ทีอ่ าจขึ้นอยูก่ ั บค่า x) ซึง่ P (x, y) เปนจริ
ซึง่ เปนจริ ็ ง
็ จเมือ่ มี x ∈ U ซึง่ ไม่ม ี y ∈ V ทีท่ ำให้ P (x, y) เปนจริ
และเปนเท็ ็ ง
• ข้อความ ∃x ∈ U , ∀y ∈ V, P (x, y) คือ
“มี x ∈ U ซึง่ สำหรั บทุก y ∈ V, P (x, y)”
็ งเมือ่ มี x ∈ U ซึง่ P (x, y) เปนจริ
ซึง่ เปนจริ ็ ง สำหรั บทุก y ∈ V
็ จเมือ่ สำหรั บทุก x ∈ U มี y ∈ V ทีท่ ำให้ P (x, y) เปนเท็
และเปนเท็ ็ จ
็ งหรือเปนเท็
ตั วอย่างที่ 9 ประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณดั งต่อไปนี้เปนจริ ็ จ
(a) ∀x ∈ R, ∀y ∈ R, x2 + y 2 ≥ 0

(b) ∀x ∈ R, ∀y ∈ R, |x + y| = |x| + |y|


!
(c) ∃x ∈ R, ∃y ∈ R, x2 + y 2 = x + y

(d) ∃x ∈ R, ∃y ∈ R, x2 + y 2 < 0

(e) ∀x ∈ R, ∃y ∈ R, y < x

(f) ∀x ∈ R, ∃y ∈ R, xy = 1

(g) ∃x ∈ R, ∀y ∈ R, xy = y

(h) ∃x ∈ R, ∀y ∈ R, x < y

หมายเหตุ ถ้า U และ V เปนเซตเดี ็ วเดียวกั น เราอาจเขียนเอกภพสั มพั ทธ์เพียง
ยวกั น และตั วบ่งปริมาณเปนตั
ครั้ งเดียว เช่น ∀x ∈ R, ∀y ∈ R, x2 + y2 ≥ 0 สามารถเขียนย่อเปน็ ∀x, y ∈ R, x2 + y2 ≥ 0 ได้
20 ตรรกศาสตร์
็ ง
ทฤษฎีบท 5 การสมมูลต่อไปนี้เปนจริ
(1) ∼ (∀x ∈ U , ∀y ∈ V, P (x, y)) ≡ ∃x ∈ U , ∃y ∈ V, ∼ P (x, y)

(2) ∼ (∃x ∈ U , ∃y ∈ V, P (x, y)) ≡ ∀x ∈ U , ∀y ∈ V, ∼ P (x, y)

(3) ∼ (∀x ∈ U , ∃y ∈ V, P (x, y)) ≡ ∃x ∈ U , ∀y ∈ V, ∼ P (x, y)

(4) ∼ (∃x ∈ U , ∀y ∈ V, P (x, y)) ≡ ∀x ∈ U , ∃y ∈ V, ∼ P (x, y)

ข้อตกลงทีค่ วรทราบเกีย่ วกั บ ∀ และประพจน์มเี งือ่ นไข


ในหลายกรณี นั กคณิตศาสตร์จะใช้ตัวบ่งปริมาณ ∀ และประพจน์มเี งือ่ นไขตามข้อตกลงต่อไปนี้
(1) ข้อความ ∀x ∈ U , P (x) มีความหมายเหมือนกั บ x ∈ U → P (x)
เช่น ∀x ∈ R, x2 ≥ 0 มีความหมายเหมือนกั บ ถ้า x ∈ R แล้ว x2 ≥ 0
(2) ็
ให้ P (x) และ Q(x) เปนประโยคเป ดิ หากเปนที
็ เ่ ข้าใจแล้วว่าเอกภพสั มพั ทธ์คอื เซต U แล้วประโยค
P (x) → Q(x) มั กหมายถึง ∀x ∈ U , P (x) → Q(x)
็ เ่ ข้าใจว่าเอกภพสั มพั ทธ์คอื เซตของจำนวนจริง แล้วข้อความ
เช่น หากเปนที
ถ้า x > 1 แล้ว x2 > 1 หมายถึง ∀x ∈ R ถ้า x > 1 แล้ว x2 > 1

2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์
การอ้างเหตุผล (argument) หมายถึงการใช้ข้อความจำนวนหนึง่ ซึง่ เรียกว่า “เหตุ” (premise) เพือ่ นำ
ไปสูข่ ้อความหนึง่ ซึง่ เรียกว่า “ผล” หรือ “ข้อสรุป” (conclusion) ในทีน่ ้ เี ราจะสนใจ “การอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุ
สมผล” (valid argument) โดยมีหลั กการว่า
การอ้างเหตุ p1, p2, . . . , pn เพือ่ สรุปผล q

เปนการอ้ างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล ก็ตอ่ เมือ่
(p1 ∧ p2 ∧ · · · ∧ pn ) → q เปนสั ็ จนิรันดร์
นั น่ คือ การอ้างเหตุผลจะสมเหตุสมผลก็ตอ่ เมือ่ ถ้าเหตุทกุ ข้อเปนจริ ็ ง แล้วผลจะต้องเปนจริ
็ งด้วย
ในทีน่ ้ ี จะใช้สัญลั กษณ์
p1 , p 2 , . . . , p n 1 q
แทนรูปแบบการอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผลซึง่ ประกอบด้วยเหตุ p1, p2, . . . , pn และผล q และเขียน
p1 , p 2 , . . . , p n % 1 q
ถ้ารูปแบบการอ้างเหตุผลนั้ นไม่สมเหตุสมผล
2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์ 21

ตั วอย่างที่ 10
(a) p → q, p 1 q เนือ่ งจาก ....................................................................................................
เรียกรูปแบบการอ้างเหตุผลนี้วา่ modus ponens
(b) p ∨ q, p % 1 q เนือ่ งจาก .....................................................................................................
ทฤษฎีบทต่อไปนี้รวบรวมรูปแบบการอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผลซึง่ เราต้องใช้อยูเ่ สมอ
็ ปแบบของประพจน์ และให้ P (x) เปนประโยคเป
ทฤษฎีบท 6 ให้ p, q, r เปนรู ็ ดิ จะได้วา่
(1) p, q 1 p ∧ q (conjunction introduction)

(2) p 1 p ∨ q (disjunction introduction)

(3) p ∧ q 1 p (simplification)
p∧q 1q (simplification)

(4) p ∨ q, ∼ p 1 q (disjunctive syllogism)

(5) p → q, p 1 q (modus ponens)


p → q, ∼ q 1 ∼ p (modus tollens)

(6) p → q, q → r 1 p → r (hypothetical syllogism)

(7) p ∨ q, p → r, q → r 1 r (disjunction elimination)

(8) p ∨ q, p → r, q → s 1 r ∨ s (constructive dilemma)

(9) p → r, q → s, ∼ r∨ ∼ s 1∼ p∨ ∼ q (destructive dilemma)

(10) p → q 1 p → (p ∧ q) (absorption)

(11) p ↔ q 1 p → q (biconditional elimination)


p↔q1q→p (biconditional elimination)

(12) p ↔ q, p 1 q
p ↔ q, ∼ p 1 ∼ q

(13) p → q, q → p 1 p ↔ q (biconditional introduction)

(14) ∀x ∈ U [P (x)], a ∈ U 1 P (a) (universal instantiation)

(15) P (a), a ∈ U 1 ∃ x ∈ U , P (x) (existential generalization)


22 ตรรกศาสตร์

ตั วอย่างที่ 11
(i) ตั วอย่างการใช้ modus ponens
็ นพุธ แล้วมนั สวีจะมาเรียน
เหตุ 1. ถ้าวั นนี้เปนวั
็ นพุธ
2. วั นนี้เปนวั

ดั งนั้ น ....................................................................
ข้อควรระวั ง
• ็ นพุธ”
หากเหตุข้อที่ 2 คือ “มนั สวีมาเรียน” ยั งไม่สามารถสรุปได้วา่ “วั นนี้เปนวั
• หากเหตุข้อที่ 2 คือ “วั นนี้ไม่ใช่วันพุธ” ยั งไม่สามารถสรุปได้วา่ “มนั สวีไม่มาเรียน”
(ii) ตั วอย่างการใช้ modus tollens
เหตุ 1. ถ้ากุก๊ กิ๊กทำดุก๊ ดิ๊ก แล้วตุก๊ ติ๊กทำปุก๊ ปก๊ ิ
๊ ติ๊กไม่ทำปุก๊ ปก๊ ิ
2. ตุก

ดั งนั้ น ....................................................................
จากตั วอย่างนี้ จะเห็นว่า การอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผลนั้ น สมเหตุสมผลโดยรูปแบบของการอ้างเหตุผล
็ งก็ได้
เท่านั้ น อย่างไรก็ตาม ข้อสรุปทีไ่ ด้อาจจะไม่มคี วามหมาย หรืออาจจะไม่จริงในโลกของความเปนจริ
(iii) ตั วอย่างการใช้ disjunctive syllogism
เหตุ 1. n เปนจำนวนคู ็ ห่ รือจำนวนคี่
2. n ไม่ใช่จำนวนคู่

ดั งนั้ น ....................................................................
(iv) ตั วอย่างการใช้ universal instantiation
เหตุ 1. สั ตว์ทกุ ตั วต้องตาย
2. เจ้ามอมเปนสั ็ ตว์
ดั งนั้ น ....................................................................
(v) ตั วอย่างการใช้ existential generalization
เหตุ 1. โสภารั ตน์ไม่เห็นแก่ตัว
2. โสภารั ตน์เปนคน ็
ดั งนั้ น ....................................................................
2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์ 23

การพิสจู น์

ให้ H เปนเซตของประพจน์ หรือ H = ∅ การพิสจู น์ข้อความ p จาก H คือลำดั บจำกั ด
p1 , p 2 , p 3 , . . . , p n

โดยที่ pn = p และสำหรั บแต่ละ k = 1, 2, . . . , n ข้อความ pk สอดคล้องกั บเงือ่ นไขข้อใดข้อหนึง่ ต่อไปนี้


(i) pk ∈ H

(ii) pk ็ จพจน์ หรือบทนิยาม หรือสั จนิรันดร์ หรือทฤษฎีบททีม่ มี าก่อน


เปนสั
(iii) ็ ไ่ ด้จากการอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล โดยใช้ข้อความในลำดั บทีม่ าก่อน pk เปนเหตุ
pk เปนผลที ็
็ อความทีพ่ สิ จู น์ได้จาก H เราจะกล่าวว่า H พิสจู น์ p
ถ้า p เปนข้
เรียกเซต H ข้างต้นว่าเซตของสมมติฐาน (hypothesis) ซึง่ ในหลายกรณี เราอาจใช้ข้อความทีพ่ สิ จู น์ไว้
ก่อนแล้วมาใช้พสิ จู น์ p ด้วย แสดงว่าในกรณีเช่นนั้ น เรารวมข้อความดั งกล่าวไว้ในเซต H ด้วย
ทฤษฎีบท 7 H พิสจู น์ p → q ก็ตอ่ เมือ่ H ∪p พิสจู น์ q
็ วนหนึง่ ของ
ทฤษฎีบทนี้บอกให้เราทราบว่า ในการพิสจู น์ให้ได้ข้อความ p → q เราสามารถนำ p มาเปนส่
สมมติฐาน แล้วพิสจู น์ให้ได้เพียงข้อความ q ก็ได้
ตั วอย่างที่ 12 ให้ a ∈ Z ถ้า 2 | a แล้ว 2 | a2
"

อาจวิเคราะห์ได้วา่ ข้อความนี้ม ี “a ∈ Z” เปนสมมติ ็ อสรุป
ฐาน และมี “ถ้า 2 | a แล้ว 2 | a2” เปนข้
นั น่ คือ ในทีน่ ้ ี H = {a ∈ Z} และข้อสรุปทีต่ ้องการอยูใ่ นรูป p → q โดย
p : 2 | a และ q : 2 | a2
จากทฤษฎีบท 7 เราสามารถแสดงข้อความดั งกล่าวได้ โดยการแสดงว่า {H, p} พิสจู น์ q
็ อสมมติ และแสดงให้ได้ผลสรุปว่า 2 | a2 #
นั น่ คือ ใช้ a ∈ Z และ 2 | a เปนข้
พิสจู น์
(1) a ∈ Z (ข้อสมมติ)

(2) 2 | a (ข้อสมมติ)

(3) 2 | a ก็ตอ่ เมือ่ a = 2c สำหรั บบางจำนวนเต็ม c (บทนิยามการหารลงตั ว)

(4) a = 2c สำหรั บบางจำนวนเต็ม c (จากข้อ (2)


และข้อ (3)
และหลั กการอ้างเหตุผลข้อ 12)
(5) a2 = (2c)2 (สั จพจน์การแทนทีด่ ้วยสงิ่ ทีเ่ ท่ากั น)

(6) (2c)2 = 2(2c2 ) (จากกฎการคูณ)

(7) a2 = 2(2c2 ) (จากข้อ (5), (6) และกฎการถ่ายทอดของการเท่ากั น)


(8) 2c2 ∈ Z (สมบั ตป ิ
ิ ดของการคู
ณจำนวนเต็ม)
24 ตรรกศาสตร์
(9) a2 = 2k สำหรั บบางจำนวนเต็ม k (จากข้อ (7) และข้อ (8)
และ existential generalization)

(10) 2 | a2 (จากข้อ (9) และบทนิยาม)


"
หมายเหตุ ปจั จุบัน นั กคณิตศาสตร์นยิ มใช้ สัญลั กษณ์ " หรือ # เพือ่ ระบุวา่ จบการพิสจู น์ สั ญลั กษณ์น้ ถี กู ใช้ ใน
ทางคณิตศาสตร์เปนครั ็ ้ งแรกโดย พอล ฮาลมอส (Paul Halmos) นั กคณิตศาสตร์ชาวฮั งกาเรียน-อเมริกัน ซึง่ มี
ชีวติ อยูใ่ นช่วงป ี ค.ศ. 1916 − 2006 อย่างไรก็ตาม ตำราบางเล่มอาจยั งใช้ตัวย่อ Q.E.D ซึง่ มาจากภาษาละตินที่
ว่า quod erat demonstrandum (ซึง่ ต้องพิสจู น์)

การเขียนพิสจู น์ข้างต้น เปนการเขี ็
ยนอย่างเปนทางการ ซึง่ ในทางปฏิบัต ิ เรามั กเขียนแบบย่อ หรือแบบ

ไม่เปนทางการได้ ดังนี้
พิสจู น์


ในส่วนทีเ่ หลือของเอกสารฉบั บนี้ เราจะเขียนการพิสจู น์แบบไม่เปนทางการ อนึง่ สั งเกตว่าในตั วอย่าง
ข้างต้น ข้อความ
ให้ a ∈ Z ถ้า 2 | a แล้ว 2 | a2
มีความหมายเช่นเดียวกั นกั บข้อความ
สำหรั บทุก a ∈ Z ถ้า 2 | a แล้ว 2 | a2
ซึง่ ตามข้อตกลงเกีย่ วกั บ ∀ และประพจน์มเี งือ่ นไข จะได้วา่ ข้อความดั งกล่าวยั งมีความหมายเดียวกั นกั บข้อความ
ถ้า a ∈ Z แล้ว ถ้า 2 | a แล้ว 2 | a2
2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์ 25

ึ ดบทที่ 2
แบบฝกหั

1. ็ หรือไม่ ถ้าเปน็ จงระบุคา่ ความจริงของประพจน์นั้น


ข้อความต่อไปนี้เปนประพจน์
(i) (Z − N) ∩ Q+
∞ %
$ 1 1&
(ii) − , =∅
n=1
n n
(iii) ถ้า x < 1 แล้ว x2 < 1
(iv) 64,000,000,000,000,000,000,001 ็
เปนจำนวนเฉพาะ
(v) เลขโดดหลั งจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 2558 ของ 22
7
คือเลข 5

2. กำหนดประโยคเปดิ
P (n) : n ็
เปนจำนวนเต็
มบวก และ Q(n) : n4 − 2n2 − 3 ็
เปนจำนวนเฉพาะ
็ ง
โดยทีเ่ อกภพสั มพั ทธ์คอื Z จงหาเซตของค่า n ทั้ งหมดทีท่ ำให้ทที่ ำให้ประโยคต่อไปนี้เปนจริ
(a) ∼ P (n) (d) P (n) → Q(n)
(b) P (n) ∧ Q(n) (e) Q(n) → P (n)
(c) P (n) ∨ Q(n) (f) P (n) ↔ Q(n)

3. ็ จ นิรัน ดร์ หรือ ข้อความขั ด แย้ง หรือ ไม่ใช่ทั้ง สอง


จงพิจารณาว่า รูป แบบของประพจน์ ในข้อ ใดต่อ ไปนี้เปนสั
อย่าง
(a) p → (p ∨ q)
(b) ((p → q) ∧ (q → r)) → (p → r)
(c) (p∧ ∼ q) ∧ (∼ p ∨ q)
(d) ((p → q) → p) → p
(e) (p → (q → r)) ↔ (∼ r → (q →∼ p))
(f) p → (q → p)
(g) (p → (q → r)) → ((p → q) → (p → r))

4. ชายสามคนคือ หมำ่ เท่ง และโหน่ง ตกเปนผู ็ ้ต้องสงสั ยในคดีหนึง่ พวกเขาให้การกั บตำรวจดั งนี้
หมำ่ : ถ้าเท่งผิด โหน่งก็ผดิ ด้วย
็ ด โหน่งไม่ผดิ
เท่ง: หมำ่ เปนคนผิ
โหน่ง: ผมไม่ผดิ แต่อกี สองคนทีเ่ หลือต้องมีอย่างน้อยหนึง่ คนผิดแน่ ๆ
(i) จงเขียนคำให้การของแต่ละคนในรูปแบบของประพจน์ โดยใช้ตัวเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ พร้อมทั้ งเขียน
ตารางค่าความจริงสำหรั บคำให้การของทั้ งสามคน
26 ตรรกศาสตร์

(ii) จากตารางค่าความจริงในข้อ (i) จงตอบคำถามต่อไปนี้



(a) เปนไปได้ หรือไม่ทคี่ ำให้การของทุกคนเปนจริ็ ง
(b) ถ้าคำให้การของทุกคนเปนจริ ็ ง แล้วใครเปนคนผิ
็ ด
(c) ถ้าผู้ต้องสงสั ยทั้ งสามคนนี้ไม่มใี ครกระทำผิดเลย จงหาว่าใครให้การเท็จ
(d) จากประสบการณ์ของตำรวจ พบว่าผู้ทไี่ ม่ผดิ จะกล่าวคำให้การทีเ่ ปนจริ็ ง และผู้ทผี่ ดิ จะให้การเท็จ
หากใช้สมมติฐานนี้ จงหาว่าใครเปนผู ็ ้กระทำผิด

5. สำหรั บแต่ละสั ญลั กษณ์ s เรานิยาม น้ำหนั ก (weight) ของ s ซึง่ เขียนแทนด้วย W (s) ดั งนี้
ถ้า s คือตั วแปรแทนประพจน์ แล้ว W (s) = −1
ถ้า s คือ ( หรือ ) หรือ ∼ แล้ว W (s) = 0
ถ้า s คือ ∧ หรือ ∨ แล้ว W (s) = 1
็ ปแบบของประพจน์ซงึ ่ ประกอบด้วยตั วเชือ่ ม ∼, ∧ หรือ ∨ เท่านั้ น แล้วน้ำหนั กของ
ถ้า p = s1s2 . . . sn เปนรู
p คือ
n '
W (p) = W (si )
i=1

จงหาน้ำหนั กของรูปแบบของประพจน์ตอ่ ไปนี้


(a) p (d) ∼ p ∨ q
(b) ∼ p (e) (p ∧ q) ∨ (∼ (p ∧ (∼ q ∨ r)))
(c) p ∧ q (f) (p ∨ q) ∧ (q∨ ∼ r) ∧ (r∨ ∼ s)

จากข้อ (a)-(f) นั กเรียนสามารถคาดคะเนข้อสรุปใดได้บ้างหรือไม่


6. จงหาค่าความจริงของประพจน์ตอ่ ไปนี้
(a) ∅ ∈ {0}
(b) {0, 1} = {1, 0, 0}
(c) สำหรั บทุก X ∈ P(N), X ∩ P (X) = ∅
(d) มี X ∈ P(N), X − N ⊆ X
(e) สำหรั บแต่ละ X ∈ P(N) มี Y ∈ P(N) ซึง่ Y − X = Y
(f) มี X ∈ P(N) ซึง่ สำหรั บทุก Y ∈ P(N), X ∪ Y = X
7. กำหนดประโยคเปดิ
P (x) : x2 < 1 และ Q(x) : x < 1
็ ง
โดยทีเ่ อกภพสั มพั ทธ์คอื R จงหาเซตของค่า x ทีท่ ำให้ประโยคเหล่านี้เปนจริ
2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์ 27
(a) ∼ P (x) (d) P (x) → Q(x)
(b) P (x) ∧ Q(x) (e) Q(x) → P (x)
(c) P (x) ∨ Q(x) (f) P (x) ↔ Q(x)

8. ็ งหรือไม่ เพราะเหตุใด
จงพิจารณาว่าการสมมูลระหว่างรูปแบบของประพจน์ตอ่ ไปนี้เปนจริ
(a) (p → q) → r ≡ p → (q → r)
(b) p → (q → r) ≡ (p ∧ q) → r
(c) (p ∨ q) → r ≡ (p → r) ∧ (q → r)
(d) (p ∧ q) → r ≡ (p → r) ∨ (q → r)
(e) ∼ (p ↔ q) ≡ ∼ p ↔ q ≡ p ↔∼ q

9. จงเขียนข้อความต่อไปนี้ในรูปสั ญลั กษณ์ โดยใช้ ตัวบ่งปริมาณและตั วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ พร้อมทั้ งหาค่า


ความจริงของประโยค
(a) มีจำนวนตรรกยะ r ซึง่ r2 = 2
(b) ็
สำหรั บจำนวนจริง x ใด ๆ ถ้า x เปนจำนวนตรรกยะ ็
แล้ว x2 เปนจำนวนตรรกยะ
(c) ็
สำหรั บจำนวนอตรรกยะ x, y ใด ๆ x + y เปนจำนวนอตรรกยะ
(d) ็
สำหรั บทุกจำนวนตรรกยะ x จะมีจำนวนตรรกยะ y ซึง่ x + y เปนจำนวนเต็ ม
(e) มีจำนวนเต็ม a ซึง่ สำหรั บทุกจำนวนเต็ม b, ab < a + b
(f) ็
มีจำนวนอตรรกยะ x และจำนวนอตรรกยะ y ซึง่ xy เปนจำนวนตรรกยะ
10. จงหาค่าความจริงของประพจน์ทมี่ ตี ั วบ่งปริมาณต่อไปนี้
(a) ∀n ∈ N, (n ็
เปนจำนวนเฉพาะ ็
) → (n เปนจำนวนคู
)่

(b)
n

∀n ∈ N, 22 + 1 เปนจำนวนเฉพาะ
(c) ∃ x ∈ R, (x < 0) ∧ (x3 + x2 + x + 3 = 0)
(d) ∀x ∈ Z, ∃ y ∈ Z, x หาร y ลงตั ว
(e) ∃ x ∈ Z, ∀ y ∈ Z, x หาร y ลงตั ว
(f) ∃ x ∈ R, ∀ y ∈ R, xy = y
(g) ∀ x ∈ R, ∃ y ∈ R, xy = 1

11. ให้ เอกภพสั มพั ทธ์คอื U = {1, 2, 3} จงยกตั วอย่างของประโยคเปดิ P (n), Q(n) และ R(n) ซึง่ สอดคล้อง
กั บเงือ่ นไขทั้ งหมดต่อไปนี้
(1) ิ นจริ
แต่ละประโยคเปดเป ็ งสำหรั บค่า n ∈ U เพียงสองค่าเท่านั้ น
(2) ็ ง
(P (1) → (Q(1)) ∧ (Q(2) → R(2)) ∧ (R(3) → P (3)) เปนจริ
(3) (Q(1) → (P (1)) ∨ (R(2) → Q(2)) ∨ (P (3) → R(3)) เปนเท็็ จ
28 ตรรกศาสตร์

12. ให้ P (x), Q(x) ็


และ R(x) เปนประโยคเป ดิ จงพิจารณาว่า มีเอกภพสั มพั ทธ์ U ซึง่ |U| = 2 โดยที่ม ี
a, b, c ∈ U ซึง่ สอดคล้องกั บเงือ่ นไขทั้ งสองข้อต่อไปนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด

(1) (P (a) → (Q(a)) ∧ (Q(b) → R(b)) ∧ (R(c) → P (c)) ็ ง


เปนจริ
(2) ็ จ
(Q(a) → (P (a)) ∨ (R(b) → Q(b)) ∨ (P (c) → R(c)) เปนเท็

่ ้ จี ะต้องมีคา่ ของ a, b, c
(สั งเกตว่าในทีน อย่างน้อยสองค่าทีเ่ ท่ากั น)
13. ให้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6}, B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และกำหนดประโยคเปดิ
P (x) : 7x + 4 ็ ,่
เปนจำนวนคี Q(y) : 5y + 9 ็
เปนจำนวนคี ่
็ จ} จงหา |S|
ให้ S = {(x, y) ∈ A × B : P (x) → Q(y) เปนเท็
14. จงตรวจสอบว่ารูปแบบการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เพราะเหตุใด
(i) เหตุ: ∼ p, ∼ q ผล: ∼ (p ∨ q)
(ii) เหตุ: p → q, r → q ผล: (p ∨ r) → q
(iii) เหตุ: (p ∧ q) ∨ r, ∼ q ผล: r
(iv) เหตุ: p ∨ r, r → q, ∼ q ผล: p
(v) เหตุ: p ∨ ∼ q, ∼ p → r, ∼r ผล: q
15. สำหรั บประพจน์ p และ q ใดๆ นิยาม p ↓ q (อ่านว่า p nor q) โดยให้
p ↓ q = ∼ p∧ ∼ q

จงเขียนรูปแบบของประพจน์ทสี่ มมูลกั บรูปแบบของประพจน์ประพจน์ตอ่ ไปนี้


โดยใช้เพียงสั ญลั กษณ์ ↓ หรือวงเล็บเท่านั้ น (ห้ามใช้ ∼, ∧, ∨, →, ↔ หรืออืน่ ๆ)
(a) ∼ p (d) p → q
(b) p ∧ q (e) p ↔ q
(c) p ∨ q (f) p|q

16. ็
ให้ C เปนเซตของตั ็
วเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ เรากล่าวว่า C เปนเซตที ่ adequate ถ้ารูปแบบของประพจน์

ทุกรูปแบบสมมูลกั บรูปแบบของประพจน์ทใี่ ช้เพียงตั วเชือ่ มจากเซต C เท่านั้ น เช่น C = {∼, ∧} เปนเซตที ่
adequate เนือ่ งจาก

p ∨ q ≡∼ (∼ p∧ ∼ q), p → q ≡ ∼ (p∧ ∼ q)
และ p ↔ q ≡ (∼ (p∧ ∼ q)) ∧ (∼ (q∧ ∼ p))

จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนี้เปนเซตที ่ adequate หรือไม่ เพราะเหตุใด
(a) C = {∼, ∨}
2.5 การอ้างเหตุผลและการพิสจู น์ 29
(b) C = {∧, →}
(c) C = {∼, →}
(d) C = {|}
(e) C = {↓}

17. ให้ ็ ป แบบของประพจน์ ซงึ ่ ประกอบด้วยตั วแปร p1, p2, p3, . . . , pn


p เปนรู เรากล่าวว่า p อยู่ในรูป full
disjunctive normal form (FDNF) ถ้า p เขียนอยูใ่ นรูป

p = (q11 ∧ q12 ∧ · · · ∧ q1n ) ∨ (q21 ∧ q22 ∧ · · · ∧ q2n ) ∨ · · · ∨ (qm1 ∧ qm2 ∧ · · · ∧ qmn )

เมือ่ qij คือ pj หรือ ∼ pj และ m ∈ N เช่น


(p1 ∧ ∼ p2 ∧ ∼ p3 ) ∨ (∼ p1 ∧ p2 ∧ p3 )

อยูใ่ นรูป FDNF โดยที่ n = 3, m = 2, q11 = p1, q12 =∼ p2, q13 =∼ p3, q21 =∼ p1,
q22 = p2 และ q23 = p3 (n คือจำนวนตั วแปร, m คือจำนวนวงเล็บ)

จงเขียนตารางค่าความจริงของประพจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ และหาประพจน์ทอี่ ยูใ่ นรูป FDNF ซึง่ สมมูล


กั บประพจน์ทกี่ ำหนดให้
(i) p1 ↔ p2
(ii) (p1 → p2 ) → p3
(iii) p1 ↔ (p2 ↔ p3 )

18. ให้ V คือเซตของตั วแปรแทนประพจน์ และให้ P1 = V สำหรั บแต่ละจำนวนเต็มบวก n ใด ๆ เราให้


Pn+1 = Pn ∪ {∼ p | p ∈ Pn } ∪ {p ∧ q | p, q ∈ Pn } ∪ {p ∨ q | p, q ∈ Pn }
∪ {p → q | p, q ∈ Pn } ∪ {p ↔ q | p, q ∈ Pn }

็ ปแบบของประพจน์ใด ๆ เรานิยาม ความส ูง (height) ของ p ให้ คอื จำนวนเต็ม บวกทีน่ ้อยทีส่ ดุ
ให้ p เปนรู
ซึง่ p ∈ Pn จงหาความสูงของรูปแบบของประพจน์ตอ่ ไปนี้
(i) p ∨ q
(ii) p ∧ (q ∨ r)
(iii) ∼ p ↔ (q → (r∨ ∼ s))

19. ็
ให้ n เปนจำนวนเต็ มบวกใด ๆ จงหาว่า ถ้าจั ดกลุม่ ของประพจน์ทั้งหมดทีป่ ระกอบด้วยตั วแปร p1, p2, . . . , pn
็ ม่ ย่อย ๆ โดยให้ รปู แบบของประพจน์ทสี่ มมูลกั นอยูใ่ นกลุม่ เดียวกั น และรูปแบบของประพจน์ท ี่
ออกเปนกลุ
ไม่สมมูลกั นอยูต่ า่ งกลุม่ กั น แล้วจะได้กลุม่ ของรูปแบบของประพจน์ทั้งหมดกีก่ ลุม่ (ตอบในรูปของ n)
20. ็ ง
ให้ P คือเซตของประพจน์ นิยามฟงั ก์ชัน f : P → {0, 1} โดยให้ f (p) = 1 เมือ่ p มีคา่ ความจริงเปนจริ
็ จ จงเขียน
และให้ f (p) = 0 เมือ่ p มีคา่ ความจริงเปนเท็
f (∼ p), f (p ∧ q), f (p ∨ q), f (p → q) และ f (p ↔ q)

ในรูปของ f (p) และ f (q) โดยใช้การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ ฯ


30 ตรรกศาสตร์
บทที่ 3
การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้ง
สลั บที่
ในบทนี้ จะกล่าวถึงวิธกี ารพิสจู น์เบื้องต้นทีส่ ำคั ญสองวิธ ี ซึง่ ใช้สำหรั บพิสจู น์ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป P → Q
ได้แก่ การพิสจู น์โดยตรง (direct proof) และ การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ (proof by contrapositive)
นอกจากนี้ จะกล่าวถึง การพิสจู น์โดยแจงกรณี (proof by exhaustion) รวมทั้ งการพิสจู น์ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป
P ↔ Q อีกด้วย

ในครึง่ หลั งของบทนี้ จะกล่าวถึงตั วอย่างการพิสจู น์สมบั ตพิ ้ นื ฐานทีส่ ำคั ญในระบบจำนวนจริง รวมทั้ งการ
พิสจู น์เกีย่ วกั บเซต

3.1 การพิสจู น์โดยตรง


ในวิชาคณิตศาสตร์ มั กมีการพิสจู น์ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป P → Q อยูเ่ สมอ ซึง่ ข้อความดั งกล่าวมั กมีตัวแปร
เกีย่ วข้องอยูด่ ้วย เช่น อาจอยูใ่ นรูป
P (x) → Q(x)

ซึง่ ตามข้อตกลงในบทที่ 2 ข้อความดั งกล่าวมั กหมายถึง


∀x ∈ U , P (x) → Q(x)

็ ง อาจทำได้หลายวิธ ี ขึ้นอยูก่ ั บลั กษณะของข้อความ เช่น การพิสจู น์


การพิสจู น์วา่ ข้อความดั งกล่าวเปนจริ
โดยตรง การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ การพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง การพิสจู น์โดยอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์
(ใช้เมือ่ U ⊂ N ∪ {0}) เปนต้ ็ น

31
32 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

สำหรั บการพิสจู น์โดยตรง ทำได้ โดยให้ x เปนสมาชิ ็ ง แล้วจึง
กใด ๆ ใน U และสมมติวา่ P (x) เปนจริ
แสดงให้ได้ Q(x) ดั งนี้

สมมติ P (x)
จะได้
...
Q(x)

โดยในการแสดงให้ได้ Q(x) นั้ น เราสามารถใช้ :


• ข้อสมมติ
• สั จพจน์ บทนิยาม สั จนิรันดร์ รวมทั้ งบทตั้ งหรือทฤษฎีบททีพ่ สิ จู น์มาก่อนแล้ว
• การอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล

ตั วอย่างการพิสจู น์ในบทนี้และในบทต่อ ๆ ไป ส่วนหนึง่ จะเปนการพิ ็ สจู น์ในระบบจำนวนเต็ม แนวคิด


เบื้องต้นอย่างหนึง่ ในระบบจำนวนเต็มได้แก่ การหารลงตั ว ซึง่ ได้กล่าวถึงบทนิยามไปแล้วในบทที่ 2 แนวคิดอย่าง
ง่ายอีกประการหนึง่ ได้แก่ จำนวนคูแ่ ละจำนวนคี่ ดั งบทนิยามต่อไปนี้
บทนิยาม ให้ a ∈ Z เรากล่าวว่า a เปนจำนวนคู็ ่ (even number) ก็ตอ่ เมือ่ 2 | a

และกล่าวว่า a เปนจำนวนคี ่ (odd) ก็ตอ่ เมือ่ 2 ! a
ในระบบจำนวนเต็ม มีทฤษฎีบทเบื้องต้น ทฤษฎีบทหนึง่ ซึง่ สำคั ญ เปนอย่ ็ างยิง่ ซึง่ จะส่ง ผลให้ ได้ ผลลั พธ์
อืน่ ๆ ทีส่ ำคั ญตามมามากมาย ทฤษฎีบทนี้ได้แก่:
ทฤษฎีบท 1 (ขั้ นตอนวิธกี ารหาร : Division Algorithm)
สำหรั บทุกจำนวนเต็ม a, b ซึง่ a %= 0 จะมีจำนวนเต็ม q, r เพียงคูเ่ ดียว ซึง่
b = aq + r โดยที่ 0 ≤ r < |a|

แนวคิดในการพิสจู น์ทฤษฎีบทนี้ สามารถดูได้ในบทที่ 4


ข้อสั งเกต จากบทนิยามของจำนวนคูแ่ ละจำนวนคี่ และจากขั้ นตอนวิธกี ารหาร จะได้วา่
1. ็
จำนวนเต็ม a เปนจำนวนคู ่ ก็ตอ่ เมือ่ มีจำนวนเต็ม k ซึง่ a = 2k
2. ็
จำนวนเต็ม a เปนจำนวนคี ่ ก็ตอ่ เมือ่ มีจำนวนเต็ม k ซึง่ a = 2k + 1

ซึง่ จากนี้ไป ส่วนใหญ่เราจะใช้เงือ่ นไขนี้ในการแสดงความเปนจำนวนคู แ่ ละจำนวนคี่
3.1 การพิสจู น์โดยตรง 33

ตั วอย่างที่ 1 ให้ n ∈ Z จงพิสจู น์วา่ ถ้า n เปนจำนวนคู ็
่ แล้ว 3n + 9 เปนจำนวนคี ่

ตั วอย่างที่ 2 ให้ a, b, c ∈ Z โดยที่ a, b %= 0 จงพิสจู น์วา่ ถ้า a | b และ b | c แล้ว a | c

หมายเหตุ คำสั ง่ ในตั วอย่างที่ 2 อาจเขียนได้อกี แบบหนึง่ ว่า


ให้ a, b, c ∈ Z โดยที่ a %= 0, a | b และ b | c จงพิสจู น์วา่ a | c
ซึง่ ข้อความนี้มคี วามหมายเดียวกั นกั บคำสั ง่ ข้างบน
ในตั วอย่างถั ด ไป จะใช้ แนวคิด เกีย่ วกั บ จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะในระบบจำนวนจริง ซึง่ มี
บทนิยามดั งนี้
บทนิยาม ให้ x ∈ R จะเรียก x ว่า จำนวนตรรกยะ (rational number) ก็ตอ่ เมือ่ สามารถเขียน x ได้ ในรูป
a
x = สำหรั บบาง a, b ∈ Z โดยที่ b %= 0
b

เรียกจำนวนจริงซึง่ ไม่เปนจำนวนตรรกยะว่ า จำนวนอตรรกยะ (irrational number)

ตั วอย่างที่ 3 ให้ x, y ∈ R โดยที่ x และ y เปนจำนวนตรรกยะ ็
จงพิสจู น์วา่ x + y เปนจำนวนตรรกยะ
34 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

3.2 การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่


การพิสจู น์ โดยตรงเพียงวิธ ีเดียว อาจยั ง ไม่เพียงพอสำหรั บ พิสจู น์ ข้อความทุก แบบ เช่น หากต้องการ
พิสจู น์วา่

ถ้า n2 + 1 เปนจำนวนคู ็
่ แล้ว n เปนจำนวนคี ่
การพิสจู น์ข้อความดั งกล่าวโดยตรง อาจทำได้ ไม่สะดวก อย่างไรก็ตาม ข้อความนี้สามารถ พิสจู น์ได้ งา่ ยโดยใช้
ข้อความแย้งสลั บที่ นั น่ คือ พิสจู น์ข้อความ P → Q โดยพิสจู น์ข้อความ ∼ Q →∼ P ทีส่ มมูลกั นแทน นั น่ คือ
เราจะสมมติ ∼ Q แล้วแสดงให้ได้ ∼ P ดั งแผนภาพ

สมมติ ∼ Q(x)
จะได้
...
∼ P (x)


ตั วอย่างที่ 4 ให้ n ∈ Z จงแสดงว่าถ้า n2 + 1 เปนจำนวนคู ็
่ แล้ว n เปนจำนวนคี ่


ตั วอย่างที่ 5 ให้ n ∈ Z จงพิสจู น์วา่ ถ้า n2 + 1 เปนจำนวนคู ็
่ แล้ว 2n2 + 3n เปนจำนวนคี ่
3.3 การพิสจู น์ข้อความ P ↔Q 35

ตั วอย่างที่ 6 ให้ x และ y เปนจำนวนเต็
ม จงพิสจู น์วา่

ถ้า xy เปนจำนวนคู ่ แล้ว x ็
เปนจำนวนคู ็
่ หรือ y เปนจำนวนคู ่

3.3 การพิสจู น์ข้อความ P ↔Q

เนือ่ งจาก P ↔ Q ≡ (P → Q) ∧ (Q → P ) ดั งนั้ นการพิสจู น์วา่ P ↔ Q เปนจริ ็ ง สามารถทำได้โดย


การแสดงว่า P → Q เปนจริ ็ ง (ซึง่ เรียกว่าการพิสจู น์ “ขาไป” หรือ necessity) และแสดงว่า Q → P เปนจริ
็ ง
(การพิสจู น์ “ขากลั บ” หรือ sufficiency)


ตั วอย่างที่ 7 ให้ n ∈ Z จงแสดงว่า n2 + 1 เปนจำนวนคู ็
่ ก็ตอ่ เมือ่ n เปนจำนวนคี ่
36 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
ตั วอย่างที่ 8 ให้ x, y ∈ R จงพิสจู น์วา่ x2 + y2 = 2xy ก็ตอ่ เมือ่ x = y

สั งเกตว่า ในตั วอย่างที่ 8 ทั้ งการพิสจู น์ขาไปและขากลั บมีลักษณะของข้อความและ การอ้างเหตุผลที่


ไม่แตกต่างกั น โดยข้อความย่อย ๆ แต่ละข้อความต่างสมมูลกั น ดั งนั้ น เราอาจพิสจู น์ข้อความในตั วข้างต้นโดย
พิสจู น์ทั้งขาไปและขากลั บพร้อมกั นได้ ดั งนี้
พิสจู น์

3.4 การพิสจู น์โดยแจงกรณี


ในการพิสจู น์ วา่ P → Q เมือ่ สมมติให้ P เปนจริ ็ ง แล้ว อาจเกิด กรณียอ่ ย ๆ ทีเ่ ปนไปได้
็ หลายกรณี
ซึง่ เราต้องแสดงว่า ในแต่ละกรณีจะได้ Q เสมอ เรียกการพิสจู น์ เช่น นี้วา่ การพิสจู น์ โดยแจงกรณี (proof by
exhaustion) ซึง่ มีโครงสร้างการพิสจู น์ดังแผนภาพในหน้าถั ดไป


สงิ่ หนึง่ ทีส่ ำคั ญในการพิสจู น์โดยแจงกรณีคอื ต้องพิจารณากรณีทเี่ ปนไปได้ ทั้งหมดให้ ครบถ้วน โดยไม่ม ี
กรณีใดขาดหายไป
3.4 การพิสจู น์โดยแจงกรณี 37

สมมติ P
จะได้ P1 ∨ P2 ∨ · · · ∨ Pn
กรณีท ี่ 1 : P1
จะได้
...
Q
กรณีท ี่ 2 : P2
จะได้
...
Q
...
กรณีท ี่ n : Pn
จะได้
...
Q


ตั วอย่างที่ 9 จงพิสจู น์วา่ ถ้า n เปนจำนวนเต็ ็
ม แล้ว n2 + n เปนจำนวนคู ่
38 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

ตั วอย่างที่ 10 ให้ x และ y เปนจำนวนเต็
ม จงพิสจู น์วา่
x และ y มีภาวะคูห่ รือคีเ่ หมือนกั น ก็ตอ่ เมือ่ x+y ็
เปนจำนวนคู ่

สั งเกตว่าการพิสจู น์ขากลั บในตั วอย่างที่ 10 การอ้างเหุตผลและการคำนวณทั้ งในกรณีท ี่ 1 และกรณีท ี่ 2


ไม่มคี วามแตกต่างกั นอย่างมีนัยสำคั ญ โดยความแตกต่างมีเพียงบทบาทของ x และ y ทีส่ ลั บกั นเท่านั้ น หากเปน็
เช่นนี้ เราจะอนุโลมให้ ละรายละเอียดการพิสจู น์ในกรณีท ี่ 2 โดยระบุวา่ สามารถแสดงได้ “ในทำนองเดียวกั น”
กั บกรณีท ี่ 1 เราจึงอาจเขียนการพิสจู น์ขากลั บเปนดั ็ งนี้

(⇐) จะพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ โดยสมมติวา่ x และ y มีภาวะคูห่ รือคีต่ า่ งกั น



กรณีท ี่ 1 : x เปนจำนวนคู ็
่ และ y เปนจำนวนคี ่ จะได้วา่ x = 2k และ y = 2l + 1 สำหรั บบาง k, l ∈ Z
ดั งนั้ น
x + y = 2k + (2l + 1) = 2(k + l) + 1

เนือ่ งจาก k + l ∈ Z จึงได้วา่ x + y เปนจำนวนคี ่
กรณีท ี่ 2 : ็
x เปนจำนวนคี ็
่ และ y เปนจำนวนคู ่ สามารถแสดงในทำนองเดียวกั นกั บกรณีท ี่ 1 ได้วา่ x + y

เปนจำนวนคี ่ "
3.4 การพิสจู น์โดยแจงกรณี 39
สมภาค (Congruence)

บทนิยาม ให้ n เปนจำนวนเต็ ็
ม บวก และ a, b เปนจำนวนเต็
ม เรากล่าวว่า a สมภาคกั บ b มอดโล ุ n (a is
congruent to b modulo n) ถ้า n|(a − b)
ใช้สัญลั กษณ์ a ≡ b (mod n) แทนข้อความ a สมภาคกั บ b มอดุโล n และใช้สัญลั กษณ์ a %≡ b (mod n)
แทนข้อความ a ไม่สมภาคกั บ b มอดุโล n เช่น
8 ≡ 2 ( mod 3)

11 ≡ −4 ( mod 5)

−20 ≡ 0 ( mod 10)

−10 ≡ −3 ( mod 7)

55 %≡ 23 ( mod 12)

ข้อสั งเกต สำหรั บจำนวนเต็ม a ใด ๆ เราได้วา่



(1) a เปนจำนวนคู ่ ก็ตอ่ เมือ่ a ≡ 0 (mod 2)

a เปนจำนวนคี ่ ก็ตอ่ เมือ่ a ≡ 1 (mod 2) (นั น
่ คือ a %≡ 0 (mod 2))
(2) ็
จากขั้ นตอนวิธกี ารหาร จะได้วา่ ถ้า n เปนจำนวนเต็ ็
มบวกใด ๆ แล้วจะมีความเปนไปได้ n กรณี ดั งนี้

กรณีท ี่ 1 : n หาร a ลงตั ว นั น่ คือ a ≡ 0 (mod n)


กรณีท ี่ 2 : n หาร a เหลือเศษ 1 นั น่ คือ a ≡ 1 (mod n)
กรณีท ี่ 3 : n หาร a เหลือเศษ 2 นั น่ คือ a ≡ 2 (mod n)
...

กรณีท ี่ n : n หาร a เหลือเศษ n − 1 นั น่ คือ a ≡ n − 1 (mod n)


(3) ถ้า n ็
! a แล้ว จะมีความเปนไปได้ n−1 กรณี คือ a ≡ 1 (mod n) หรือ a ≡ 2 (mod n), . . . , หรือ
a ≡ n − 1 (mod n) นั น
่ คือ
n!a ก็ตอ่ เมือ่ a %≡ 0 (mod n)
็ ตพิ ้ นื ฐานของสมภาคทีต่ ้องใช้อยูเ่ สมอ
ทฤษฎีบทต่อไปนี้เปนสมบั
ทฤษฎีบท 2 ให้ a, b, c, d ∈ Z และ n ∈ N จะได้วา่
(1) a ≡ a (mod n)

(2) ถ้า a ≡ b (mod n) แล้ว b ≡ a (mod n)


(3) ถ้า a ≡ b (mod n) และ b ≡ c (mod n) แล้ว a ≡ c (mod n)
(4) ถ้า a ≡ b (mod n) แล้ว ac ≡ bc (mod n)
40 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
(5) ถ้า a ≡ b (mod n) และ c ≡ d (mod n) แล้ว a + c ≡ b + d (mod n)
(6) ถ้า a ≡ b (mod n) และ c ≡ d (mod n) แล้ว ac ≡ bd (mod n)
(7) ็
ให้ k เปนจำนวนเต็มบวกใดๆ ถ้า a ≡ b (mod n) แล้ว ak ≡ bk (mod n)
พิสจู น์
(1) เนือ่ งจาก a − a = 0 = n · 0 จึงได้วา่ n|(a − a) ดั งนั้ น a ≡ a (mod n)
(2) ให้ จะได้ วา่ n|(a − b) นั น่ คือ a − b = nk สำหรั บ บางจำนวนเต็ม k ทำให้ ได้ วา่
a ≡ b (mod n)
b − a = −nk = n(−k) และเนือ่ งจาก −k ∈ Z จึงได้วา่ n|(b − a) ดั งนั้ น b ≡ a (mod n)

(3) ให้ a ≡ b (mod n) และ b ≡ c (mod n) จะได้ วา่ n|(a − b) และ n|(b − c) นั น่ คือ a − b = nx และ
b − c = ny สำหรั บบางจำนวนเต็ม x, y ดั งนั้ น

a − c = (a − b) + (b − c) = nx + ny = n(x + y)

เนือ่ งจาก x + y ∈ Z จึงได้วา่ n|(a − c) ดั งนั้ น a ≡ c (mod n)


(4) ให้ a ≡ b (mod n) จะได้วา่ n|(a − b) นั น่ คือ a − b = nk สำหรั บบางจำนวน เต็ม k ดั งนั้ น
ac − bc = (a − b)c = (nk)c = n(kc)

เนือ่ งจาก kc ∈ Z จึงได้วา่ n|(ac − bc) ดั งนั้ น ac ≡ bc (mod n)


(5) ให้ a ≡ b (mod n) และ c ≡ d (mod n) จะได้ วา่ n|(a − b) และ n|(c − d) นั น่ คือ a − b = nx และ
c − d = ny สำหรั บบางจำนวนเต็ม x, y ดั งนั้ น

(a + c) − (b + d) = (a − b) + (c − d) = nx + ny = n(x + y)

เนือ่ งจาก x + y ∈ Z จึงได้วา่ n|[(a + c) − (b + d)] ดั งนั้ น a + c ≡ b + d (mod n)


(6) ให้ a ≡ b (mod n) และ c ≡ d (mod n) จะได้ วา่ n|(a − b) และ n|(c − d) นั น่ คือ a − b = nx และ
c − d = ny สำหรั บบางจำนวนเต็ม x, y ดั งนั้ น

ac − bd = ac − bc + bc − bd = (a − b)c + b(c − d) = nxc + bny = n(cx + by)

เนือ่ งจาก cx + by ∈ Z จึงได้วา่ n|(ac − bd) ดั งนั้ น ac ≡ bd (mod n)


(7) ็
ให้ k เปนจำนวนเต็
มบวกใดๆ สมมติให้ a ≡ b (mod n) จะได้ วา่ n|(a − b) นั น่ คือ a − b = nk สำหรั บ
บางจำนวนเต็ม k ดั งนั้ น
ak − bk = (a − b)(ak−1 + ak−2 b + ak−3 b2 + · · · + a2 bk−3 + abk−2 + bk−1 )
= nk(ak−1 + ak−2 b + ak−3 b2 + · · · + a2 bk−3 + abk−2 + bk−1 )

เนือ่ งจาก k(ak−1 + ak−2b + · · · + abk−2 + bk−1) ∈ Z จึงได้วา่ n|(ak − bk ) ดั งนั้ น ak ≡ bk (mod n) "
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 41

ตั วอย่างที่ 11 ให้ a ∈ Z จงพิสจู น์วา่ 3 | n2 ก็ตอ่ เมือ่ 3 | n

3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง


ระบบจำนวนจริง (the real number system) คือโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ทปี่ ระกอบด้วยเซต R ของ
จำนวนจริง และการดำเนินการระหว่างสองจำนวนใด ๆ ซึง่ ได้แก่การบวก (+) และการคูณ (× หรือ ·) รวมทั้ ง
ความสั มพั นธ์มากกว่า (>) ระหว่างสองจำนวนใด ๆ ในบางกรณี เราจะเขียนระบบจำนวนจริงในรูป
(R, +, ·, >)

เพือ่ เน้นให้เห็นว่า ระบบจำนวนจริงประกอบด้วยเซต R พร้อมทั้ งการดำเนินการและความ สั มพั นธ์ดังกล่าว สำ-


หรั บการดำเนินการและความสั มพั นธ์อนื่ ๆ เช่นการลบ, การหาร, <, ≥ จะสามารถนิยามได้จาก +, · และ > ดั ง
จะได้กล่าวถึงต่อไป
หมายเหตุ โดยทั ว่ ไปจะเขียนผลคูณของ x และ y ด้วย x × y หรือ x · y แต่ในบางกรณี จะเขียนย่อเปน็ xy
42 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
สั จพจน์ของระบบจำนวนจริง
สั จพจน์ของระบบจำนวนจริงมี 3 กลุม่ ได้แก่
• ็ จพจน์ทวี่ า่ ด้วยข้อตกลงพื้นฐานเกีย่ วกั บการบวก
สั จพจน์เชิงพีชคณิต (Algebraic Axioms) ซึง่ เปนสั
และการคูณในระบบจำนวนจริง
• สั จพจน์เชิง อั นดั บ (Order Axioms) ซึง่ ว่า ด้วยข้อ ตกลงพื้น ฐานเกีย่ วกั บ ความสั มพั นธ์ > ในระบบ
จำนวนจริง
• สั จพจน์ความบริบรู ณ์ (Completeness Axiom) เปนสั ็ จพจน์ทวี่ า่ ด้วยการมีขอบเขตบนน้อยสดุ (least
upper bound) ของสั บเซตของ R ทีไ่ ม่ใช่เซตว่างซึง่ มีขอบเขตบน (upper bound) สั จพจน์ข้อนี้เปน็
สั จพจน์ สำคั ญ ทีท่ ำให้ ระบบจำนวนจริง แตกต่างจากระบบจำนวนอืน่ เช่น ระบบจำนวนเต็ม หรือ
ระบบจำนวนตรรกยะ
ในบทนี้จะกล่าวถึงสั จพจน์ 2 กลุม่ แรก สำหรั บสั จพจน์ความบริบรู ณ์ จะกล่าวถึงในบทที่ 4
สั จพจน์เชงิ พีชคณิต
1. สมบั ตป ิ
ิ ดของการบวกและการคู ณ
∀x, y ∈ R, x + y ∈ R และ ∀x, y ∈ R, xy ∈ R
2. สมบั ตกิ ารสลั บทีข่ องการบวกและการคูณ
∀x, y ∈ R, x + y = y + x และ ∀x, y ∈ R, xy = yx
3. สมบั ตกิ ารเปลีย่ นหมูข่ องการบวกและการคูณ
∀x, y, z ∈ R, (x + y) + z = x + (y + z) และ ∀x, y, z ∈ R, (xy)z = x(yz)
4. สมบั ตกิ ารมีเอกลั กษณ์การบวกและเอกลั กษณ์การคูณ

มี 0 ∈ R ซึง่ ∀x ∈ R, x + 0 = 0 + x = x และ
มี 1 ∈ R ซึง่ ∀x ∈ R, x · 1 = 1 · x = x
5. สมบั ตกิ ารมีอนิ เวอร์สของการบวกและการคูณ
∀x ∈ R, ∃ y ∈ R, x + y = y + x = 0 และ ∀x ∈ R∗, ∃ y ∈ R, xy = yx = 1
ในทีน่ ้ ี R∗ = R − {0}
6. สมบั ตกิ ารแจกแจง
∀x, y, z ∈ R, x(y + z) = xy + xz และ (x + y)z = xz + yz
หมายเหตุ
• เรียกระบบจำนวนทีม ่ สี มบั ต ติ ามข้อ 1-6 ว่าฟ ลี ด์ (field) ซึง่ เปนโครงสร้
็ างเชิง พีชคณิต (algebraic
structure) อย่างหนึง่ ในวิชาพีชคณิต นามธรรม ดั ง นั้ น (R, +, ·) เปนฟ ็ ลี ด์ นอกจากนี้ จะเห็น ว่า
เซตของจำนวนตรรกยะและเซตของจำนวนเชิงซ้อนต่างมีสมบั ต สิ อดคล้องกั บ สั จพจน์ข้างต้น ดั ง นั้ น
(Q, +, ·) และ (C, +, ·) เปนฟ ็ ลด์ี เช่นกั น
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 43
• ในสั จพจน์ข้อ 4 เรียก 0 ว่า เอกลั กษณ์ การบวก (additive identity) และเรียก 1 ว่า เอกลั กษณ์ การ
คณู (multiplicative identity)
• ในสั จพจน์ข้อ 5 เรียก y ซึง่ x + y = y + x = 0 ว่า อินเวอร์ สการบวก (additive inverse) ของ x
และเมือ่ x %= 0 เรียก y ซึง่ xy = yx = 1 ว่า อินเวอร์ สการคณู (multiplicative inverse) ของ x
• ในระบบจำนวนจริง ยั งมีความจริงเกีย่ วกั บการบวกและการคูณ ซึง่ อาจถือเปนสั ็ จพจน์เพิม่ เติมทีน่ ำ
มาใช้ได้โดยไม่ต้องพิสจู น์ ได้แก่ สมบั ตกิ ารบวกและการคูณด้วยจำนวนทีเ่ ท่ากั น กล่าวคือ
∀x, y, z ∈ R ถ้า x = y แล้ว x + z = y + z และ xz = yz

ทฤษฎีบทต่อไปนี้มนี ั ยสำคั ญว่า เอกลั กษณ์การบวกมีได้ เพียงอย่างเดียวคือ 0 และ เอกลั กษณ์การคูณมี


ได้เพียงอย่างเดียวคือ 1 เท่านั้ น

ทฤษฎีบท 3 ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
(1) ถ้า a + b = a แล้ว b = 0
(2) ถ้า a %= 0 และ ab = a แล้ว b = 1
พิสจู น์ (1) สมมติวา่ a, b ∈ R โดยที่ a + b = a จากสั จพจน์ข้อ 5 มี c ซึง่ a + c = 0 และจะได้วา่
b=b+0 จากสั จพจน์ข้อ 4
= b + (a + c) จาก a + c = 0
= (b + a) + c จากสั จพจน์ข้อ 3
= (a + b) + c จากสั จพจน์ข้อ 2
=a+c จาก a + b = a
=0 จาก a + c = 0
ดั งนั้ น b = 0

(2) ให้ผ้อู า่ นพิสจู น์เปนแบบฝ ึ ด
กหั "


ทฤษฎีบท 4 ให้ a, b และ c เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
(1) ถ้า a + b = 0 และ a + c = 0 แล้ว b = c
(2) ถ้า ab = 1 และ ac = 1 แล้ว b = c

พิสจู น์ ข้อ (1) ให้ผ้อู า่ นพิสจู น์เปนแบบฝ ึ ด ในทีน่ ้ จี ะพิสจู น์ข้อ (2)
กหั
สมมติวา่ a, b, c ∈ R โดยที่ ab = 1 และ ac = 1 จะได้วา่
b=b·1 จากสั จพจน์ข้อ 4
= b(ac) จาก ac = 1
= (ba)c จากสั จพจน์ข้อ 3
44 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
= (ab)c จากสั จพจน์ข้อ 2
=1·c จาก ab = 1
=c จากสั จพจน์ข้อ 4
ดั งนั้ น b = c "

ทฤษฎีบท 4 (1) บ่งบอกว่าอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริง a มีได้เพียงหนึง่ เดียว เราจะใช้สัญลั กษณ์


−a แทนอินเวอร์สการบวกของ a ทีม ่ เี พียงหนึง่ เดียวนี้ ในทำนองเดียวกั น ทฤษฎีบท 4 (2) บ่งบอกว่า ถ้า a มี
อินเวอร์สการคูณ แล้วอินเวอร์สการคูณของ a มีได้ เพียงหนึง่ เดียว เราจะใช้ สัญลั กษณ์ a−1 แทนอินเวอร์สการ
คูณของ a ทีม่ เี พียงหนึง่ เดียวนั้ น จึงได้วา่
• ็ งซึง่ a + b = 0 แล้ว b = −a
ถ้า a และ b เปนจำนวนจริ
• ็ งซึง่ ab = 1 แล้ว b = a−1
ถ้า a และ b เปนจำนวนจริ
เพือ่ ความสะดวก ในการพิสจู น์ทฤษฎีบทต่าง ๆ หลั งจากนี้ เราอาจไม่ระบุสัจพจน์หรือเงือ่ นไขทีใ่ ช้อย่าง
ึ งเกตว่า ผลลั พธ์ในแต่ละขั้ น ตอนของการพิสจู น์ได้ มาด้วย
ละเอียดในทุก ขั้ น ตอน อย่างไรก็ตาม ผู้อา่ นควรฝกสั
เหตุผลใด

ทฤษฎีบท 5 ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
(1) −(−a) = a

(2) −(a + b) = (−a) + (−b)

(3) ถ้า a %= 0 แล้ว (a−1)−1 = a


(4) ถ้า a %= 0 และ b %= 0 แล้ว (ab)−1 = a−1b−1
พิสจู น์

(1) ็ นเวอร์สการบวกของ −a ดั งนั้ น a = −(−a)


เนือ่ งจาก (−a) + a = 0 แสดงว่า a เปนอิ
(2) เนือ่ งจาก
(a + b) + ((−a) + (−b)) = a + [b + ((−a) + (−b))]
= a + [((−a) + (−b)) + b]
= a + [(−a) + ((−b) + b)]
= a + [(−a) + 0]
= a + (−a)
=0

็ นเวอร์สการบวกของ a + b
ดั งนั้ น (a + b) + ((−a) + (−b)) = 0 แสดงว่า (−a) + (−b) เปนอิ
นั น่ คือ −(a + b) = (−a) + (−b)
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 45

(3) ็ นเวอร์สการคูณของ a−1


เนือ่ งจาก (a−1)a = 1 จึงได้วา่ a เปนอิ
ดั งนั้ น (a−1)−1 = a
(4) ให้ a %= 0 และ b %= 0 จะได้วา่
(ab)(a−1 b−1 ) = (ab)(b−1 a−1 )
= a(b(b−1 a−1 ))
= a((bb−1 )a−1 )
= a(1 · a−1 )
= aa−1
=1

็ นเวอร์สการคูณของ ab
ดั งนั้ น (ab)(a−1b−1) = 1 จึงได้วา่ a−1b−1 เปนอิ
นั น่ คือ (ab)−1 = a−1b−1 "

ทฤษฎีบท 6 สำหรั บจำนวนจริง a ใด ๆ จะได้วา่


(1) a · 0 = 0

(2) a(−1) = −a

พิสจู น์ (1) เนือ่ งจาก 0 = 0 + 0 จากสมบั ตกิ ารแจกแจง จะได้วา่


a · 0 = a(0 + 0) = a · 0 + a · 0

ดั งนั้ น a · 0 = a · 0 + a · 0 จากทฤษฎีบท 3 ข้อ (1) จึงได้วา่ a · 0 = 0


(2) เนือ่ งจาก 1 + (−1) = 0 ดั งนั้ น จากข้อ (1) ของทฤษฎีบทนี้ และจากสมบั ตกิ ารแจกแจง จะได้วา่
0 = a · 0 = a(1 + (−1)) = a · 1 + a(−1) = a + a(−1)
็ นเวอร์สการบวกของ a นั น่ คือ a(−1) = −a
ดั งนั้ น a + a(−1) = 0 จึงได้วา่ a(−1) เปนอิ "


ทฤษฎีบท 7 ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
a(−b) = −(ab) และ (−a)b = −(ab)

พิสจู น์ เนือ่ งจาก


a(−b) + ab = a((−b) + b) = a · 0 = 0
็ นเวอร์สการบวกของ ab นั น่ คือ a(−b) = −(ab)
ดั งนั้ น a(−b) เปนอิ
ในทำนองเดียวกั น สามารถแสดงได้วา่ (−a)b + ab = 0 จึงได้วา่ (−a)b = −(ab) "

็ ้ นฐานทีส่ ำคั ญซึง่ เราใช้ในการแก้สมการอยูเ่ สมอ


ทฤษฎีบท 8 และทฤษฎีบท 9 ดั งต่อไปนี้ เปนกฎพื

ทฤษฎีบท 8 ให้ a, b และ c เปนจำนวนจริ ง จะได้วา่
(1) ถ้า a + b = a + c แล้ว b = c (กฎการตั ดออกสำหรั บการบวก)

(2) ถ้า a %= 0 และ ab = ac แล้ว b = c (กฎการตั ดออกสำหรั บการคูณ)


46 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

พิสจู น์ ในทีน่ ้ จี ะพิสจู น์ข้อ (1) สำหรั บข้อ 2 ให้ผ้อู า่ นพิสจู น์เปนแบบฝ ึ ด
กหั
สมมติวา่ a + b = a + c นำ −a บวกทางซ้ายทั้ งสองข้างของสมการ จะได้
−a + (a + b) = −a + (a + c)
(−a + a) + b = (−a + a) + c
0+b=0+c
b=c
"


ทฤษฎีบท 9 ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
ง ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0
พิสจู น์ สมมติวา่ ab = 0 จะแสดงว่า a = 0 หรือ b = 0
เนือ่ งจากข้อความ “a = 0 หรือ b = 0” สมมูลกั บข้อความ “ถ้า a %= 0 แล้ว b = 0” เราจะแสดงว่า ถ้า a %= 0
แล้ว b = 0
สมมติวา่ a %= 0 จาก ab = 0 นำ a−1 คูณทางซ้ายทั้ งสองข้าง จะได้
a−1 (ab) = a−1 · 0
(a−1 a)b = 0 (จากทฤษฎีบท 6 (1))
1·b=0
b=0

ดั งนั้ น สรุปได้วา่ ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0 "

การลบและการหาร
ทีผ่ า่ นมา ในทฤษฎีบท 3-9 การดำเนินการระหว่างจำนวนจริงทีเ่ ราพิจารณามีเพียงการบวกและการคูณ
สั งเกตว่าในทีน่ ้ ี −a คือสั ญลั กษณ์แทนอินเวอร์สการบวกของ a เท่านั้ น โดยเรายั งไม่ได้กล่าวถึงการลบและการ
หาร ซึง่ การดำเนินการทั้ งสองแบบนี้ สามารถนิยามได้จากการบวกและอินเวอร์สการบวก รวมทั้ งการคูณและอิน
เวอร์สการคูณ ดั งนี้

บทนิยาม ให้ a และ b เปนจำนวนจริ

• ผลต่ าง (difference) หรือผลลบ a − b นิยามโดย
a − b = a + (−b)

• ถ้า b %= 0 ผลหาร (quotient) ab นิยามโดย


a
= a(b−1 )
b
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 47
จากบทนิยามข้างต้น จะได้วา่ ถ้า b %= 0 แล้ว
1
b−1 = 1(b−1 ) =
b

ดั งนั้ น b−1 = 1b และจะได้วา่


a 1
= a(b−1 ) = a ·
b b
นั น่ คือ ab = a · 1b นอกจากนี้ ยั งมีข้อสรุปพื้นฐานอืน่ ๆ เกีย่ วกั บการลบและการหาร ดั งเช่นตั วอย่างต่อไปนี้

ตั วอย่างที่ 12 ให้ a, b และ c เปนจำนวนจริ
ง จงแสดงว่า a − (b − c) = (a − b) + c
พิสจู น์ เนือ่ งจาก
a − (b − c) = a + (−(b − c)) จากบทนิยามของการลบ
= a + (−(b + (−c))) จากบทนิยามของการลบ
= a + (−b + (−(−c))) จากทฤษฎีบท 5 (2)
= a + (−b + c) จากทฤษฎีบท 5 (1)
= (a + (−b)) + c จากสั จพจน์ข้อ 3
= (a − b) + c จากบทนิยามของการลบ
ดั งนั้ น a − (b − c) = (a − b) + c "


ตั วอย่างที่ 13 ให้ a, b, c และ d เปนจำนวนจริ
ง โดยที่ b %= 0 และ d %= 0 จงแสดงว่า
a
b ad
c =
cb
d

พิสจู น์ เนือ่ งจาก


a
a(b−1 )
b
c =
c(d−1 )
จากบทนิยามของการหาร
d
= a(b−1 )(c(d−1 ))−1 จากบทนิยามของการหาร
= a(b−1 )(c−1 (d−1 )−1 ) จากทฤษฎีบท 5 (4)
= a(b−1 )(c−1 d) จากทฤษฎีบท 5 (3)
= (ad)(b−1 c−1 ) จากสั จพจน์ข้อ 2 และข้อ 3
= (ad)(bc)−1 จากทฤษฎีบท 5 (4)
ad
=
cb
จากบทนิยามของการหาร
a
ad
ดั งนั้ น b
c =
cb
"
d
48 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
ผู้อา่ นบางคนอาจเข้าใจว่า ข้อสรุปต่าง ๆ ในทฤษฎีบท 3-9 และตั วอย่างที่ 12-13 เปนความจริ ็ งทีเ่ ห็น
็ องมีคำอธิบายหรือ การพิสจู น์ ทีร่ ้สู กึ เช่น นั้ น อาจมีสาเหตุมาจากการเชือ่ หรือ
ได้ ชัดเจนอยูแ่ ล้ว โดยไม่จำเปนต้

ยอมรั บและใช้ ข้อสรุปเหล่านั้ นด้วยความคุ้นเคยมาเปนเวลานาน โดยไม่คำนึงถึงทีม่ าทีไ่ ปอย่างแท้จริง แต่ในที่
็ งเพราะเหตุใด โดยใช้ วธิ กี ารพิสจู น์ตามหลั กคณิตศาสตร์ ซึง่
นี้เราได้ แสดงให้ เห็นแล้วว่า ข้อสรุปเหล่านั้ นเปนจริ
อาศั ยสั จพจน์ บทนิยาม ทฤษฎีบท และการอ้างเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล
ต่อ ไปจะกล่าวถึงสั จพจน์ เชงิ อั นดั บ ซึง่ ในทีน่ ้ หี มายถึง สั จพจน์ ท เี่ กีย่ วกั บ การเปรียบเทียบจำนวนสอง
จำนวนในเชิงมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากั บ เปนต้็ น

บทนิยาม ให้ a และ b เปนจำนวนจริ

• จะกล่าวว่า a มากกว่ า 0 ซึง่ เขียนแทนด้วย a > 0 ก็ตอ่ เมือ่ a ∈ R+


• จะกล่าวว่า a มากกว่า b ซึง่ เขียนแทนด้วย a > b ก็ตอ่ เมือ่ a − b > 0
• จะกล่าวว่า a น้อยกว่า b ซึง่ เขียนแทนด้วย a < b ก็ตอ่ เมือ่ b > a
• จะกล่าวว่า a มากกว่ าหรือเท่ ากั บ b ซึง่ เขียนแทนด้วย a ≥ b ก็ตอ่ เมือ่ a > b หรือ a = b
• จะกล่าวว่า a น้ อยกว่ าหรือเท่ ากั บ b ซึง่ เขียนแทนด้วย a ≤ b ก็ตอ่ เมือ่ b ≥ a

สั จพจน์เชงิ อั นดั บ
1. ∀x, y ∈ R, ถ้า x > 0 และ y > 0 แล้ว x + y > 0
2. ∀x, y ∈ R, ถ้า x > 0 และ y > 0 แล้ว xy > 0
3. สมบั ตไิ ตรวิภาค (Trichotomy property)
∀x ∈ R, x > 0 หรือ x = 0 หรือ x < 0 อย่างใดอย่างหนึง่ เพียงอย่างเดียวเท่านั้ น

ข้อสั งเกต

(1) จากสมบั ตไิ ตรวิภาค เราได้วา่ สำหรั บจำนวนจริง a, b ใด ๆ เนือ่ งจาก a − b ∈ R จึงได้วา่

a−b>0 หรือ a − b = 0 หรือ a − b < 0 อย่างใดอย่างหนึง่ เพียงอย่างเดียวเท่านั้ น

นั น่ คือ ∀a, b ∈ R,
a > b หรือ a = b หรือ a < b อย่างใดอย่างหนึง่ เพียงอย่างเดียวเท่านั้ น (&)

็ ง แล้วเมือ่ แทน a
ดั งนั้ น สมบั ตไิ ตรวิภาคส่งผลให้ ได้ ข้อความ (&) ในทางกลั บกั น ถ้าข้อความ (&) เปนจริ
ด้วย x และแทน b ด้วย 0 จะได้สมบั ตไิ ตรวิภาคในสั จพจน์ข้อ 3 แสดงว่า ข้อความข้างต้นสมมูลกั บสมบั ต ิ
ไตรวิภาค ในตำราบางเล่มจึงกล่าวถึงสมบั ตไิ ตรวิภาคในรูปข้อความ (&)
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 49

(2) ข้อความ (&) ยั งสมมูลกั บข้อความต่อไปนี้


∀a, b ∈ R, ถ้า a ≥ b และ a ≤ b แล้ว a = b (&&)

(ให้ ผ้ อ
ู า่ นอธิบายด้วยตนเองว่าเพราะเหตุใด) ซึง่ ในบางกรณี จะใช้ ข้อความ (&&) เพือ่ แสดงว่าจำนวนจริง
สองจำนวนมีคา่ เท่ากั น

ทฤษฎีบท 10 ให้ a เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
(1) ถ้า a > 0 แล้ว −a < 0

(2) ถ้า a < 0 แล้ว −a > 0

พิสจู น์
(1) ให้ a > 0 จะแสดงว่า −a < 0 นั น่ คือจะแสดงว่า 0 > −a จากบทนิยาม เราจึงต้องแสดงว่า 0 − (−a) > 0
เนือ่ งจาก
0 − (−a) = 0 + (−(−a)) = 0 + a = a
ดั งนั้ น 0 − (−a) = a และเนือ่ งจาก a > 0 จึงได้วา่ 0 − (−a) > 0 จึงสรุปได้วา่ 0 > −a นั น่ คือ −a < 0
(2) ็
ให้ผ้อู า่ นพิสจู น์เปนแบบฝ ึ ด
กหั "

ทฤษฎีบทต่อไปนี้เปนกฎพื
้ นฐานทีเ่ ราใช้ในการแก้อสมการอยูเ่ สมอ

ทฤษฎีบท 11 ให้ a, b และ c เปนจำนวนจริ
ง จะได้วา่
(1) ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c (กฎการถ่ายทอด)

(2) ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c (กฎการบวกด้วยจำนวนทีเ่ ท่ากั น)

(3) (3.1) ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc

(3.2) ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc ็ นย์)


(กฎการคูณด้วยจำนวนทีเ่ ท่ากั นซึง่ ไม่เปนศู

พิสจู น์
(1) สมมติวา่ a > b และ b > c จากบทนิยามจะได้วา่ a − b > 0 และ b − c > 0 โดยสั จพจน์เชิงอั นดั บ ข้อ 1

เราจะได้วา่ (a − b) + (b − c) > 0 เนือ่ งจาก (a − b) + (b − c) = a − c (ให้ผ้อู า่ นแสดงเปนแบบฝ ึ ด)
กหั
จึงได้วา่ a − c > 0 นั น่ คือ a > c
(2) ็
ให้ a > b จากบทนิยามจะได้วา่ a − b > 0 เนือ่ งจาก a − b = (a + c) − (b + c) (ให้ผ้อู า่ นแสดงเปนแบบ
ึ ด) จึงได้วา่ (a + c) − (b + c) > 0 ดั งนั้ น โดยบทนิยาม เราได้วา่ a + c > b + c
ฝกหั
(3) ็
เราจะพิสจู น์ (3.1) สำหรั บ (3.2) ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด
กหั
สมมติวา่ a > b และ c > 0 จาก a > b จะได้วา่ a − b > 0 ดั งนั้ น จากสั จพจน์เชิงอั นดั บ ข้อ 2 เราได้วา่
(a − b)c > 0 และเนือ่ งจาก

(a − b)c = (a + (−b))c = ac + (−b)c = ac + (−(bc)) = ac − bc

ดั งนั้ น (a − b)c = ac − bc จาก (a − b)c > 0 จึงได้วา่ ac − bc > 0 นั น่ คือ ac > bc "
50 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
็ ง หากเปลีย่ นเครือ่ งหมาย > เปน็ <, ≥ หรือ ≤
หมายเหตุ เราสามารถแสดงได้วา่ ทฤษฎีบท 11 ทุกข้อยั งเปนจริ
ทฤษฎีบท 12 สำหรั บจำนวนจริง a ใด ๆ a2 ≥ 0

็ ็
งใด ๆ จากสมบั ตไิ ตรวิภาค จะมีความเปนไปได้
พิสจู น์ ให้ a เปนจำนวนจริ 3 กรณี ดั งนี้

กรณีท ี่ 1: a>0 จากสั จพจน์เชิงอั นดั บข้อ 1 จะได้ a2 = a · a > 0


กรณีท ี่ 2: a=0 จะได้ a2 = 0 · 0 = 0
กรณีท ี่ 3: a < 0 จากทฤษฎีบท 10 (2) จะได้ −a > 0 ดั ง นั้ น จากสั จพจน์เชิง อั นดั บ ข้อ 1 จะได้
(−a)(−a) > 0 และเนือ่ งจาก

(−a)(−a) = −(a(−a)) = −(−(aa)) = aa = a2

จึงได้วา่ a2 > 0
เนือ่ งจาก a2 ≥ 0 ในทุกกรณี จึงสรุปได้วา่ a2 ≥ 0 สำหรั บทุกจำนวนจริง a "

ตั วอย่างที่ 14 จงแสดงว่า สำหรั บทุกจำนวนจริง x และ y


x2 + y 2 ≥ 2xy

พิสจู น์ ให้ x, y ∈ R จะได้วา่ x − y ∈ R ดั งนั้ น จากทฤษฎีบท 12 และทฤษฎีบท 11 (2)


(x − y)2 ≥ 0
x2 − 2xy + y 2 ≥ 0
(x2 − 2xy + y 2 ) + 2xy ≥ 0 + 2xy
x2 + y 2 ≥ 2xy
"
ผลลั พธ์ในตั วอย่างที่ 14 ส่งผลให้ ได้ อสมการทีส่ ำคั ญ เช่น อสมการเลขคณิต-เรขาคณิต (Arithmetic-
Geometric Mean Inequality) และอสมการโคชี-ชวาร์ซ (Cauchy-Schwarz Inequality) เปนต้ ็ น (ดูแบบ
ึ ดท้ายบท ข้อ 11 และ 19)
ฝกหั
็ ง โดยที่ a, b ∈ [0, ∞) จะได้วา่
บทตั้ง 1 ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
a2 ≤ b 2 ก็ตอ่ เมือ่ a ≤ b
็ ง โดยที่ a, b ∈ [0, ∞)
พิสจู น์ ให้ a และ b เปนจำนวนจริ
(⇒) สมมติวา่ a2 ≤ b2 จะได้ a2 − b2 ≤ 0 นั น่ คือ
(a − b)(a + b) ≤ 0

กรณีท ี่ 1 : a=0 ็ ง
และ b = 0 จะได้ a ≤ b เนือ่ งจาก 0 ≤ 0 เปนจริ
3.5 ตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริง 51

กรณีท ี่ 2 : a %= 0หรือ b %= 0 เนือ่ งจาก a, b ∈ [0, ∞) จึงได้วา่ a + b > 0 จาก (a + b)(a − b) ≥ 0 นำ


(a + b)−1 คูณทางซ้ายทั้ งสองข้างของอสมการ จะได้ a − b ≥ 0 ดั งนั้ น a ≥ b

ึ ดท้ายบท
หมายเหตุ: ในกรณีท ี่ 2 เราใช้ ข้อเท็จจริงทีว่ า่ ถ้า a + b > 0 แล้ว (a + b)−1 > 0 (ดูแบบฝกหั
ข้อ 10 (7))
(⇐) สมมติวา่ a ≥ b จะได้ a − b ≥ 0 เนือ่ งจาก a + b ≥ 0 เมือ่ นำ a + b คูณตลอดอสมการ จะได้ a2 − b2 ≥ 0
ดั งนั้ น a2 ≥ b2 "

ค่าสั มบรู ณ์
บทนิยาม สำหรั บแต่ละ x ∈ R ค่ าสั มบ ูรณ์ (absolute value) ของ x เขียนแทนด้วย |x| โดยที่
(
|x| =
x, เมือ่ x ≥ 0
−x, เมือ่ x < 0

ทฤษฎีบท 13 ให้ x, y และ z เปนจำนวนจริ
งใด ๆ จะได้วา่
(1) |x| ≥ 0 และ |x| ≥ x
(2) |xy| = |x||y|

(3) |x2 | = |x|2 = x2


) )
) x ) |x|
(4) )) )) =
y |y|
เมือ่ y %= 0

(5) อสมการอิงรูปสามเหลีย่ ม (triangle inequality)


|x + y| ≤ |x| + |y|


พิสจู น์ ข้อ (1)-(4) สามารถพิสจู น์ได้ งา่ ยโดยการแจงกรณี (ให้ ผ้ อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด) ในทีน่ ้ เี ราจะพิสจู น์
กหั
อสมการอิงรูปสามเหลีย่ ม สั งเกตว่า
|x + y|2 = (x + y)2 จากข้อ (3)
= x2 + 2xy + y 2
= |x|2 + 2xy + |y|2 จากข้อ (3)
≤ |x|2 + 2|xy| + |y|2 เนือ่ งจาก xy ≤ |xy| จากข้อ (1)
≤ |x|2 + 2|x||y| + |y|2 เนือ่ งจาก |xy| = |x||y| จากข้อ (2)
= (|x| + |y|)2

ดั งนั้ น |x+y|2 ≤ (|x|+|y|)2 เนือ่ งจาก |x+y| ≥ 0 และ |x|+|y| ≥ 0 จากบทตั้ ง 1 จึงได้วา่ |x+y| ≤ |x|+|y|
"
52 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต


ทีผ่ า่ นมานั กเรียนอาจได้ ศกึ ษาแนวคิด เบื้องต้น เกีย่ วกั บ เซตมาแล้ว แต่อาจยั ง ไม่ได้ พสิ จู น์ความจริง พื้น
ฐานบางประการเกีย่ วกั บเซตมาก่อน ต่อไปนี้เราจะกล่าวถึงตั วอย่างการพิสจู น์ข้อเท็จจริงเกีย่ วกั บเซต โดยเฉพาะ
การพิสจู น์ความเปนสั ็ บเซต และการเท่ากั นของเซต
็ บเซต
การพิสจู น์ความเปนสั

จากความรู้เบื้องต้นเรือ่ งเซต เราทราบว่า A ⊂ B ก็ตอ่ เมือ่ ทุกสมาชิกของ A เปนสมาชิ
กของ B นั น่ คือ
A⊂B ก็ตอ่ เมือ่ ∀x ∈ A, x ∈ B

ซึง่ จากข้อตกลงเกีย่ วกั บ ∀ และประพจน์แบบมีเงือ่ นไข ข้อความข้างต้นมีความหมายเดียวกั บข้อความ


A⊂B ก็ตอ่ เมือ่ ถ้า x ∈ A แล้ว x ∈ B
ดั งนั้ น ในการพิสจู น์วา่ A ⊂ B เราจะพิสจู น์วา่ ถ้า x ∈ A แล้ว x ∈ B ซึง่ อาจจะพิสจู น์โดยตรง หรือพิสจู น์
โดยข้อความแย้งสลั บที่ ขึ้นอยูก่ ั บความเหมาะสม
ตั วอย่างที่ 15 ให้ A = {x ∈ Z : 6 | x} และ B = {x ∈ Z : 3 | x}
จงแสดงว่า A ⊂ B
พิสจู น์

็ จะได้วา่
ทฤษฎีบท 14 ให้ A และ B เปนเซต
(1) ∅ ⊂ A

(2) A ⊂ A

(3) A ⊂ A ∪ B

(4) A ∩ B ⊂ A

(5) ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C



พิสจู น์ ข้อ (1)-(3) ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด ในทีน่ ้ เี ราจะพิสจู น์ข้อ (4)-(5)
กหั
(4) ให้ x ∈ A ∩ B จะได้วา่ x ∈ A และ x ∈ B ดั งนั้ น x ∈ A (ใช้หลั กการอ้างเหตุผล ตามทฤษฎีบทหน้า 40
ข้อ (3))
(5) สมมติวา่ A ⊂ B และ B ⊂ C จะแสดงว่า A ⊂ C
ให้ x ∈ A เนือ่ งจาก A ⊂ B จึงได้วา่ x ∈ B และเนือ่ งจาก B ⊂ C จึงได้วา่ x ∈ C ดั งนั้ น A ⊂ C "
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 53
็ จงแสดงว่า P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B)
ตั วอย่างที่ 16 ให้ A และ B เปนเซต
พิสจู น์

หมายเหตุ ในกรณีทัว่ ไป P(A ∪ B) อาจไม่เปนสั ็ บเซตของ P(A) ∪ P(B) ตั วอย่างเช่น ถ้า A = {1}, B = {2}
จะได้ A ∪ B = {1, 2} ซึง่ จะเห็นว่า {1, 2} ∈ P(A ∪ B) แต่ {1, 2} ∈/ P(A) ∪ P(B) ดั งนั้ น
P(A ∪ B) %⊂ P(A) ∪ P(B)

ตั วอย่างที่ 17 จงแสดงว่า ถ้า P(A) ⊂ P(B) แล้ว A ⊂ B


พิสจู น์

การพิสจู น์การเท่ากั นของเซต


จากบทที่ 2 เราให้ความหมายของ A = B ว่า A = B ก็ตอ่ เมือ่ A และ B ประกอบด้วยสมาชิกทีเ่ หมือน
กั น จากบทนิยามดั งกล่าว จะเห็นได้วา่
A=B ก็ตอ่ เมือ่ x∈A ก็ตอ่ เมือ่ x ∈ B
นั น่ คือ
A=B ก็ตอ่ เมือ่ ถ้า x ∈ A แล้ว x ∈ B และ ถ้า x ∈ B แล้ว x ∈ A
แสดงว่า
A=B ก็ตอ่ เมือ่ A⊂B และ B ⊂ A
ดั งนั้ น ในการพิสจู น์วา่ A ⊂ B เราอาจทำได้ โดยการแสดงว่า A ⊂ B และ B ⊂ A (หรือ A ⊃ B) การ
็ บเซต
พิสจู น์วา่ A = B จึงคล้ายกั บการพิสจู น์ข้อความทีม่ ตี ั วเชือ่ ม “ก็ตอ่ เมือ่ ” กล่าวคือ มีการพิสจู น์ความเปนสั
สองทาง โดยมีการพิสจู น์ ⊂ (พิสจู น์วา่ A ⊂ B) และการพิสจู น์ ⊃ (พิสจู น์วา่ B ⊂ A)
54 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
ตั วอย่างที่ 18 ให้ A = {2x + 3y | x, y ∈ Z} จงพิสจู น์วา่ A = Z
พิสจู น์


ทฤษฎีบทต่อไปนี้เปนกฎพื ็ างดี
้ นฐานเกีย่ วกั บการเท่ากั นของเซต ซึง่ นั กเรียนควรทราบเปนอย่
็ และ U คือเอกภพสั มพั ทธ์ จะได้วา่
ทฤษฎีบท 15 ให้ A, B, C เปนเซต
(1) A = A ∪ A และ A = A ∩ A
(2) A ∪ U = U และ A ∩ U = A
(3) A ∪ ∅ = A และ A ∩ ∅ = ∅
(4) A ∪ Ac = U และ A ∩ Ac = ∅
(5) (Ac )c = A

(6) A ∪ B = B ∪ A และ A ∩ B = B ∩ A (กฎการสลั บที)่

(7) (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C)
(A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C) (กฎการเปลีย่ นหมู)่

(8) A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)
A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) (กฎการแจกแจง)

(9) (A ∪ B)c = Ac ∩ B c และ (A ∩ B)c = Ac ∪ B c (กฎเดอมอร์แกน)

(10) A − B = A ∩ B c
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 55

พิสจู น์ จะพิสจู น์ข้อ (5) และข้อความแรกในข้อ (8) สำหรั บข้อทีเ่ หลือให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด
กหั
(5) จะเห็นได้งา่ ยว่า x∈
/A ก็ตอ่ เมือ่ x ∈ Ac จึงได้วา่ x ∈ A ก็ตอ่ เมือ่ x ∈/ Ac ดั งนั้ น
(Ac )c = {x ∈ U | x ∈
/ Ac }
= {x ∈ U | x ∈ A}
=A

นั น่ คือ (Ac)c = A
(8 (ข้อความแรก)) พิจารณา
A ∪ (B ∩ C) = {x ∈ U | x ∈ A หรือ x ∈ B ∩ C}
= {x ∈ U | x ∈ A หรือ (x ∈ B และ x ∈ B)}
= {x ∈ U | (x ∈ A หรือ x ∈ B) และ (x ∈ A หรือ x ∈ C)}
= {x ∈ U | (x ∈ A ∪ B) และ (x ∈ A ∪ C)}
= (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)

ดั งนั้ น A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C) "

็ จงแสดงว่า
ตั วอย่างที่ 19 ให้ A, B, C เปนเซต
(A ∪ B) − (A ∩ B) = (A − B) ∪ (B − A)

พิสจู น์

หมายเหตุ จะเห็นว่าทีผ่ า่ นมา เราแสดงการเท่ากั นของเซตโดยใช้ 3 วิธ ี ได้แก่


• แสดงว่า A = B โดยแสดงว่า A ⊂ B และ B ⊂ A เช่นในตั วอย่างที่ 15
• ใช้บทนิยามในการแปลงเซตสองเซตให้เท่ากั น เช่นในบทพิสจู น์ทฤษฎีบท 15 ข้อ 8
• ใช้กฎการเท่ากั นของเซตในทฤษฎีบท 15 ในการแปลงเซตสองเซตให้เท่ากั น เช่นในตั วอย่างที่ 19
56 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
ตั วอย่างที่ 20 จงพิสจู น์วา่ A ∩ B = A ∪ B ก็ตอ่ เมือ่ A = B
พิสจู น์


ทฤษฎีบท 16 ให้ A และ B เปนเซตใด ๆ จะได้วา่ ข้อความต่อไปนี้สมมูลกั น
(1) A ⊂ B

(2) A ∩ B = A

(3) A ∪ B = B

(4) A − B = ∅

(5) B c ⊂ Ac

หมายเหตุ ในทีน่ ้ ี คำกล่าวทีว่ า่ “ข้อความต่อไปนี้สมมูลกั น” (the following are equivalent: TFAE) หมาย
ถึง ข้อความ (1)-(5) สองข้อความใด ๆ สมมูลซึง่ กั นและกั น นั น่ คือ
(1) ⇔ (2) ⇔ (3) ⇔ (4) ⇔ (5)

ซึง่ ในการพิสจู น์ เราอาจพิสจู น์ (1) ⇒ (2) และ (2) ⇒ (3) และ (3) ⇒ (4) และ (4) ⇒ (5) และ (5) ⇒ (1)
หรือพิสจู น์การสมมูลระหว่างข้อความ 5 คูอ่ นื่ ๆ ก็ได้ เพือ่ ให้ได้วา่ ข้อความทั้ งหมดสมมูลกั น
พิสจู น์
(1) ⇒ (2) : สมมติวา่ A ⊂ B
จะแสดงว่า A ∩ B = A โดยแสดงว่า A ∩ B ⊂ A และ A ⊂ A ∩ B
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 57
(⊂) ให้ x ∈ A ∩ B จะได้วา่ x ∈ A และ x ∈ B
โดยหลั กการอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล (p ∧ q 1 p) สรุปได้วา่ x ∈ A
(หรือเราสามารถอ้างทฤษฎีบท 14 ข้อ (4) ได้เลยว่า A ∩ B ⊂ A)
(⊃) ให้ x ∈ A จากข้อสมมติ A ⊂ B จะได้วา่ x ∈ B
ดั งนั้ น x ∈ A และ x ∈ B จึงสรุปได้วา่ x ∈ A ∩ B
(2) ⇒ (3) : สมมติวา่ A ∩ B = A
จะแสดงว่า A ∪ B = B โดยแสดงว่า A ∪ B ⊂ B และ B ⊂ A ∪ B
(⊂) ให้ x ∈ A ∪ B จะได้วา่ x ∈ A หรือ x ∈ B
กรณีท ี่ 1 : x ∈ A จากข้อสมมติ A ∩ B = A จะได้วา่ x ∈ A ∩ B
ดั งนั้ น x ∈ B
กรณีท ี่ 2 : x ∈ B เราได้โดยอั ตโนมั ตวิ า่ x ∈ B
(⊃) ให้ x ∈ B โดยหลั กการอ้างเหตุผลทีส่ มเหตุสมผล (p 1 p ∨ q)
สรุปได้วา่ x ∈ A หรือ x ∈ B ดั งนั้ น x ∈ A ∪ B
(หรือเราสามารถอ้างทฤษฎีบท 14 ข้อ (3) ได้เลยว่า B ⊂ A ∪ B)

(3) ⇒ (4) : สมมติวา่ A ∪ B = B จะแสดงว่า A − B = ∅


พิจารณา
A − B = {x ∈ U | x ∈ A แต่ x ∈/ B}
= {x ∈ U | x ∈ A แต่ x ∈ / A ∪ B} (จาก A ∪ B = B)
= {x ∈ U | x ∈ A แต่ x ∈ / A และ x ∈ / B} (จาก A ∪ B = B)
= ∅ (เนือ่ งจากไม่ม ี x ∈ U ซึง่ x ∈ A แต่ x ∈
/ A)

ดั งนั้ น A − B = ∅
(4) ⇒ (5) : จะแสดงว่า ถ้า A − B = ∅ แล้ว B c ⊂ Ac โดยจะพิสจู น์แบบแย้งสลั บที่
นั น่ คือ จะแสดงว่า ถ้า B c %⊂ Ac แล้ว A − B %= ∅
สมมติวา่ B c %⊂ Ac ดั งนั้ น มี x ∈ B c ซึง่ x ∈/ Ac
นั น่ คือ มี x ∈/ B ซึง่ x ∈ A ทำให้ได้วา่ มี x ∈ A − B ดั งนั้ น A − B %= ∅
(5) ⇒ (1) : สมมติวา่ B c ⊂ Ac จะแสดงว่า A ⊂ B
ให้ x ∈ A จะได้วา่ x ∈/ Ac
จาก B c ⊂ Ac เราได้วา่ ถ้า x ∈/ Ac แล้ว x ∈/ B c
จาก x ∈/ Ac จึงได้วา่ x ∈/ B c ดั งนั้ น x ∈ B "
58 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

ทฤษฎีบท 17 ให้ A, B และ C เปนเซตใด ๆ จะได้วา่
(1) A × (B ∪ C) = (A × B) ∪ (A × C)

(2) A × (B ∩ C) = (A × B) ∩ (A × C)

(3) A × (B − C) = (A × B) − (A × C)

พิสจู น์
(1) เนือ่ งจาก
A × (B ∪ C) = {(x, y) | x ∈ A และ y ∈ B ∪ C}
= {(x, y) | x ∈ A และ (y ∈ B หรือ y ∈ C)}
= {(x, y) | (x ∈ A และ y ∈ B) หรือ (x ∈ A และ y ∈ C)}
= {(x, y) | (x, y) ∈ A × B หรือ (x, y) ∈ A × C}
= (A × B) ∪ (A × C)

ดั งนั้ น A × (B ∪ C) = (A × B) ∪ (A × C)
(2) ็
ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด
กหั
(3) เราจะแสดงว่า
A × (B − C) ⊂ (A × B) − (A × C) และ (A × B) − (A × C) ⊂ A × (B − C)

(⊂) ให้ (x, y) ∈ A × (B − C)


จะได้วา่ x ∈ A และ y ∈ B − C นั น่ คือ x ∈ A และ y ∈ B แต่ y ∈/ C
ดั งนั้ น x ∈ A และ y ∈ B และ x ∈ A แต่ y ∈/ C
จึงได้วา่ (x, y) ∈ A × B แต่ (x, y) ∈/ A × C นั น่ คือ (x, y) ∈ A × B − A × C
(⊃) ให้ (x, y) ∈ (A × B) − (A × C)
จะได้วา่ (x, y) ∈ A × B แต่ (x, y) ∈/ (A × C)
นั น่ คือ x ∈ A และ y ∈ B แต่ x ∈/ A หรือ y ∈/ C
จาก x ∈ A และ y ∈ B จะได้ x ∈ A (ใช้หลั กการอ้างเหตุผล p ∧ q 1 p)
จาก x ∈ A แต่ x ∈/ A หรือ y ∈/ C จะได้ y ∈/ C (ใช้หลั กการอ้างเหตุผล p, ∼ p∨ ∼ q 1∼ q) ดั ง
นั้ น จะได้ y ∈ B และ y ∈/ C นั น่ คือ y ∈ B − C
เราจึงได้วา่ (x, y) ∈ A × (B − C) "

สั งเกตว่า ในทีน่ ้ เี ราจะกล่าวถึงสมาชิกในผลคูณคาร์ทเี ซียนในรูปคูอ่ ั นดั บ เช่น (x, y) ∈ A × B ไม่ใช่


x ∈ A × B การใช้ สัญลั กษณ์ทเี่ หมาะสมเพือ่ แทนสงิ่ ทีพ ็ กษะสำคั ญอย่างหนึง่ ทีผ่ ้ อู า่ นควรเรียนรู้
่ จิ ารณา เปนทั

และฝกฝน
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 59
ึ ดบทที่ 3
แบบฝกหั

1. ให้ x ∈ Z จงพิสจู น์วา่


1.1 ็
ถ้า x เปนจำนวนคู ่ แล้ว 9x + 9 เปนจำนวนคี ็ ่
1.2 ็
ถ้า x เปนจำนวนคู ่ แล้ว 9x − 9 เปนจำนวนคี ็ ่
1.3 ็
ถ้า x2 + 4x + 5 เปนจำนวนคู ็
แ่ ล้ว x เปนจำนวนคี ่
1.4 ็
9x − 8 เปนจำนวนคู ็
ก่ ต็ อ่ เมือ่ x เปนจำนวนคู ่
1.5 ็
9x − 8 เปนจำนวนคี ็
ก่ ต็ อ่ เมือ่ x2 + 9 เปนจำนวนคู ่
2. ให้ a, b, c ∈ Z จงพิสจู น์วา่
2.1 a2 + a ็
เปนจำนวนคู ่
2.2 ็
ถ้า ab เปนจำนวนคี ็
่ แล้ว a2 + b2 เปนจำนวนคู ่
2.3 ็
ถ้า a + b เปนจำนวนคู ่ แล้ว a และ b มีภาวะความเปนคู ็ -่ คี่ (parity) เหมือนกั น
2.4 ็
ถ้า ab และ a + b มี parity เหมือนกั น แล้ว a และ b เปนจำนวนคู ่
2.5 ็
ถ้า a และ c เปนจำนวนคี ็
่ แล้ว ab + bc เปนจำนวนคู ่
3. ให้ a, b, c ∈ Z จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี้
3.1 ให้ a %= 0 ถ้า a|b แล้ว a2|b2
3.2 ให้ a %= 0 และ b %= 0 ถ้า a|b และ b|a แล้ว a = b หรือ a = −b
3.3 ถ้า 3 ! a และ 3 ! b แล้ว 3|(a2 − b2)
3.4 ให้ a %= 0 ถ้า a ! bc แล้ว a ! b และ a ! c
3.5 3|(2a2 + 1) ก็ตอ่ เมือ่ 3 ! a
3.6 2|(n4 − 3) ก็ตอ่ เมือ่ 4|(n2 + 3)

4. ็
ให้ a, b, c เปนจำนวนเต็ ็
ม จงพิสจู น์วา่ |a − b| + |b − c| + |c − a| เปนจำนวนคู ่
5. ็
ให้ d1d2 . . . dn เปนจำนวนในระบบตั ็
วเลขฐาน 10 โดยที่ d1, d2, . . . , dn เปนเลขโดด
จงแสดงว่า d1d2 . . . dn ≡ 0 (mod 3) ก็ตอ่ เมือ่ d1 + d2 + · · · + dn ≡ 0 (mod 3)
6. ็
จงพิสจู น์วา่ ถ้า a เปนจำนวนเต็
มใด ๆ แล้ว a3 ≡ a (mod 3)
7. ็
จงพิสจู น์วา่ ถ้า n เปนจำนวนเต็
ม แล้ว 6|(n3 + 5n)
8. ็ ม โดยที่ a2 | a จงแสดงว่า a = ±1
ให้ a เปนจำนวนเต็
60 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
9. ็
ให้ a และ b เปนจำนวนเต็
มใด ๆ จงแสดงว่า (a + b)3 ≡ a3 + b3 (mod 3)
10. ็
ให้ a, b, c และ d เปนจำนวนจริง จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี้โดยใช้ สัจพจน์ บทนิยาม หรือทฤษฎีบทเกีย่ วกั บ
ระบบจำนวนจริงทีก่ ล่าวถึงในบทนี้
(1) a − (−b) = a + b
(2) −(a − b) = b − a
(3) (−a)(−b) = ab
(4) (a − b)(−c) = bc − ac

(5) ถ้า b %= 0 และ d %= 0 แล้ว ab + dc = ad bd


+ bc

(6) ถ้า a2 = a แล้ว a = 0 หรือ a = 1


(7) ถ้า a > 0 แล้ว a1 > 0
(8) ถ้า a > b > 0 แล้ว 1b > a1 > 0

11. (a) จงพิสจู น์วา่ ถ้า x, y ∈ [0, ∞) แล้ว x +2 y ≥ √xy


(b) ็ ยงพอทีท่ ำให้ x +2 y = √xy
ให้ x, y ∈ [0, ∞) จงหาเงือ่ นไขทีจ่ ำเปนและเพี
หมายเหตุ: อสมการในข้อ (a) เรียกว่า อสมการเลขคณิต-เรขาคณิต (Arithmetic-Geometric Mean Inequality)
12. ให้ x, y ∈ (0, ∞) จงพิสจู น์วา่ xy + xy ≥ 2

13. ให้ x, y ∈ R โดยที่ x < y จงแสดงว่า x < x +2 y < y


14. ให้ r ∈ R โดยที่ 0 < r < 1 จงพิสจู น์วา่
1
≥4
r(1 − r)

15. ให้ x, y, z ∈ R จงพิสจู น์วา่


(a) |x − y| ≤ |x| + |y|
(b) |x + y| ≥ |x| − |y|
(c) |x − z| ≤ |x − y| + |y − z|

(Hint: ใช้ Triangle Inequality)


16. ให้ x, y ∈ R จงพิสจู น์วา่
(a) ถ้า c ≥ 0 แล้ว |x| ≤ c ก็ตอ่ เมือ่ −c ≤ x ≤ c
) )
(b) )|x| − |y|) ≤ |x − y|
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 61
17. จงพิสจู น์วา่ ถ้า x ∈ R โดยที่ |x − 1| < 1 แล้ว x(4 4− x) ≥ 1
18. จงแสดงว่า สำหรั บจำนวนจริง x ใดๆ
sin6 x + 3 sin2 x cos2 x + cos6 x = 1

19. ให้ (x1, x2, . . . , xn), (y1, y2, . . . , yn) ∈ Rn จงพิสจู น์วา่
n
* n
+1/2 * n
+1/2
' ' '
xi yi ≤ x2i yi2
i=1 i=1 i=1
% xi yi &
ข้อแนะนำ: ให้ ai = ,n 1/2
และ bi = ,n 1/2
และใช้ตัวอย่าง 14
[ i=1 x2i ] [ i=1 yi2 ]

หมายเหตุ: อสมการนี้เรียกว่า อสมการโคชี-ชวาร์ซ (Cauchy-Schwarz Inequality)


20. (a) จงยกตั วอย่างของเซต A, B, C โดยที่ A ∩ B = A ∩ C แต่ B %= C
(b) จงยกตั วอย่างของเซต A, B, C โดยที่ A ∪ B = A ∪ C แต่ B %= C
(c) ็ จงพิสจู น์วา่ ถ้า A ∩ B = A ∩ C และ A ∪ B = A ∪ C แล้ว B = C
ให้ A, B, C เปนเซต
21. ็ จงพิสจู น์วา่
ให้ A, B และ C เปนเซต
(a) A ∪ B = (A − B) ∪ (B − A) ∪ (A ∩ B)
(b) A − (B ∪ C) = (A − B) ∩ (A − C)
(c) A − (B ∩ C) = (A − B) ∪ (A − C)
(d) (Ac ∪ (B c ∩ C))c = (A ∩ B) ∪ (A − C)

22. ็ นิยามให้ symmetric difference ของ A และ B คือ


ให้ A และ B เปนเซต
A∆B = (A − B) ∪ (B − A)

จงพิสจู น์วา่
(a) A∆B = B∆A
(b) A∆(B∆C) = (A∆B)∆C
(c) A ∩ (B∆C) = (A ∩ B)∆(A ∩ C)

23. ็ จงพิสจู น์วา่ A × B = ∅ ก็ตอ่ เมือ่ A = ∅ หรือ B = ∅


ให้ A และ B เปนเซต
24. ็ จงหาเงือ่ นไขทีจ่ ำเปนและเพี
ให้ A และ B เปนเซต ็ ยงพอสำหรั บ A × B = B × A
25. ็ จงพิสจู น์วา่
ให้ A, B, C และ D เปนเซต
(A × B) ∩ (C × D) = (A ∩ C) × (B ∩ D)
62 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
26. ็ จงพิสจู น์วา่ (A × B) ∪ (C × D) ⊂ (A ∪ C) × (B ∪ D) จากนั้ นจงพิจารณาว่า
ให้ A, B, C, D เปนเซต
ในกรณีทัว่ ไป เราสามารถเปลีย่ นเครือ่ งหมาย ⊂ ให้เปน็ = ได้หรือไม่
27. ็
จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ข้างล่างนี้เปนการพิ สจู น์ข้อความใด

พิสจู น์ สมมติให้ x เปนจำนวนคู ่ จะได้วา่ x = 2k สำหรั บบางจำนวนเต็ม k ดั งนั้ น
3x2 − 4x − 5 = 3(2k)2 − 4(2k) − 5 = 12k 2 − 8k − 5 = 2(6k 2 − 4k − 3) + 1

เนือ่ งจาก 6k2 − 4k − 3 เปนจำนวนเต็ ็
ม จึงได้วา่ 3x2 − 4x − 5 เปนจำนวนคี ่ "

28. จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ข้อความต่อไปนี้มขี ้อผิดพลาดหรือไม่ อย่างไร


ให้ n ∈ Z ถ้ า 3n − 8 เปน็ จำนวนคี่ แล้ ว n เปน็ จำนวนคี่

พิสจู น์ สมมติให้ n เปนจำนวนคี ่ จะได้วา่ n = 2k + 1 สำหรั บบางจำนวนเต็ม k ดั งนั้ น
3n − 8 = 3(2k + 1) − 8 = 6k − 5 = 2(3k − 3) + 1

เนือ่ งจาก 3k − 3 เปนจำนวนเต็ ็
ม จึงได้วา่ 3n − 8 เปนจำนวนคี ่ "

29. จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ข้อความต่อไปนี้มขี ้อผิดพลาดหรือไม่ อย่างไร


ให้ a, b ∈ Z จะได้ ว่ า a − b เปน็ จำนวนค่ ู ก็ ต่อเม่ ื อ a และ b มี parity เหมือนกั น

พิสจู น์ เราแบ่งการพิจารณาออกเปนสองกรณี ดั งนี้

กรณีท ี่ 1 a และ b มี parity เหมือนกั น แบ่งพิจารณาเปนสองกรณี ยอ่ ย ดั งนี้

กรณี 1.1 a และ b เปนจำนวนคู ่ จะได้วา่ a = 2x และ b = 2y สำหรั บบาง
จำนวนเต็ม x, y ทำให้ได้วา่
a − b = 2x − 2y = 2(x − y)

เนือ่ งจาก x − y ∈ Z จึงได้วา่ a − b เปนจำนวนคู ่

กรณี 1.2 a และ b เปนจำนวนคี ่ จะได้วา่ a = 2x + 1 และ b = 2y + 1 สำหรั บบางจำนวนเต็ม
x, y ทำให้ได้วา่
a − b = (2x + 1) − (2y + 1) = 2(x − y)

เนือ่ งจาก x − y ∈ Z จึงได้วา่ a − b เปนจำนวนคู ่
กรณีท ี่ 2 a และ b มี parity ต่างกั น มีสองกรณียอ่ ย ได้แก่

กรณี 2.1 a เปนจำนวนคี ็
่ และ b เปนจำนวนคู ่ จะได้วา่ a = 2x, b = 2y+1 สำหรั บบางจำนวนเต็ม
x, y ทำให้ได้วา่
a − b = (2x + 1) − 2y = 2(x − y) + 1

เนือ่ งจาก x − y ∈ Z จึงได้วา่ a − b เปนจำนวนคี ่

กรณี 2.2 a เปนจำนวนคู ็
่ และ b เปนจำนวนคี ่ จะได้วา่ a = 2x, b = 2y+1 สำหรั บบางจำนวนเต็ม
x, y ทำให้ได้วา่
a − b = 2x − (2y + 1) = 2(x − y − 1) + 1

เนือ่ งจาก x − y − 1 ∈ Z จึงได้วา่ a − b เปนจำนวนคี ่ "
3.6 ตั วอย่างการพิสจู น์เกีย่ วกั บเซต 63
30. พิจารณาการพิสจู น์ตอ่ ไปนี้
พิสจู น์ ก่อนอืน่ เราจะแสดงว่า A ⊆ (A ∪ B) − B ให้ x ∈ A เนือ่ งจาก A ∩ B = ∅ จึงได้วา่ x ∈/ B ดั งนั้ น
x ∈ A ∪ B และ x ∈ / B จึงได้วา่ x ∈ (A ∪ B) − B ดั งนั้ น A ⊆ (A ∪ B) − B
ต่อไปเราจะแสดงว่า (A ∪ B) − B ⊆ A ให้ x ∈ (A ∪ B) − B จะได้วา่ x ∈ A ∪ B และ x ∈/ B ดั ง
นั้ น x ∈ A จึงสรุปได้วา่ (A ∪ B) − B ⊆ A "

(a) ผู้ทเี่ ขียนการพิสจู น์ข้างต้น กำลั งพยายามพิสจู น์ข้อความใด


(b) นั กเรียนคิดว่าจะสามารถปรั บการพิสจู น์ข้างต้นให้ดขี ้ นึ ได้อย่างไรบ้าง
64 การพิสจู น์โดยตรง และการพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่
บทที่ 4
การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
ในบทนี้เราจะกล่าวถึง วิธ ีการพิสจู น์ ท ีส่ ำคั ญ อีก วิธ ีหนึง่ ได้แก่ การพิสจู น์ โดยข้อ ขั ด แย้ง (proof by
contradiction) และจะกล่าวถึง การพิสจู น์การมีจริง (existence proof) ซึง่ ได้แก่ การพิสจู น์ข้อความทีอ ่ ยูใ่ น
รูป ∃ x ∈ U , P (x) นอกจากนี้ จะกล่าวถึงตั วอย่างการพิสจู น์ในระบบจำนวนจริงต่อเนือ่ งจากทีเ่ คยกล่าวไว้ ใน
บทที่ 3 โดยจะกล่าวถึง สั จพจน์ความบริบรู ณ์ (Completeness Axiom) ของระบบจำนวนจริง รวมทั้ งสมบั ตทิ ี่
เกีย่ วข้อง และในตอนท้ายบท จะกล่าวถึง การพิสจู น์หรือพิสจู น์แย้ง (proof or disproof) อีกด้วย

4.1 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง



ให้ R เปนประพจน์ ใด ๆ
ในบางกรณี เราจะแสดงว่าข้อความ R เปนจริ ็ ง โดยการแสดงว่า
∼ R → (S ∧ ∼ S) ็ ง
เปนจริ
็ ง ทั้ งนี้เนือ่ งจาก
ซึง่ จะทำให้สรุปได้วา่ R เปนจริ
∼ R → (S ∧ ∼ S) 1 R

เรียกการพิสจู น์เช่นนี้วา่ การพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง (proof by contradiction) ซึง่ ในทีน่ ้ เี ราจะเรียกให้สั้น
ลงว่า “การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง” นอกจากนี้ ในตำราบางเล่มอาจเรียกว่า “การพิสจู น์โดยหาข้อขั ดแย้ง” ก็ได้
็ งโดยใช้ ข้อขั ดแย้ง เราจะสมมติวา่ R เปนเท็
ดั งนั้ น การพิสจู น์วา่ R เปนจริ ็ จ แล้วแสดงให้ ได้ ข้อความ
S ∧ ∼ S ซึง่ เปนข้็ อความขั ดแย้ง ดั งนี้

สมมติ ∼ R
จะได้
...
S∧∼S
ดั งนั้ น R

65
66 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง

การเกิดข้อความขั ดแย้ง S∧ ∼ S โดยทั ว่ ไป จะเกิดจากการได้ข้อความ S ก่อน หลั งจากนั้ นจึงได้ข้อความ ∼ S



ซึง่ ขั ดแย้งกั บ S โดยอาจเปนการขั ดแย้งกั บสงิ่ ต่าง ๆ เช่น
$ ขั ดแย้งกั บข้อสมมติ
$ ขั ดแย้งกั บบทนิยาม
$ ขั ดแย้งกั บความจริงอืน่ ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่น ทฤษฎีบท สั จพจน์ ฯ

ตั วอย่างที่ 1 จงพิสจู น์วา่ 2 ็
เปนจำนวนอตรรกยะ
4.1 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง 67
√ √
ตั วอย่างที่ 2 จงพิสจู น์วา่ 2+ 3 ็
เปนจำนวนอตรรกยะ

็ วอย่างการพิสจู น์ความจริงเบื้องต้นบางประการเกีย่ วกั บจำนวนเฉพาะ ก่อนอืน่ จะกล่าวถึง


ต่อไปจะเปนตั
บทนิยามและทฤษฎีบททีเ่ กีย่ วข้องดั งนี้

บทนิยาม เรียกจำนวนเต็ม p ว่า จำนวนเฉพาะ (prime number) ก็ตอ่ เมือ่ p เปนจำนวนเต็
ม บวกทีม่ ากกว่า 1
และจำนวนเต็มบวกทีห่ าร p ลงตั วได้แก่ 1 และ p เท่านั้ น

เรียกจำนวนเต็มบวกทีม่ ากกว่า 1 ซึง่ ไม่เปนจำนวนเฉพาะว่
า จำนวนประกอบ (composite number)
ทฤษฎีบท 1 (ทฤษฎีบทหลั กมูลของเลขคณิต: The Fundamental Theorem of Arithmetic)
จำนวนเต็มบวกทุกจำนวนทีม่ ากกว่า 1 สามารถเขียนได้ ในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะ กล่าวคือ ถ้า n

เปนจำนวนเต็ ม บวกทีม่ ากกว่า 1 แล้ว จะมีจำนวนเฉพาะ p1, p2, . . . , pk ทีแ่ ตกต่างกั น และมีจำนวนเต็ม บวก
r1 , r2 , . . . , rk โดยที่
n = pr11 pr22 · · · prkk

ยิง่ ไปกว่านั้ น หากไม่คำนึงถึงการเรียงลำดั บของ p1, p2, . . . , pk แล้ว การเขียน n ให้อยูใ่ นรูป ดั งกล่าวจะสามารถ
ทำได้เพียงแบบเดียว

หมายเหตุ ทฤษฎีบท 1 ครอบคลุมถึงกรณีท ี่ n มีตัวประกอบทีเ่ ปนจำนวนเฉพาะเพี ยงตั วเดียวด้วย
เราจะไม่พสิ จู น์ทฤษฎีบท 1 ในทีน่ ้ ี จากทฤษฎีบท 1 เราสามารถสรุปได้ อย่างหนึง่ ว่า จำนวนเต็มทีม่ าก
กว่า 1 จะหารลงตั วด้วยจำนวนเฉพาะบางจำนวนเสมอ ข้อสั งเกตนี้จะส่งผลให้ ได้ ทฤษฎีบท 2 ซึง่ แนวคิดของ

การพิสจู น์ทนี่ ำเสนอในทีน่ ้ เี ปนแนวคิ
ดของยุคลิด (Eucild of Alexandria) นั กคณิตศาสตร์ชาวกรีกโบราณ
68 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง

ทฤษฎีบท 2 มีจำนวนเฉพาะอยูม่ ากมายเปนจำนวนอนั นต์
พิสจู น์ จะพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง
สมมติในทางตรงข้ามว่ามีจำนวนเฉพาะอยูจ่ ำนวนจำกั ด โดยให้จำนวนเพาะทั้ งหมดทีม่ อี ยูไ่ ด้แก่
p1 , p 2 , p 3 , . . . , p n

ให้
p = p1 p2 p3 · · · pn + 1

จะเห็นได้วา่ p เปนจำนวนเต็ มบวกทีม่ ากกว่า 1 ดั งนั้ นจะมีจำนวนเฉพาะ pi อย่างน้อยหนึง่ จำนวนจาก p1, p2, p3,
. . . , pn ซึง่ pi |p นั น
่ คือ มีจำนวนเต็ม k ซึง่ p = pik ทำให้ได้วา่
p1 p2 p3 · · · pn + 1 = pi k
1 = pi k − p1 p2 p3 · · · pn
1 = pi (k − p1 p2 · · · pi−1 pi+1 · · · pk )

จากสมการสุดท้ายจะได้ วา่ pi | 1 ็
ซึง่ เปนไปไม่ ็
ได้ ดั ง นั้ น จึง สรุป ได้ วา่ มีจำนวนเฉพาะอยูม่ ากมายเปนจำนวน
อนั นต์ "

็ ธกี ารพิสจู น์ทมี่ ั กใช้ ในการแสดงว่า “ไม่ม.ี .....” เช่น ในตั วอย่าง
การพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง ยั งเปนวิ
ต่อไปนี้
ตั วอย่างที่ 3 จงพิสจู น์วา่ ไม่มจี ำนวนเต็มบวก n ซึง่ 2n < n2 < 3n


ตั วอย่างต่อไปนี้เปนการพิ
สจู น์ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป “ถ้า...... แล้ว......” โดยข้อขั ดแย้ง พึงสั งเกตว่า ถ้า
R คือข้อความ P → Q การสมมติวา่ ∼ R ก็คอื การสมมติวา่ ∼ (P → Q) ซึง่ ก็คอื P ∧ ∼ Q นั น ่ เอง ทั้ งนี้
เนือ่ งจาก
∼ (P → Q) ≡ ∼ (∼ P ∨ Q) ≡ P ∧ ∼ Q
4.1 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง 69

ตั วอย่างที่ 4 ให้ x, y ∈ R จงพิสจู น์วา่ ถ้า x เปนจำนวนตรรกยะ ็
และ y เปนจำนวนอตรรกยะ แล้ว x + y เปน็
จำนวนอตรรกยะ

ข้อสั งเกต จะเห็นว่าการพิสจู น์ข้อความ


R: P →Q
โดยใช้การพิสจู น์โดยตรง การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ และการพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง มีความแตกต่าง
กั น ดั งตารางต่อไปนี้
วิธกี ารพิสจู น์ สงิ่ ทีส่ มมติ สงิ่ ทีต่ ้องแสดง
การพิสจู น์โดยตรง ให้ P เปนจริ็ ง Q เปนจริ็ ง
การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ ็ ง
ให้ ∼ Q เปนจริ ∼P ็ ง
เปนจริ
การพิสจู น์โดยข้อความขั ดแย้ง ็ ง และ Q เปนเท็
ให้ P เปนจริ ็ จ ข้อขั ดแย้ง
70 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง

ตั วอย่างที่ 5 ให้ n เปนจำนวนเต็ ็
ม จงพิสจู น์วา่ ถ้า n เปนจำนวนคู ็
่ แล้ว 5n + 1 เปนจำนวนคี ่
(i) พิสจู น์โดยตรง

(ii) พิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่

(iii) พิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง

หมายเหตุ ในการพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง อาจทำให้เกิดข้อขั ดแย้งได้มากกว่าหนึง่ วิธ ี เช่น จากตั วอย่างที่ 5 (iii) ข้าง

ต้น เมือ่ สมมติให้ n เปนจำนวนคู ็
่ และ 5n+1 เปนจำนวนคู ่ อาจใช้วธิ เี ดียวกั บในข้อ (i) เพือ่ แสดงให้ได้วา่ 5n+1

เปนจำนวนคี ็
่ ซึง่ จะทำให้เกิดข้อขั ดแย้งกั บข้อสมมติทวี่ า่ 5n + 1 เปนจำนวนคู ่
ตั วอย่างที่ 6 จงพิสจู น์วา่ ถ้านำของ n ชิ้นไปใส่ในกล่อง k กล่อง โดยที่ n > k แล้วจะมีอย่างน้อยหนึง่ กล่องทีม่ ี
ของอย่างน้อย 2 ชิ้น
4.2 การพิสจู น์การมีจริง 71

4.2 การพิสจู น์การมีจริง


ทีผ่ า่ นมา ส่วนใหญ่เรามั ก พิสจู น์ ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป ∀x ∈ U , P (x) ต่อ ไปเราจะกล่าวถึง การพิสจู น์
ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป ∃ x ∈ U , P (x) ซึง่ การพิสจู น์ข้อความดั ง กล่าวเรียกว่า การพิสจู น์การมีจริง (existence
proof) ซึง่ อาจทำได้โดยวิธใี ดวิธห ี นึง่ จาก 2 วิธดี ั งต่อไปนี้
วิธที ี่ 1 : ยกตั วอย่าง x ∈ U ทีท่ ำให้ P (x) เปนจริ ็ ง โดยต้องแสดงให้ เห็น ด้วยว่า x ทีเ่ ลือกมา ทำให้
็ งตามทีต่ ้องการ
P (x) เปนจริ

วิธที ี่ 2 : ใช้ทฤษฎีบท หรือความรู้อนื่ ๆ เพือ่ แสดงโดยอ้อมให้สรุปผลได้วา่ มี x ∈ U ทีท่ ำให้ P (x) เปน็


จริง โดยไม่ต้องระบุวา่ x คือสมาชิกตั วใดใน U
การพิสจู น์โดยวิธที ี่ 1 เรียกว่า constructive proof ส่วนวิธที ี่ 2 เรียกว่า non-constructive proof ตั ว-
็ วอย่างของ constructive proof อย่างง่าย
อย่างที่ 7-9 ต่อไปนี้เปนตั
ตั วอย่างที่ 7 จงพิสจู น์วา่ มีจำนวนจริง x ซึง่ x3 < x < x2

ตั วอย่างที่ 8 จงพิสจู น์วา่ มีจำนวนเต็ม a, b, c ทีแ่ ตกต่างกั น ซึง่ ab = bc

ตั วอย่างที่ 9 จงแสดงว่ามีเซต A ซึง่ A ∩ P(A) %= ∅

สำหรั บการพิสจู น์แบบ non-constructive มั กต้องใช้ สั จพจน์ ทฤษฎีบท หรืออืน่ ๆ เพือ่ ช่วยยืนยั นถึงการ
็ ้ น ฐานของทฤษฎีบทเบื้องต้น หลายทฤษฎีบท
มีจริง ของสงิ่ ทีต่ ้องการ ตั วอย่างสั จพจน์อย่างง่ายข้อ หนึง่ ซึง่ เปนพื
ได้แก่ หลั กการจั ดอั นดั บดีของ N0 โดยที่
N0 = {0, 1, 2, 3, . . . }

บทนิยาม ให้ A ⊂ R
• เรียกจำนวนจริง m ว่า ค่ าต่ำส ุด (minimum) ของ A ก็ตอ่ เมือ่ m ∈ A และ m ≤ a สำหรั บทุก
a∈A

• เรียกจำนวนจริง M ว่า ค่ าส ูงส ุด (maximum) ของ A ก็ตอ่ เมือ่ M ∈A และ M ≥a สำหรั บทุก
a∈A
72 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
สั จพจน์ (หลั กการจั ดอั นดั บดีของ N0 : Well Ordering Principle of N0)
ถ้า A ⊂ N0 โดยที่ A %= ∅ แล้ว A มีคา่ ตำ่ สุด

ตั วอย่างที่ 10 ให้ Z− คือเซตของจำนวนเต็มลบ และให้ B ⊂ Z− โดยที่ B %= ∅ จงแสดงว่า B มีคา่ สูงสุด

ต่อไปจะกล่าวถึงตั วอย่างการพิสจู น์การมีจริง โดยใช้ทฤษฎีบทจากวิชาคณิตวิเคราะห์ (Mathematical


Analysis) ดั งนี้

ทฤษฎีบท 3 (ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง : Intermediate Value Theorem)


็ งั ก์ชันค่าจริงทีต่ อ่ เนือ่ งบนช่วง [a, b] และ m เปนจำนวนจริ
ถ้า f เปนฟ ็ งซึง่
f (a) < m < f (b) หรือ f (b) < m < f (a)

แล้วจะมี c ∈ (a, b) ซึง่ f (c) = m

(A) (B)
ภาพแสดงทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง ภาพแสดงทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง
ตั วอย่างกรณีท ี่ f (a) < m < f (b) ตั วอย่างกรณีท ี่ f (a) < m = 0 < f (b)

็ งั ก์ชันค่าจริงทีต่ อ่ เนือ่ งบนช่วง [a, b] โดยที่ f (a) < 0 < f (b) (ดั งเช่นในรูป (B) ด้าน
ในกรณีท ี่ f เปนฟ
บน) หรือ f (b) < 0 < f (a) จาก IVT (Intermediate Value Theorem) จะได้วา่ มี c ∈ (a, b) ซึง่ f (c) = 0
ซึง่ หลั กการนี้สามารถนำไปใช้ ในการแสดงการมีจริงของผลเฉลยทีเ่ ปนจำนวนจริ ็ งของบางสมการได้ โดยไม่จำ-
เปนต้็ องระบุคา่ ของผลเฉลย ดั งตั วอย่างต่อไปนี้
4.2 การพิสจู น์การมีจริง 73

ตั วอย่างที่ 11 จงแสดงว่ามีจำนวนจริง x ซึง่ x3 + x + 1 = 0

การพิสจู น์การมีเพียงหนึง่ เดียว


การพิสจู น์การมีเพียงหนึง่ เดียว (uniqueness proof) คือ การพิสจู น์วา่ ∃ ! x ∈ U , P (x) นั น่ คือ มี x
็ ง ซึง่ การพิสจู น์สามารถทำได้ดังนี้
เพียงหนึง่ เดียวในเซต U ทีท่ ำให้ P (x) เปนจริ
ขั้ นที่ 1 : ต้องพิสจู น์กอ่ นว่า ∃ x ∈ U , P (x)
ขั้ นที่ 2 : พิสจู น์วา่ สำหรั บทุก x, y ∈ U

็ ง และ P (y) เปนจริ


ถ้า P (x) เปนจริ ็ ง แล้ว x = y

ซึง่ อาจจะพิสจู น์โดยตรง พิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ หรือพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง แล้วแต่ความ
เหมาะสม
ตั วอย่างที่ 12 จงพิสจู น์วา่ มีจำนวนจริง x เพียงค่าเดียว ซึง่ x3 + x + 1 = 0
74 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
การพิสจู น์ข้อความ ∃ x ∈ U, ∀y ∈ V, P (x, y) และ ∀x ∈ U, ∃y ∈ V, P (x, y)

จากบทที่ 2 เราทราบแล้วว่า ข้อความ ∃ x ∈ U, ∀y ∈ V, P (x, y) และ ∀x ∈ U, ∃y ∈ V, P (x, y)


มีความหมายแตกต่างกั น (อย่างไร ?) ดั งนั้ น ในการพิสจู น์ แต่ละข้อความดั งกล่าวจึงต้องใช้ หลั กการพิสจู น์ข้อ-
ความทีม่ ตี ั วบ่งปริมาณ ∀ และ ∃ ตามความเหมาะสม เช่นในตั วอย่างต่อไปนี้
ตั วอย่างที่ 13 จงแสดงว่ามีจำนวนเต็ม x ซึง่ xy < x + y สำหรั บทุกจำนวนเต็ม y

ตั วอย่างที่ 14 จงแสดงว่าสำหรั บทุกจำนวนเต็ม x ซึง่ x > 2 จะมีจำนวนเต็มคู่ y ซึง่


x < y < 2x
4.2 การพิสจู น์การมีจริง 75

ในบทที่ 3 เราได้ใช้ขั้นตอนวิธกี ารหาร (Division Algorithm) ในการพิสจู น์ตัวอย่างบางตั วอย่างไปบ้าง


แล้ว ต่อไปจะใช้วธิ กี ารพิสจู น์จากในบทนี้เพือ่ พิสจู น์ขั้นตอนวิธกี ารหาร
ทฤษฎีบท 4 (ขั้ นตอนวิธกี ารหาร : Division Algorithm)
สำหรั บทุกจำนวนเต็ม a, b ซึง่ a > 0 จะมีจำนวนเต็ม q, r เพียงคูเ่ ดียว ซึง่
b = aq + r โดยที่ 0≤r<a

็ มใด ๆ โดยที่ a > 0


พิสจู น์ ให้ a, b เปนจำนวนเต็
ก่อนอืน่ จะแสดงว่ามีจำนวนเต็ม q, r ซึง่ b = aq + r โดยที่ 0 ≤ r < a
พิจารณาเซต A = {b − ak | k ∈ Z และ b − ak ≥ 0}
เลือก k = −a|b| จะได้ b − ak = b + |b|a2 สั งเกตว่า |b|a2 ≥ −b ดั งนั้ น b + |b|a2 ≥ 0 แสดงว่า มี
จำนวนเต็ม k ซึง่ b − ak ≥ 0 ทำให้ ได้ วา่ A ⊂ N0 โดยที่ A %= ∅ ดั งนั้ น จากหลั กการจั ดอั นดั บดีของ N0 จึง
ได้ วา่ A มีคา่ ตำ่ สุด สมมติวา่ คือ r และเนือ่ งจาก r ∈ A จากรูปแบบและเงือ่ นไขของสมาชิกในเซต A จึงได้ วา่
r = b − aq สำหรั บบางจำนวนเต็ม q ดั งนั้ น

b = aq + r

สำหรั บบาง q ∈ Z นอกจากนี้ การที่ r ∈ A ทำให้ได้วา่ r ≥ 0 ยิง่ ไปกว่านั้ น เราสามารถแสดง ได้วา่ r < a โดย
ใช้ข้อขั ดแย้งดั งนี้ สมมติในทางตรงข้ามว่า r ≥ a เมือ่ ให้ r% = r − a จาก r = b − aq จะได้วา่
r% = b − aq − a = b − a(q + 1)

็ าตำ่ สุดของ
และเนือ่ งจาก 0 ≤ r% < r (เพราะเหตุใด ?) จึงได้วา่ r% ∈ A โดยที่ r% < r ซึง่ ขั ดแย้งกั บความเปนค่
r ใน A ดั งนั้ นสรุปได้วา่ มีจำนวนเต็ม q, r ซึง่

b = aq + r โดยที่ 0≤r<a

ต่อไปจะแสดงว่า จำนวนเต็ม q, r ซึง่ สอดคล้องกั บเงือ่ นไขดั งกล่าวมีเพียงคูเ่ ดียว โดยให้ q, r สอดคล้อง
็ มอีกคูห่ นึง่ ซึง่
กั บเงือ่ นไขข้างต้น และ q1, r1 เปนจำนวนเต็
b = aq1 + r1 โดยที่ 0 ≤ r1 < a

จะได้ วา่ aq + r = aq1 + r1 ดั งนั้ น a(q − q1) = r1 − r แสดงว่า a | (r1 − r) สมมติวา่ r1 %= r โดยไม่เสยี
นั ยทั ว่ ไป อาจสมมติให้ r1 > r จะได้ วา่ 0 < r1 − r < a ดั งนั้ น a ! (r1 − r) (เพราะเหตุใด ?) ซึง่ ขั ดแย้งกั บ
a | (r1 − r) ดั งนั้ น r1 = r และจาก a(q − q1 ) = r1 − r จะได้วา่ q1 = q เช่นกั น

ดั งนั้ น สรุปได้วา่ มีจำนวนเต็ม q, r เพียงคูเ่ ดียว ซึง่ b = aq + r โดยที่ 0 ≤ r < a ตามทีต่ ้องการ "

หมายเหตุ ขั้ นตอนวิธกี ารหารในกรณีทัว่ ไปกล่าวว่า “สำหรั บทุกจำนวนเต็ม a, b ซึง่ a %= 0 จะมีจำนวนเต็ม q, r


เพียงคูเ่ ดียว ซึง่ b = aq + r โดยที่ 0 ≤ r < |a|” ซึง่ การพิสจู น์ข้อความนี้ ใช้แนวคิดทีค่ ล้ายกั บการพิสจู น์ข้างต้น
76 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง

4.3 สัจพจน์ความบริบรู ณ์ของระบบจำนวนจริง


ในบทที่ 3 เราได้ทราบแล้วว่า สั จพจน์ของระบบจำนวนจริงมี 3 กลุม่ ได้แก่
• สั จพจน์เชิงพีชคณิต
• สั จพจน์เชิงอั นดั บ
• สั จพจน์ความบริบรู ณ์
็ จพจน์ ท ีย่ นื ยั น การมีจริง
ในทีน่ ้ ีจะกล่าวถึง สั จพจน์ กลุม่ สุดท้าย ได้แก่ สั จพจน์ ความบริบรู ณ์ ซึง่ เปนสั
ของขอบเขตบนน้อยสดุ ของสั บเซตทีไ่ ม่ใช่เซตว่างของ R ทีม่ ขี อบเขตบน ก่อนทีจ่ ะกล่าวถึงสั จพจน์น้ อี ย่างเปน็
ทางการ จะกล่าวถึงบทนิยามทีเ่ กีย่ วข้องก่อน ดั งนี้
็ บเซตทีไ่ ม่ใช่เซตว่างของ R
บทนิยาม ให้ A เปนสั
• เรียกจำนวนจริง u ว่าเปน็ ขอบเขตบน (upper bound) ของ A ก็ตอ่ เมือ่
u≥x สำหรั บทุก x ∈ A

ในกรณีเช่น้ ี เรากล่าวว่า A มีขอบเขตบน (A is bounded above)


• เรียกจำนวนจริง u ว่าเปน็ ขอบเขตบนน้ อยส ุด (least upper bound หรือ supremum) ของ A ก็ตอ่
เมือ่
• u ็
เปนขอบเขตบนของ A และ
• ็
ถ้า v เปนขอบเขตบนใด ๆ ของ A แล้ว u ≤ v
ใช้สัญลั กษณ์ lub(A) หรือ sup(A) แทนขอบเขตบนน้อยสุดของ A
ตั วอย่างที่ 15 จงยกตั วอย่างขอบเขตบน และหาขอบเขตบนน้อยสุดของเซตต่อไปนี้ (ถ้ามี)
(i) A = {1, 2, 3}


จำนวนจริงทุกจำนวนทีม่ ากกว่าหรือเท่ากั บ 3 เปนขอบเขตบนของ A
โดยที่ lub(A) = 3
(ii) B = (4, 5)


จำนวนจริงทุกจำนวนทีม่ ากกว่าหรือเท่ากั บ 5 เปนขอบเขตบนของ B
โดยที่ lub(B) = 5
(iii) C = [6, ∞)

เซต C ไม่มขี อบเขตบน และไม่มขี อบเขตบนน้อยสุด


4.3 สั จพจน์ความบริบรู ณ์ของระบบจำนวนจริง 77
สั จพจน์ความบริบรู ณ์ (Completeness Axiom)
ให้ A ⊂ R โดยที่ A %= ∅
ถ้า A มีขอบเขตบนใน R แล้ว A มีขอบเขตบนน้อยสุดใน R
เรียกระบบเชิงคณิตศาสตร์ซงึ ่ สอดคล้องกั บสั จพจน์ทั้ง 3 กลุม่ ทีก่ ล่าวมา อั นได้แก่ สั จพจน์เชิงพีชคณิต
ี อันดั บบริบรู ณ์ (complete ordered field) ดั งนั้ น ระบบ
สั จพจน์เชิงอั นดั บ และสั จพจน์ความบริบรู ณ์ ว่า ฟลด์
จำนวนจริงเปนฟ ี อันดั บบริบรู ณ์
็ ลด์

ข้อสั งเกต ถ้า A %= ∅ มีขอบเขตบนน้อยสุด แล้วขอบเขตบนน้อยสุดของ A มีเพียงค่าเดียว


พิสจู น์ ให้ A %= ∅ โดยที่ A มีขอบเขตบนน้อยสุด

สมมติวา่ u และ v เปนขอบเขตบนน้ อยสุดของ A จากบทนิยามของขอบเขตบน น้อยสุด จะได้ วา่ u

และ v เปนขอบเขตบนของ A เช่นกั น

เนือ่ งจาก u เปนขอบเขตบนน้ ็
อยสุด และ v เปนขอบเขตบนของ A เราได้วา่ u ≤ v

เนือ่ งจาก v เปนขอบเขตบนน้ ็
อยสุด และ u เปนขอบเขตบนของ A เราได้วา่ v ≤ u

ดั งนั้ น u = v "


ทฤษฎีบทและบทแทรกต่อ ไปนี้เปนผลอย่ ็
างง่ายจากสั จพจน์ความบริบรู ณ์ และยั ง เปนสมบั ต พิ ้ นื ฐานที่

สำคั ญซึง่ ต้องใช้เปนประจำในวิ
ชาคณิตวิเคราะห์
ทฤษฎีบท 5 (สมบั ตอิ าร์คมิ เี ดียน : Archimedean Property)
สำหรั บทุกจำนวนจริง x มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ n > x
พิสจู น์ จะพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง
สมมติในทางตรงข้ามว่ามีจำนวนจริง x ซึง่ n ≤ x สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n แสดงว่า x เปนขอบเขต ็
บนของ N ดั งนั้ น จากสั จพจน์ความบริบรู ณ์ จะได้วา่ N มีขอบเขตบนน้อยสุด สมมติวา่ คือ a สั งเกตว่า a − 1 จะ

ไม่เปนขอบเขตบนของ a (เนือ่ งจาก a − 1 < a) ดั งนั้ น a − 1 < m สำหรั บบาง m ∈ N ทำให้ได้วา่ a < m + 1

ซึง่ เปนไปไม่ ็
ได้ เนือ่ งจาก a เปนขอบเขตบนของ N และ m + 1 ∈ N
ดั งนั้ น สรุปได้วา่ สำหรั บทุกจำนวนจริง x มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ n > x "

บทแทรก 1 สำหรั บทุกจำนวนจริงบวก ε จะมีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ n1 < ε



พิสจู น์ ให้ ε เปนจำนวนจริ งบวกใด ๆ เนือ่ งจาก 1
∈R จากสมบั ตอิ าร์คมิ เี ดียน จะได้ วา่ มีจำนวนเต็มบวก n
ε
ซึง่ n > 1 ทำให้ได้วา่ nε > 1 นั น่ คือ 1 < ε
ε n
ดั งนั้ น สำหรั บทุกจำนวนจริงบวก ε มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ n1 < ε "
78 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
ความหนาแน่นของ Q และ Qc ใน R
ต่อไปจะแสดงให้ เห็นว่าเซตของจำนวนตรรกยะมี “ความหนาแน่น” (density) ในเซตของจำนวนจริง
กล่าวคือ ระหว่างจำนวนจริง สองจำนวนใด ๆ ทีแ่ ตกต่างกั น จะมีจำนวนตรรกยะแทรกอยูร่ ะหว่างจำนวนจริง
สองจำนวนนั้ นเสมอ นอกจากนี้ เซตของจำนวนอตรรกยะยั งมีความหนาแน่นในเซตของจำนวนจริงเช่นกั น
บทตั้ง 1 สำหรั บแต่ละจำนวนจริง x จะมีจำนวนเต็ม n ซึง่ n − 1 ≤ x < n

พิสจู น์ ให้ x เปนจำนวนจริ
งใด ๆ

กรณีท ี่ 1 : x เปนจำนวนจริ งบวก
พิจารณาเซต A = {m ∈ N | m > x}
จากสมบั ตอิ าร์คมิ เี ดียน เราทราบว่ามีจำนวนเต็มบวก m ซึง่ m > x ดั งนั้ น A เปนสั็ บเซตทีไ่ ม่ใช่เซต
ว่างของ N0 จากหลั กการจั ดอั นดั บดีของ N0 จึงได้ วา่ A มีคา่ ตำ่ สุด สมมติวา่ คือ n ดั งนั้ น n ∈ A
และ x < n ยิง่ ไปกว่านั้ น เราสามารถแสดงได้วา่ n − 1 ≤ x ดั งนี้
กรณีท ี่ 1.1 : n=1 จะได้วา่ n − 1 = 0 < x
กรณีท ี่ 1.2 : n ≥ 2 จะได้วา่ n − 1 ∈ N
ถ้า n − 1 > x จะทำให้ได้วา่ n − 1 ∈ A
็ าตำ่ สุดของ A ดั งนั้ น n − 1 ≤ x
ซึง่ จะขั ดแย้งกั บการที่ n เปนค่
กรณีท ี่ 2 : x=0
เลือก n = 1 จะได้วา่ n − 1 ≤ x < n
กรณีท ี่ 3 : ็
x เปนจำนวนจริ งลบ

จะได้วา่ −x เปนจำนวนจริ งบวก ดั งนั้ นจากกรณีท ี่ 1 จะมีจำนวนเต็ม k ซึง่
k − 1 ≤ −x < k

ดั งนั้ น −k < x ≤ −k + 1
กรณีท ี่ 3.1 : เลือก n = −k + 2 จะได้วา่ n − 1 ≤ x < n
x = −k + 1
กรณีท ี่ 3.2 :
x < −k + 1 เลือก n = −k + 1 จะได้วา่ n − 1 ≤ x < n

ดั งนั้ น สำหรั บแต่ละจำนวนจริงบวก x จะมีจำนวนเต็ม n ซึง่ n − 1 ≤ x < n "

บทตั้ง 2 สำหรั บจำนวนจริง x, y ใด ๆ ถ้า y − x > 1 แล้วจะมีจำนวนเต็ม n ซึง่ x < n < y


็ งใด ๆ โดยที่ y − x > 1
พิสจู น์ ให้ x, y เปนจำนวนจริ
เนือ่ งจาก x ∈ R จากบทตั้ ง 1 จึงได้วา่ มีจำนวนเต็ม n ซึง่ n − 1 ≤ x < n
จาก n − 1 ≤ x จะได้ n ≤ x + 1 และจาก y − x > 1 จะได้ x + 1 < y
ดั งนั้ น n < y และจาก x < n จึงได้วา่ x < n < y
ดั งนั้ น มีจำนวนเต็ม n ซึง่ x < n < y "
4.4 การพิสจู น์หรือพิสจู น์แย้ง 79
ทฤษฎีบท 6 (ทฤษฎีบทความหนาแน่น : The Density Theorem)
สำหรั บทุกจำนวนจริง x, y ซึง่ x < y จะมีจำนวนตรรกยะ r ซึง่ x < r < y

พิสจู น์ ให้ x และ y เปนจำนวนจริ ง ซึง่ x < y จะได้วา่ y − x > 0
จากบทแทรก 1 จึงได้วา่ มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ n1 < y − x ทำให้ได้วา่ ny − nx > 1
จากบทตั้ ง 2 จึงได้วา่ มีจำนวนเต็ม m ซึง่
nx < m < ny

จากอสมการข้างต้น เมือ่ หารตลอดด้วย n จะได้วา่


m
x< <y
n


เลือก r = mn จะได้วา่ r เปนจำนวนตรรกยะ
ดั งนั้ น มีจำนวนตรรกยะ r ซึง่ x < r < y "

บทแทรก 2 สำหรั บทุกจำนวนจริง x, y ซึง่ x < y มีจำนวนอตรรกยะ z ซึง่ x < z < y



พิสจู น์ ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด
กหั
ทฤษฎีบทความหนาแน่น และบทแทรก 2 อาจแปลความหมายได้วา่ มีจำนวนตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ
แทรกซึมอยูท่ ที่ กุ จุดบนเส้นจำนวนจริง ส่งผลให้เส้นจำนวนจริงไม่มกี ารขาดตอน หรือมี “ความต่อเนือ่ ง” (continu-
่ เอง ด้วยเหตุน้ ี ในบางกรณีจงึ เรียกเซตของจำนวนจริงว่า “the continuum”
um) นั น

หมายเหตุ ในหั วข้อนี้ เราได้ กล่าวถึงผลทีเ่ กิดจากจากสั จพจน์ความบริบรู ณ์เพียงบางส่วนเท่านั้ น สั จพจน์ความ


บริบรู √ณ์ยังสามารถใช้แสดงสมบั ตพิ ้ นื ฐานทีส่ ำคั ญของระบบจำนวนจริงอีกหลายประการ เช่น ใช้แสดงการมีจริง
ของ 2 ในระบบจำนวนจริง

4.4 การพิสจู น์หรือพิสจู น์แย้ง


็ วอย่างของการ “พิสจู น์” ข้อความทีก่ ำหนดให้ ซึง่ หมายความ
ปญั หาในตั วอย่างส่วนใหญ่ทผี่ า่ นมาเปนตั
็ ง และให้ พสิ จู น์ เพือ่ ยืนยั น ความจริง ของข้อ
ว่า ผู้ตั้ง ปญั หาบอกให้ ผ้ แู ก้ ปญั หาทราบว่า ข้อความดั ง กล่าวเปนจริ
ความนั้ น
อย่างไรก็ตาม ในบางกรณี เราอาจต้องพิจารณาด้วยตนเองว่า ข้อความใดข้อความหนึง่ เปนจริ ็ งหรือไม่
ซึง่ หากจะแสดงว่าข้อความนั้ นเปนจริ ็ ง เราจะต้องพิสจู น์ (prove) ข้อความนั้ น แต่หากจะแสดงว่าข้อความนั้ นไม่
จริง ก็จะต้องพิสจู น์แย้ง (disprove) ข้อความนั้ น
การพิสจู น์แย้งข้อความ R คือการพิสจู น์วา่ R ไม่จริง ซึง่ คือการพิสจู น์วา่ ข้อความ ∼ R เปนจริ ็ งนั น่ เอง
80 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
• การพิสจู น์แย้งข้อความ ∀x ∈ U , P (x)
็ จ
คือการพิสจู น์วา่ ∃ x ∈ U , ∼ P (x) ซึง่ วิธหี นึง่ ทีท่ ำได้คอื การยกตั วอย่าง x ∈ U ทีท่ ำ ให้ P (x) เปนเท็
เราเรียกตั วอย่างเช่นนี้วา่ ตั วอย่างค้าน (counter example)
• การพิสจู น์แย้งข้อความ ∃ x ∈ U , P (x)
คือการพิสจู น์วา่ ∀x ∈ U , ∼ P (x) นั น่ คือ พิสจู น์วา่ ถ้า x ∈ U แล้ว ∼ P (x) ซึง่ อาจทำได้โดยการพิสจู น์
โดยตรง การพิสจู น์โดยข้อความแย้งสลั บที่ หรือการพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง
็ งหรือไม่ ถ้าจริงจงพิสจู น์ ถ้าไม่จริงจงพิสจู น์แย้ง
ตั วอย่างที่ 16 จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้เปนจริ

(i) ∀x ∈ R, x2 = x

(ii) ให้ n ∈ Z ถ้า 4 | (n2 − 1) แล้ว 4 | (n − 1)

(iii) ∃ x ∈ R, x4 − x2 + 1 = 0

(iv) มีจำนวนเต็ม a, b ซึง่ a %= b และ a1 + 1b = 1


4.4 การพิสจู น์หรือพิสจู น์แย้ง 81

ึ ดบทที่ 4
แบบฝกหั

1. (a) ให้ x ∈ Z จงพิสจู น์วา่ 3|x ก็ตอ่ เมือ่ 3|x2



(b) ็
จงพิสจู น์วา่ 3 เปนจำนวนอตรรกยะ

(c) ็
จงพิสจู น์วา่ 6 เปนจำนวนอตรรกยะ
√ √
(d) ็
จงพิสจู น์วา่ 2 + 3 เปนจำนวนอตรรกยะ
√ √ √
(e) ็
จงพิสจู น์วา่ 2 + 3 + 7 เปนจำนวนอตรรกยะ
(f) ็
จงพิสจู น์วา่ cos 3◦ เปนจำนวนอตรรกยะ
(g) จงพิสจู น์วา่ มีจำนวนเต็มบวก n เปนอนั ็ นต์จำนวน ซึง่ √n เปนจำนวนอตรรกยะ

2. จงพิสจู น์วา่ ถ้า a, b ∈ N โดยที่ a ≥ 2 แล้ว a ! b หรือ a ! (b + 1)
! !
3. จงพิสจู น์วา่ ถ้า x, y ∈ R − {0} แล้ว x2 + y 2 %= 3 x3 + y 3

4. จงพิสจู น์วา่ ถ้า x ∈ [0, π/2] แล้ว sin x + cos x ≥ 1


5. จงพิสจู น์วา่ ไม่ม ี x, y ∈ Q ซึง่ x2 + y2 = 3
(Hint: พิจารณาค่าของ m2 + n2 มอดุโล 4 เมือ่ m, n ∈ N)

6. จงพิสจู น์วา่
(a) มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ 19 | (2n − 1)
(b) มีจำนวนเต็มบวก n ซึง่ 81 | (8n + 1)
7. จงพิสจู น์วา่ มี x ∈ [1, 2] ซึง่ x10 = 10x (Hint: ใช้ Intermediate Value Theorem)
8. จงพิสจู น์วา่ สมการ x + √x − 1 = 0 มีผลเฉลยทีเ่ ปนจำนวนจริ
็ งเพียงผลเฉลยเดียว
9. ็ บเซตทีไ่ ม่ใช่เซตว่างของ R โดยที่ A มีขอบเขตบน
ให้ A เปนสั
็ าคงตั ว เรานิยามเซต c + A โดย c + A = {c + a | a ∈ A}
ให้ c เปนค่
จงแสดงว่า c + A มีขอบเขตบน และ
lub(c + A) = c + lub(A)

√ √
10. ให้ A = {a + b 2 : a, b ∈ Q} และ B = {c + d 3 : c, d ∈ Q}
จงพิสจู น์วา่ A ∩ B = Q
11. ให้ x, y, z ∈ R จงพิสจู น์วา่
(a) ็
ถ้า x เปนจำนวนอตรรกยะ ็ ็ นย์ แล้ว xy เปนจำนวนอตรรกยะ
ไ่ ม่เปนศู
และ y เปนจำนวนตรรกยะที ็
82 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง

(b) ็
ถ้า x เปนจำนวนอตรรกยะ ็ ็ นย์ แล้ว xy + z หรือ xy − z เปน็
ไ่ ม่เปนศู
และ y เปนจำนวนตรรกยะที
จำนวนอตรรกยะ
12. จงพิสจู น์วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n มีจำนวนเต็มบวก m ซึง่ ทำให้
m + 1, m + 2, . . . , m + n


เปนจำนวนประกอบ n จำนวนทีเ่ รียงลำดั บติดต่อกั น

13. บทนิยาม เราเรียกจำนวนเต็ม n ว่า กำลั งสองสมบ ูรณ์ (perfect square) ถ้า n = m2 สำหรั บบางจำนวนเต็ม
m
(เช่น 49 = 7 2 ็ งสองสมบูรณ์ และ 32 + 42 = 52 เปนกำลั
เปนกำลั ็ งสองสมบูรณ์)

จงพิสจู น์วา่ ถ้า x และ y เปนจำนวนคี ็ งสองสมบูรณ์
่ แล้ว x2 + y2 ไม่เปนกำลั
14. จงพิสจู น์วา่ ไม่มจี ำนวนเต็มบวก m และ n ซึง่ 3m = n3 + 3
15. ็ ็
มคี่ แล้วสมการ ax2 + bx + c = 0 ไม่มคี ำตอบเปนจำนวนตรรกยะ
จงแสดงว่า ถ้า a, b, c เปนจำนวนเต็
16. จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี้โดยใช้ สามวิธคี อื (i) การพิสจู น์โดยตรง (ii) การพิสจู น์แบบแย้งสลั บที่ และ (iii)
การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง
(a) ็
ถ้า n เปนจำนวนคี ็
แ่ ล้ว 9n − 3 เปนจำนวนคู ่
(b) ็
ให้ x เปนจำนวนจริ งบวก ถ้า x − 2 > 1 แล้ว x > 2
x
(c) ็
ให้ x และ y เปนจำนวนจริ
งบวก ถ้า x ≤ y แล้ว x2 ≤ y2
17. ็
ให้ a เปนจำนวนจริ ็ ง โดยที่ x < y
งบวกใด ๆ และให้ x, y เปนจำนวนจริ
จงแสดงว่ามีจำนวนตรรกยะ r ซึง่ ทำให้ x < ra < y
18. ็
จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ตอ่ ไปนี้เปนการพิ
สจู น์ข้อความใด

พิสจู น์ ให้ a, b, c ∈ Z โดยที่ a2 + b2 = c2 และสมมติในทางตรงกั นข้ามว่า a, b, c ล้วนเปนจำนวนคี ่ จะได้
ว่า a = 2x + 1, b = 2y + 1 และ c = 2z + 1 สำหรั บบางจำนวนเต็ม x, y, z ดั งนั้ น
a2 + b2 = (2x + 1)2 + (2y + 1)2
= 4x2 + 4x + 1 + 4y 2 + 4y + 1
= 2(2x2 + 2y 2 + 2x + 2y + 1)


เนือ่ งจาก 2x2 + 2y2 + 2x + 2y + 1 เปนจำนวนเต็ ็
ม จึงได้วา่ a2 + b2 เปนจำนวนคู ่ ในขณะเดียวกั น เราได้วา่
c2 = (2z + 1)2 = 4z 2 + 4z + 1 = 2(2z 2 + 2z) + 1


เนือ่ งจาก 2z 2 + 2z เปนจำนวนเต็ ็
ม จึงได้ วา่ c2 เปนจำนวนคี ่ ทำให้ เกิดข้อขั ดแย้งกั บการที่ a2 + b2 = c2

เปนจำนวนคู ่ "
4.4 การพิสจู น์หรือพิสจู น์แย้ง 83

19. ็
จงพิจารณาว่าการพิสจู น์ตอ่ ไปนี้เปนการพิ สจู น์ข้อความใด มีข้อผิดพลาดอย่างไร และควรแก้ไขอย่างไร
พิสจู น์ สมมติวา่ มีจำนวนอตรรกยะ x และจำนวนตรรกยะ y ซึง่ x−y เปนจำนวนตรรกยะ็ จะได้ x−y = ab


สำหรั บบางจำนวนเต็ม a, b ซึง่ b %= 0 เนือ่ งจาก x เปนจำนวนอตรรกยะ เราจึงให้ x = 2 และเนือ่ งจาก y

เปนจำนวนตรรกยะ จึงได้วา่ y = dc สำหรั บบางจำนวนเต็ม c, d ซึง่ d %= 0 จาก x − y = ab จึงได้วา่
√ a
2−y =
b
√ a
2=y+
b
c a
= +
d b
bc + ad
=
bd


เนือ่ งจาก bc + ad และ bd เปนจำนวนเต็
ม โดยที่ bd %= 0 จึงได้วา่ ็
2 เปนจำนวนตรรกยะ ็ อขั ดแย้ง
ซึง่ เปนข้
"

20. ็ งหรือไม่ ถ้าจริงจงพิสจู น์ ถ้าไม่จริงจงพิสจู น์แย้ง


ข้อความต่อไปนี้เปนจริ
(i) ็
ถ้า a เปนจำนวนคู ็
่ และ b เปนจำนวนคี ่ แล้ว 4 ! (a2 + 2b2)
(ii) สำหรั บจำนวนเต็ม a, b ใด ๆ ซึง่ a %= 0 จะได้วา่ a | b ก็ตอ่ เมือ่ a | b2
(iii) ็
ให้ n ∈ Z จะได้วา่ n เปนจำนวนคี ็
ก่ ต็ อ่ เมือ่ 10n + 1 เปนจำนวนคี ่
(iv) มีจำนวนเต็มบวกคี่ n ซึง่ ผลบวกของเลขโดดทุกตั วใน n เปนจำนวนคู ็ ่ และผลคูณของเลขโดดทุกตั วใน

n เปนจำนวนคี ่
(v) มีจำนวนตรรกยะ x %= 0 และจำนวนอตรรกยะ y ซึง่ xy เปนจำนวนตรรกยะ ็
(vi) มีจำนวนจริงบวก x ซึง่ xy > yx สำหรั บทุกจำนวนจริงบวก y
! √ ! √
(vii)
3
9 + 80 + 9 − 80 เปนจำนวนอตรรกยะ
3

33 ≥ 9n! สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
n
(viii)

(ix) ถ้า a, b, c ∈ Z โดยที่ ab, bc และ ca เปนจำนวนคู ็ ็


่ แล้ว a, b และ c เปนจำนวนคู ่
(x) ็
ถ้า w เปนจำนวนเต็ มคี่ แล้วจะมีจำนวนเต็มคี่ x, y, z ซึง่ x + y + z = w
(xi) ็
ถ้า A, B, C เปนเซตใด ๆ แล้ว (A − B) ∪ (A − C) = A − (B ∪ C)
(xii) สำหรั บเซต A และ B ใด ๆ จะได้วา่ P(A − B) = P(A) − P(B)
(xiii) สำหรั บทุกจำนวนเต็ม a มีจำนวนเต็มบวก b ซึง่ ||a| − b| ≤ 1
) )
)1 1 ) 1
(xiv) มีจำนวนเต็มบวกคู่ a ซึง่ สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n, )) − )) ≤
a n 2

(xv) มีจำนวนเฉพาะ p, q ซึง่ p1 + 1q = 101


1
84 การพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง และการพิสจู น์การมีจริง
บทที่ 5
อปุ นั ยเชงิ คณิตศาสตร์
ทีผ่ า่ นมาเราได้ กล่าวถึงวิธกี ารพิสจู น์พ้ นื ฐานทีต่ ้องใช้ บอ่ ยในวิชาคณิตศาสตร์จนเกือบครบถ้วนแล้ว ต่อ
ไปจะกล่าวถึงการพิสจู น์อกี วิธหี นึง่ คือ การพิสจู น์โดยอปุ นั ยเชงิ คณิตศาสตร์ (mathematical induction) ซึง่ ใช้
สำหรั บพิสจู น์ข้อความทีอ่ ยูใ่ นรูป
∀n ∈ Na , P (n)


เมือ่ Na = {a, a + 1, a + 2, . . . } โดยที่ a ∈ N0 และ P (n) เปนประโยคเป ิ ย่ วกั บจำนวนเต็ม n ดั งนั้ น
ดเกี
็ ธพี สิ จู น์สำหรั บใช้แสดงว่า
อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์เปนวิ

P (n) ็ ง สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a


เปนจริ

ในหลายกรณี ข้อความ P (n) มั กได้จากการคาดการณ์ โดยสั งเกตตั วอย่างบางตั วอย่าง หรือกรณีเฉพาะ


บางกรณี แล้วจึงคาดคะเนข้อสรุปในกรณีทัว่ ไป ตั วอย่างเช่น พิจารณาผลบวกของจำนวนคีด่ ั งต่อไปนี้
1=1
1+3=4
1+3+5=9

จากการสั งเกต เราสามารถคาดคะเนได้ วา่ ผลบวกในบรรทั ดถั ดไปน่าจะเท่ากั บ 16 ซึง่ พบว่าถูกต้อง เนือ่ งจาก
1 + 3 + 5 + 7 + 9 = 16 หลั งจากนั้ น เราอาจตั้ งข้อความคาดการณ์ (conjecture) สำหรั บกรณีทัว่ ไปว่า สำหรั บ
จำนวนเต็ มบวก n ใด ๆ ผลบวกของจำนวนเต็ มบวกคี่ n ตั วแรก เท่ ากั บ n2 นั น่ คือ
1 + 3 + 5 + · · · + (2n − 1) = n2 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n

อย่างไรก็ตาม เรายั งไม่อาจเชือ่ ได้ วา่ ข้อความคาดการณ์น้ จี ะถูกต้องสำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n กล่าวคือ การ
็ ง สำหรั บบางจำนวนเต็ม บวก n ยั ง ไม่ม เี พียงพอทีจ่ ะทำให้ สรุป ได้ อย่างสมเหตุสมผลว่า
ทีส่ มการข้างต้น เปนจริ
็ งสำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
สมการนี้จะเปนจริ
็ งสำหรั บ
ในสถานการณ์เช่นนี้ เราอาจใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่ ข้อความทีค่ าดการณ์เปนจริ
ทุกจำนวนเต็มบวก n (หรือสำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a เมือ่ a ∈ N0)
85
86 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

5.1 หลั กการของอปุ นั ยเชงิ คณิตศาสตร์


การพิสจู น์โดยอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์มรี ากฐานทีส่ ำคั ญคือ หลั กการของอ ุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ ดั งนี้
ทฤษฎีบท 1 (หลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์: Principle of Mathematical Induction)

ให้ P (n) เปนประโยคเป ิ เ่ กีย่ วกั บจำนวนเต็ม n เมือ่ n ∈ N0 และให้ a ∈ N0 เปนจำนวนเต็
ดที ็ มค่าหนึง่
็ าคงตั ว
ทีเ่ ปนค่
ถ้า 1. P (a) เปนจริ ็ ง และ
2. สำหรั บทุกจำนวนเต็ม k ≥ a ถ้า P (k) เปนจริ ็ ง แล้ว P (k + 1) เปนจริ
็ ง
แล้วจะได้วา่ P (n) เปนจริ็ ง สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a
พิสจู น์ จะพิสจู น์โดยข้อขั ดแย้ง
สมมติวา่ ข้อ 1 และ 2 เปนจริ็ ง แต่ P (n) เปนเท็็ จสำหรั บบางจำนวนเต็ม n ≥ a
ให้
A = { n ∈ N0 | n ≥ a และ P (n) เปนเท็ ็ จ}
จากข้อสมมมติ จะได้วา่ A %= ∅ และเนือ่ งจาก A ⊂ N0 โดยหลั กการจั ดอั นดั บดีของ N0 จึงได้วา่ A มี
ค่าตำ่ สุด ให้ b คือค่าตำ่ สุดของ A เนือ่ งจาก b ∈ A จึงได้วา่ b ≥ a และ P (b) เปนเท็ ็ จ สั งเกตว่า b %= a เพราะ
จากข้อ 1 เราทราบว่า P (a) เปนจริ ็ ง ดั งนั้ น b ≥ a + 1 ทำให้ได้วา่ b − 1 ≥ a ยิง่ ไปกว่านั้ น จะเห็นว่า P (b − 1)
็ ง เนือ่ งจากถ้า P (b − 1) เปนเท็
เปนจริ ็ จ แล้ว b − 1 ∈ A ซึง่ ขั ดแย้งกั บการที่ b เปนค่็ าตำ่ สุดของ A
เนือ่ งจาก b − 1 ≥ a โดยที่ P (b − 1) เปนจริ ็ ง จากข้อ 2 จึงได้ วา่ P (b) เปนจริ็ ง ซึง่ ขั ดแย้งกั บการที่
็ จ
P (b) เปนเท็
็ ง แล้ว P (n) เปนจริ
ดั งนั้ น ถ้าข้อ 1 และข้อ 2 เปนจริ ็ ง สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a "

็ ง สำหรั บทุกจำนวนเต็ม
จากหลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ จะเห็นว่า ในการพิสจู น์วา่ P (n) เปนจริ
็ ง
n ≥ a เราต้องแสดงว่าเงือ่ นไขข้อ 1 และข้อ 2 เปนจริ

$ เรียกขั้ นตอนการแสดงข้อ 1 ว่า “ขั้ นฐาน” หรือ Base Case


$ เรียกขั้ นตอนการแสดงข้อ 2 ว่า “ขั้ นอุปนั ย” หรือ Inductive Step

ซึง่ เปนการแสดงว่า สำหรั บทุกจำนวนเต็ม k ≥ a
P (k) → P (k + 1)

็ ง แล้วแสดงให้ ได้ วา่ P (k + 1) เปนจริ


ในขั้ นตอนนี้ เราต้องสมมติวา่ P (k) เปนจริ ็ ง เรียกข้อสมมติ
P (k) ว่า “สมมติฐานของการอุปนั ย” หรือ Inductive Hypothesis
5.1 หลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ 87

เรามั กเปรียบเทียบหลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์กับการล้มของโดมิโน ดั งนี้


ให้โดมิโนแต่ละตั วแทนข้อความ P (n) แต่ละข้อความ

็ ง
ถ้า (1) โดมิโนตั วที่ a ล้ม ซึง่ เปรียบได้กับการทีข่ ้อความ P (a) เปนจริ

และ (2) สำหรั บทุก k ≥ a ถ้าโดมิโนตั วที่ k ล้ม แล้วโดมิโนตั วที่ k + 1 ก็จะล้มด้วย

็ นไปจะล้มหมดทุกตั ว
ดั งนั้ น โดมิโนตั้ งแต่ตัวที่ a เปนต้

็ งสำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a
ซึง่ เปรียบได้กับการที่ P (n) เปนจริ
88 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

ตั วอย่างที่ 1 จงพิสจู น์วา่ 1 + 3 + 5 + · · · + (2n − 1) = n2 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n


5.1 หลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ 89

ตั วอย่างที่ 2 จงพิสจู น์วา่ 1 + 2 + 3 + · · · + n = n(n2+ 1) สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n

็ ตรผลบวกเบื้องต้นทีค่ วรทราบ และยั งมีสตู รพื้นฐานอืน่ ๆ อีก เช่น สำหรั บทุก


สูตรในตั วอย่างที่ 2 เปนสู
จำนวนเต็มบวก n เราได้วา่
n(n + 1)(2n + 1)
1 2 + 2 2 + 3 2 + · · · + n2 =
6
2 2
n (n + 1)
1 3 + 2 3 + 3 3 + · · · + n3 =
4


ให้ผ้อู า่ นลองพิสจู น์สตู รเหล่านี้เปนแบบฝ ึ ด โดยใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์
กหั
90 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

ตั วอย่างที่ 3 จงพิสจู น์วา่ 2n > n2 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 5


5.1 หลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ 91

ตั วอย่างที่ 4 จงพิสจู น์วา่ 5 | (n5 − n) สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 0


หมายเหตุ เราสามารถพิสจู น์ข้อความในตั วอย่างนี้ได้อกี วิธหี นึง่ โดยการแจงกรณี (ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด)
กหั
92 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

5.2 อปุ นั ยเชงิ คณิตศาสตร์อย่างเข้ม


การพิสจู น์โดยอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม (strong mathematical induction) ต่างกั บการพิสจู น์
โดยใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์แบบธรรมดาทีข่ ั้ นอุปนั ย ซึง่ จะมีข้อสมมติมากกว่าวิธธี รรมดา ดั งนี้
ทฤษฎีบท 2 (หลั กการของอปุ นั ยเชงิ คณิตศาสตร์อย่างเข้ม)

ให้ P (n) เปนประโยคเป ิ เ่ กีย่ วกั บจำนวนเต็ม n เมือ่ n ∈ N0 และให้ a ∈ N0 เปนจำนวนเต็
ดที ็ มค่าหนึง่
็ าคงตั ว
ทีเ่ ปนค่
ถ้า 1. P (a) เปนจริ ็ ง และ
2. สำหรั บทุกจำนวนเต็ม k ≥ a
็ ง เมือ่ n = a, a + 1, . . . , k − 1, k แล้ว P (k + 1) เปนจริ
ถ้า P (n) เปนจริ ็ ง
แล้วจะได้วา่ P (n) เปนจริ ็ งสำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ a

เราสามารถพิสจู น์ ทฤษฎีบท 2 ได้ ในทำนองเดียวกั น กั บ การพิสจู น์ ทฤษฎีบท 1 (ให้ ผ้ อู า่ นทำเปนแบบ
ึ ด)
ฝกหั
็ บของจำนวนจริง โดยที่ a1 = 3, a2 = 5 และ
ตั วอย่างที่ 5 กำหนดให้ a1, a2, a3, . . . เปนลำดั
an = 3an−1 − 2an−2 เมือ่ n ≥ 3
(i) จงหาค่าของ a3, a4 และ a5
จากโจทย์ จะได้
a3 = 3a2 − 2a1 = 3 · 5 − 2 · 3 = 9
a4 = 3a3 − 2a2 = 3 · 9 − 2 · 5 = 17
a5 = 3a4 − 2a3 = 3 · 17 − 2 · 9 = 33

(ii) ็
จงคาดคะเนสูตรของ an เมือ่ n เปนจำนวนเต็มบวกใด ๆ และจงพิสจู น์วา่ สูตรทีค่ าดคะเนนั้ นถูกต้อง
ข้อความคาดการณ์ : an = 2n + 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
พิสจู น์ ให้ P (n) แทนข้อความ an = 2n + 1
ขั้ นฐาน เมือ่ n = 1 จะเห็นว่า P (1) คือข้อความ a1 = 21 + 1
็ ง เนือ่ งจาก a1 = 3 และ 21 + 1 = 3
ซึง่ เปนจริ

ขั้ นอุปนั ย ให้ k เปนจำนวนเต็ มใด ๆ โดยที่ k ≥ 1
็ ง นั น่ คือ สมมติวา่
สมมติวา่ P (1), P (2), . . . , P (k − 1), P (k) เปนจริ
a1 = 21 + 1, a2 = 22 + 1, . . . , ak−1 = 2k−1 + 1, ak = 2k + 1

็ ง นั น่ คือจะแสดงว่า ak+1 = 2k+1 + 1


จะแสดงว่า P (k + 1) เปนจริ
5.2 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม 93

กรณีท ี่ 1 : k=1 จะได้ ak+1 = a2 = 5 = 22 + 1 = 2k+1 + 1


็ ง
ดั งนั้ น P (k + 1) เปนจริ
กรณีท ี่ 2 : k ≥ 2 จะได้ k + 1 ≥ 3 ดั งนั้ น

ak+1 = 3ak − 2ak−1


= 3(2k + 1) − 2(2k−1 + 1) (จากข้อสมมติ)
= 3 · 2k − 2k + 1
= 2 · 2k + 1
= 2k+1 + 1

็ ง
ดั งนั้ น P (k + 1) เปนจริ
จากหลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม สรุปได้ วา่ an = 2n + 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก
n "

็ ซึง่ n = 3x + 5y
ตั วอย่างที่ 6 จงพิสจู น์วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 8 มีจำนวนเต็ม x, y ทีไ่ ม่เปนลบ
พิสจู น์ จะพิสจู น์โดยอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม
ให้ P (n) แทนข้อความ มี x, y ∈ N0 ซึง่ n = 3x + 5y
ขั้ นฐาน เมือ่ n = 8 จะเห็นว่า P (8) คือข้อความ

มี x, y ∈ N0 ซึง่ 8 = 3x + 5y
เลือก x = 1, y = 1 จะเห็นว่า 1 ∈ N0 โดยที่ 8 = 3 · 1 + 5 · 1
็ ง
ดั งนั้ น P (8) เปนจริ

ขั้ นอุปนั ย ให้ k เปนจำนวนเต็ มใด ๆ โดยที่ k ≥ 8
็ ง
สมมติวา่ P (8), P (9), . . . , P (k − 1), P (k) เปนจริ
นั น่ คือ สมมติวา่ เมือ่ n ∈ {8, 9, . . . , k − 1, k} มี x, y ∈ N0 ซึง่ n = 3x + 5y
จะแสดงว่า P (k + 1) เปนจริ ็ ง นั น่ คือจะแสดงว่า

มี x%, y% ∈ N0 ซึง่ k + 1 = 3x% + 5y%


กรณีท ี่ 1 : k < 10
เมือ่ k = 8 จะได้ k + 1 = 9 จะเห็นว่ามี x% = 3, y% = 0 ∈ N0 ซึง่ 9 = 3 · 3 + 5 · 0 ดั ง
็ ง
นั้ น P (k + 1) เปนจริ
เมือ่ k = 9 จะได้ k + 1 = 10 จะเห็นว่ามี x% = 0, y% = 2 ∈ N0 ซึง่ 10 = 3 · 0 + 5 · 2
็ งเช่นกั น
ดั งนั้ น P (k + 1) เปนจริ
94 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

กรณีท ี่ 2 : k ≥ 10 จะได้วา่ k − 2 ≥ 8 ดั งนั้ น จากข้อสมมติ จะมี x, y ∈ N0 ซึง่ k − 2 = 3x + 5y


ทำให้ได้วา่
k + 1 = k − 2 + 3 = 3x + 5y + 3 = 3(x + 1) + 5y

เลือก x% = x + 1, y% = y จะได้วา่ มี x%, y% ∈ N0 ซึง่ k + 1 = 3x% + 5y%


็ ง
ดั งนั้ น P (k + 1) เปนจริ
จากหลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม สรุปได้วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 8 มี x, y ∈ N0
ซึง่ n = 3x + 5y "

หมายเหตุ เราสามารถพิสจู น์ข้อความในตั วอย่างที่ 7 ได้อกี วิธหี นึง่ โดยการแจงกรณี (ให้ผ้อู า่ นทำเปนแบบฝ ึ ด)
กหั

จากตั วอย่างในบทนี้ จะเห็นว่าเราใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์สำหรั บพิสจู น์ข้อความเกีย่ วกั บจำนวนเต็ม ซึง่


็ ง ตั้ งแต่จำนวนเต็ม ค่า หนึง่ และความจริง ของข้อความนั้ น ทีจ่ ำนวนเต็ม ตั ว ถั ด ไป จะสามารถแสดงได้
เริม่ เปนจริ
โดยใช้ ความจริงของข้อความทีจ่ ำนวนเต็มตั วก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม อาจมีบางข้อความทีส่ ามารถพิสจู น์ได้ ทั้ง
โดยอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ และโดยวิธอี นื่ ๆ ทีก่ ล่าวมาในบทที่ 3 และบทที่ 4

ึ ดบทที่ 5
แบบฝกหั
1. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่
(i) 1 · 1! + 2 · 2! + 3 · 3! + · · · + n · n! = (n + 1)! − 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
1 2 3 n−1 2n − n − 1
(ii) + 2 + 3 + · · · + n−1 =
2 2 2 2 2n−1
สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 2

2. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่


n(n + 1)
12 − 22 + 32 − 42 + · · · + (−1)n+1 n2 = (−1)n+1 ·
2

สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
3. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่
n2 (n + 1)2 (2n2 + 2n − 1)
15 + 2 5 + 3 5 + · · · + n5 =
12

สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
4. จงพิสจู น์วา่ 10 | (n5 − n) สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
5. จงพิสจู น์วา่ 1 + 14 + 19 + · · · + n12 ≤ 2 − n1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
6. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่ 3n > n3 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 4
5.2 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์อย่างเข้ม 95

7. ็ ง โดยที่ x > −1 จงพิสจู น์วา่


ให้ x เปนจำนวนจริ
(1 + x)n ≥ 1 + nx

สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n (อสมการนี้มชี อื่ เรียกว่า Bernoulli’s Inequality)


8. ็ บซึง่ a1 = 2 และ
ให้ {an}∞n=1 เปนลำดั
1
an+1 =
3 − an
สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n

จงพิสจู น์วา่ an ≤ 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 2


9. ็ บซึง่ p2 = 12 , p3 = 23 และสอดคล้องกั บความสั มพั นธ์
ให้ {pn}∞n=2 เปนลำดั
pn = n−1
n
· pn−2 เมือ่ n ≥ 4
จงแสดงว่า pn > n1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 3
10. ิ กชี (Fibonacci sequence) คือลำดั บ {Fn}∞n=1 โดยที่ F1 = 1, F2 = 1 และ
ลำดั บฟโบนั
Fn = Fn−1 + Fn−2 เมือ่ n ≥ 3
ดั งนั้ น จะได้ F3 = 2, F4 = 3, F5 = 5, . . .
็ ง
จงพิสจู น์วา่ ข้อความต่อไปนี้เปนจริ
(a) F1 + F2 + F3 + · · · + Fn = Fn+2 − 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
(b) Fn−1 Fn+1 = Fn 2 + (−1)n สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 2
(c) 2
F2n = Fn+1 2
− Fn−1 สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 2
11. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 28 มีจำนวนเต็ม
บวก x, y ซึง่ n = 5x + 8y
- .
12. จงพิสจู น์วา่ 3n+1 | n
23 + 1 สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 0
13. ็ งซ้อน โดยที่ z+ z1 = 2 cos θ แล้ว z n + z1n = 2 cos nθ สำหรั บทุกจำนวนเต็ม
จงพิสจู น์วา่ ถ้า z เปนจำนวนเชิ
บวก n
14. จงใช้อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ≥ 3 ผลรวมของมุม
ภายในรูป n เหลีย่ มเท่ากั บ 180(n − 2) องศา
15. จงใช้ อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์วา่ สำหรั บทุกจำนวนเต็ม n ≥ 0 เซตจำกั ดทีม่ สี มาชิก n ตั ว จะมีสับ
เซตทั้ งหมด 2n สั บเซต
16. ให้ θ ∈ R จงแสดงว่า สำหรั บทุก n ∈ N มี Pn(x) ซึง่ เปนพหุ ็ นามดีกรี n ทีม่ สี ั มประสทิ ธิ์เปน็ จำนวนเต็ม
โดยที่ cos(nθ) = Pn(cos θ)
96 อุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์

17. จงแสดงว่าสำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n ตารางหมากรุกขนาด 2n × 2n ทีถ่ กู ตั ดช่องขนาด 1 × 1 ออกไป 1


ช่อง จะสามารถปูด้วยแผ่นรูปตั ว L ดั งรูปได้เต็มพอดี

'n / 0
n
18. จงพิสจู น์วา่ i
i
= n2n−1 สำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
i=1

19. จงใช้ อปุ นั ยเชิงคณิตศาสตร์เพือ่ พิสจู น์ทฤษฎีบททวินาม ซึง่ กล่าวว่า สำหรั บทุกจำนวนจริง x, y และสำหรั บ
ทุกจำนวนเต็มบวก n
/ 0 / 0 / 0 / 0
n n n n n−1 n n−r r n n
(x + y) = x + x y + ··· + x y + ··· + y
0 1 r n

20. จงวิเคราะห์วา่ การพิสจู น์ตอ่ ไปนี้มขี ้อผิดพลาดทีส่ ำคั ญอย่างไร และควรแก้ไขอย่างไร


สำหรั บทกจำนวนเต็
ุ มบวก n
1 2 3 n 1
+ + + ··· + =1−
2! 3! 4! (n + 1)! (n + 1)!
1 2 3 n 1
พิสจู น์ ให้ P (n) แทนข้อความ + + + · · · +
2! 3! 4! (n + 1)!
=1−
(n + 1)!

ขั้ นฐาน เมือ่ n = 1 จะเห็นว่า P (1) คือข้อความ 2!1 = 1 − (1 +1 1)!


็ ง เนือ่ งจาก 1 = 1 และ 1 − 1 = 1 − 1 = 1
ซึง่ เปนจริ 2! 2 (1 + 1)! 2 2


ขั้ นอุปนั ย ให้ k เปนจำนวนเต็
มบวกใด ๆ
็ ง นั น่ คือ สมมติวา่ 1 + 2 + 3 + · · · + k = 1 − 1
สมมติวา่ P (k) เปนจริ 2! 3! 4! (k + 1)! (k + 1)!
จะได้วา่
1 2 3 k+1 1
+ + + ··· + =1−
2! 3! 4! (k + 2)! (k + 2)!
1 2 3 k k+1 1
+ + + ··· + + =1−
2! 3! 4! (k + 1)! (k + 2)! (k + 2)!
1 k+1 1
1− + =1− (จากข้อสมมติ)
(k + 1)! (k + 2)! (k + 2)!
k+2 k+1 1
1− + =1−
(k + 2)! (k + 2)! (k + 2)!
(k + 2 − k − 1) 1
1− =1−
(k + 2)! (k + 2)!
1 1
1− =1−
(k + 2)! (k + 2)!
็ ง
ดั งนั้ น P (k + 1) เปนจริ
็ งสำหรั บทุกจำนวนเต็มบวก n
โดยหลั กการของอุปนั ยเชิงคณิตศาสตร์ สรุปได้วา่ P (n) เปนจริ "
เอกสารอ้างอิง
1. R. Bartle and D. Sherbert, Introduction to Real Analysis, 3rd edition, John Wiley & Sons, 2000.

2. G. Chartrand et al., Mathematical Proof: A Transition to Advanced Mathematics, 2nd edition,


Pearson Education, 2008.

3. J. D’Angelo and D. West, Mathematical Thinking: Problem-Solving and Proofs, 2nd edition,
Prentice Hall, 2000.

4. L. van den Dries, Mathematical Logic (Math 570) Lecture Notes, University of Illinois at Urbana-
Champaign, 2007.

5. A. Engel, Problem Solving Strategies, Springer, 1997.

6. T. Gowers, The Princeton Companion of Mathematics, Princeton University Press, New Jersey,
2008.

7. R. Hammack, Book of Proof, Victoria State University, 2009.

8. S. Simpson, Mathematical Logic, Pennsylvania State University, 2011.

ภาพปก: Drawing Hands โดย M. C. Escher (1948)

97

You might also like