You are on page 1of 14

J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No.

1 (2015)

การศึกษาแนวแนวคิดเรือ่ ง กรด–เบส ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5

จิ ณห์ณิภา นาคะเสนี ย1์ ปัฐมาภรณ์ พิ มพ์ทอง1* และพรพรรณ พรศิ ลปทิ พย์2

1สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศก
ึ ษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
และ 2สาขาวิชาเคมีวเิ คราะห์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร 10900
*E-mail: fedupppi@ku.ac.th

รับบทความ: 5 มีนาคม 2558 ยอมรับตีพิมพ์: 18 พฤษภาคม 2558


บทคัดย่อ
จุดมุ่งหมายของงานวิจยั นี้คอื เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่อง กรด–เบส ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี
5 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พเิ ศษแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรจี ํานวน 48 คน เครื่องมือที่ใช้ใน
งาน วิจยั ได้แก่ แบบวัดแนวคิดชนิดปลายเปิ ด ในหัวข้อสารละลายกรด–เบสและทฤษฎีกรด–เบส วิเคราะห์
ข้อมูลโดยจัดกลุม่ แนวคิดของนักเรียนตามการจัดกลุม่ ของ Andersson (1990) ผลการวิจยั พบว่า นักเรียน
ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 46.51 ใช้องค์ประกอบของสารในการพิจารณาว่าสารชนิดใดเป็ นกรด เช่น สารทีเ่ ป็ นกรด
คือสารทีม่ ี H หรือ S เป็ นองค์ประกอบ และนักเรียนร้อยละ 48.84 ใช้ประสบการณ์ในชีวติ ประจําวันในการ
อธิบายความเป็ นเบสของสาร เช่น เบสคือสารที่สมั ผัสแล้วลื่น มีรสฝาด ไม่เปรีย้ วและไม่กดั กร่อน สําหรับ
หัวข้อทฤษฎีกรด–เบส แบ่งได้เป็ น 3 ประเด็น คือ ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่
ร้อยละ 48.49 อธิบายว่ากรดคือสารที่แตกตัวได้ H+ และนักเรียนร้อยละ 42.43 อธิบายว่าเบสคือสารที่
แตกตัวได้ OH– โดยส่วนมากไม่ได้กล่าวถึงนํ้าซึ่งเป็ นตัวทําละลาย สําหรับทฤษฎีกรด–เบสของเบรินเสตด–
ลาวรี พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่รอ้ ยละ 33.33 อธิบายความเป็ นกรดของสารโดยใช้เหตุผลอื่น ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ ว-
ข้องกับทฤษฎีก รด–เบส เช่น อธิบายกว่า กรดคือ สารที่ม ีป ระจุ บ วก กรดคือสารที่ม ี H มากกว่า และ
นักเรียนร้อยละ 33.33 อธิบายความเป็ นเบสของสารว่า เบสคือสารทีม่ ปี ระจุลบหรือเป็ นสารทีไ่ ม่นําไฟฟ้ า
และสําหรับทฤษฎีกรด–เบสของลิวอิส พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่รอ้ ยละ 18.18 อธิบายว่า กรดคือสารทีร่ บั
อิเล็กตรอนจากสารอื่น และเบสคือสารทีใ่ ห้อเิ ล็กตรอนแก่สารอื่น

คําสําคัญ: แนวคิด กรด–เบส ทฤษฎีกรด–เบส


 

70
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

The Study of Grade 11th Students’ Acid–Base Conceptions

Jinnipa Nakasenee1, Pattamaporn Pimthong1* and Pornpun Pornsilapatip2


1Division of Science Education, Department of Education, Faculty of Education, and
2Division of Analytical Chemistry, Department of Chemistry, Faculty of Science,
Kasetsart University, Bangkhen, Bangkok 10900, Thailand
*E-mail: fedupppi@ku.ac.th

Abstract
The purpose of this study was to study forty eight Grade 11th students’ conceptions about
acids and bases in a special large school of Nontaburi province. The research instrument was an
open-ended concept survey about acids and bases and theories of acids and bases. The data
were analyzed by categorizing into groups based on Andersson (1990). The result found that
46.51% of students identified acids by using the compositions of substance. For example, acid
was included H and S. While 48.84% of students identified bases by relating to everyday life. For
instance, base felt slippery, bitter, was not sour and corrosion. There were three theories of acid
and base. Following the Arrhenius theory, most students (48.49%) explained that acids produced
H+ while 42.43% of students explain that bases produced OH–. Most of them did not mention water
as a solvent. Following the Brønsted–Lowry theory, most students (33.33%) gave other explanations
which did not related to theories of acids and bases. For example, acids hold positive ion, acids
had H more than bases. Other 33.33% of students gave similar explanations, for example, bases
hold negative ion and base did not conduct electricity. For the Lewis theory, most students (18.18%)
explained that acid was an electron acceptor and base was an electron donor.
Keywords: Concept, Acid-base, Acid-base theory

71
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

บทนํา แล้วเกิดการแตกตัวเป็ นไอออนและนําไฟฟ้ าได้ เกีย่ ว-


มโนมติหรือแนวคิดทางวิทยาศาสตร์นนั ้ ข้องกับการอธิบายสมบัตคิ วามเป็ นกรด–เบส โดย
มีทงั ้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรมและนามธรรม โดยแนวคิดหนึ่ง ใช้ทฤษฎีกรด–เบส เช่น ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เร-
อาจเกิดจากการเอาแนวคิดหลายอย่างมาสัมพันธ์ เนียส ทฤษฎีกรด–เบสของเบรินสเตด–ลาวรี (สสวท.,
กันตามหลักของความเป็ นเหตุเป็ นผลมีสว่ นช่วย 2554) สําหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 นัน้
ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจบทเรียนและมีความรู้ใน เคยเรียนเนื้อหากรด–เบสมาแล้วในเรือ่ ง สารและ
ระดับทีส่ งู ขึน้ (ภพ เลาหไพบูลย์, 2534) ถ้าแนวคิด สมบัตขิ องสาร ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น จาก
นัน้ เกิดความคลาดเคลื่อนไปจากแนวคิดวิทยาศาสตร์ ข้อมูลในตัวชี้วดั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้
หรือเรียกว่า แนวคิดคลาดเคลื่อน (alternative con- พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 (สํานักวิชาการและมาตรฐานการ
ception) จะเกิดอุปสรรคต่อการเรียนรูใ้ หม่ (ชาตรี ศึกษา, 2552) ตัวชี้วดั ที่ 3 สารและสมบัตขิ องสาร
ฝ่ ายคําตา, 2554) โดยครูเป็ นผูท้ ม่ี บี ทบาทสําคัญที่ ดังนี้
จะจัดการเรียน การสอนเพือ่ แก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อน มาตรฐาน ว 3.1
ของนักเรียนให้สอดคล้องกับแนวคิดของนักวิทยา- ระดับชัน้ ตัวชี้วดั
ศาสตร์ ในส่วนของเนื้อหาวิชาเคมีทอ่ี ยูใ่ นสาระที่ 3
ม. 1 - ทดลองและอธิบายสมบัตคิ วามเป็ น
(สารและสมบัตขิ องสาร) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
กรด–เบสของสารละลาย
วิทยาศาสตร์ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการ
- ตรวจสอบค่า pH ของสารละลาย
ศึกษา, 2552) จัดเป็ นวิชาหนึ่งทีม่ คี วามสําคัญและ
และนําความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
มีเนื้อหาทีเ่ ฉพาะเจาะจง โดยมุง่ เน้นไปทีก่ าร ศึกษา
มาตรฐาน ว 3.2
เกี่ยวกับสมบัตขิ องวัสดุและสารแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
ระดับชัน้ ตัวชี้วดั
อนุ ภาค การเปลีย่ นสถานะ การเกิดสารละลายและ
ม. 2 - ทดลอง อธิบายและเขียนสมการ
การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีของสาร สมการเคมีและการ
เคมีของปฏิกริ ยิ าของสารต่าง ๆ
แยกสาร เนื้อหาเหล่านี้เป็ นเรื่องทีม่ คี วามซับซ้อน
และนําความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
และมักจะสอนโดยการแสดงให้นักเรียนเห็นของจริง
ได้ยาก เช่น พันธะของสารเคมี โครงสร้างภายใน จะเห็นว่า นักเรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษา
อะตอม ทําให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อน ปี ท่ี 5 เคยเรียนเนื้อหาเรือ่ ง กรด–เบส มาแล้ว ใน
(Nieswandt, 2001) แนวคิดเหล่านี้ส่งผลต่อการ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น ซึง่ ศึกษาการวัดค่า
ยอมรับและทําความเข้าใจแนวคิดวิทยาศาสตร์ pH ของสารละลาย โดยใช้กระดาษลิตมัสหรือยูนิ-
การพยายามตรวจสอบแนวคิดคลาดเคลื่อนของ เวอร์แซลอินดิเคเตอร์ และศึกษาสมบัตพิ น้ื ฐานของ
ผูเ้ รียน จะทําให้ครูผสู้ อนสามารถวางแผนจัดการ กรด–เบส เช่น กรดคือสารทีม่ รี สเปรีย้ ว ทําปฏิกริ ยิ า
และแก้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ จากแนวคิดเหล่านัน้ ได้ กับโลหะได้แก๊สไฮโดรเจน กรดทําปฏิกริ ยิ ากับหินปูน
สําหรับเนื้อหาเรือ่ งกรด–เบส เป็ นเนื้อหา ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และเปลีย่ นสีกระดาษ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับสมบัตขิ องสารละลายกรดและเบส ซึง่ ลิตมัสจากสีน้ําเงินเป็ นสีแดง และเบสคือสารทีม่ รี ส
มีสมบัตเิ ป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ คือ สารทีเ่ มื่อละลาย ฝาด ไม่ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับโลหะยกเว้นอะลูมเิ นียม ทํา
72
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

ปฏิกริ ยิ ากับไขมันได้สบู่ และเปลีย่ นสีกระดาษลิตมัส แนวคิ ดวิ ทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้


จากสีแดงเป็ นสีน้ําเงิน (ประดับ นาคแก้ว, 2553) ความเข้าใจของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับปรากฏการณ์
จากการศึกษางานวิจยั พบว่า นักเรียน ต่าง ๆ มาจากการรับรู้ การศึกษาจากหลักการ ข้อ-
ส่วนมากเกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนในแนวคิดนี้ เช่น เท็จจริงและประสบการณ์ของแต่ละบุคคล โดยอาศัย
จากงานวิจยั ของ สุภาพร อินบุญนะ (2541) ศึกษา ความสัมพันธ์ทเ่ี ป็ นเหตุเป็ นผลกัน และเป็ นแนวคิด
แนวคิดเรื่องกรด–เบสของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ที่ได้รบั การยอมรับจากนักวิทยาศาสตร์ วัดโดย
ปี ท่ี 6 จํานวน 344 คนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ใช้แบบวัดแนวคิดและแบบสัมภาษณ์ชนิดกึง่ โครง-
พบว่า นักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนในทุกแนวคิด สร้างซึ่ง ในการวิจ ยั ครัง้ นี้ ใ ช้ก ารจัด กลุ่ม แนวคิด
ทีไ่ ด้เลือกมาศึกษา เช่น เข้าใจว่าสารทีม่ คี ุณสมบัติ ของนักเรียนตามการจัดกลุม่ ของ Andersson (1990)
เป็ นกลางทุกชนิด ไม่นําไฟฟ้ า หรือสารละลายอิเล็ก-
โทรไลต์ทุกชนิดต้องมีคุณสมบัตเิ ป็ นกรดหรือเบส วิ ธีดาํ เนิ นการวิ จยั
และจากงานวิจยั ของ จิตตมาส สุขแสวง (2549) ศึกษา งานวิจยั นี้เป็ นงานวิจยั เชิงสํารวจ (survey
แนวคิดของนักเรียนและพฤติกรรมการสอนของ research) เพื่อสํารวจแนวคิดเรื่องกรด–เบสของ
ครูเรือ่ ง กรด–เบส ในระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 นัก เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 โดยมีข นั ้ ตอนใน
ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในเขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ พบว่า การศึกษาดังนี้
โดยภาพรวมแล้ว นักเรียนส่วนใหญ่มแี นวคิดคลาด- 1. การสร้างแบบวัดแนวคิ ด ผู้วจิ ยั ได้
เคลื่อน เช่น ไม่เข้าใจว่าสารคูใ่ ดเป็ นคู่กรด–เบสซึง่ ทําสร้างแบบวัดแนวคิดเริม่ จากการศึกษาหลักสูตร
กันและกันและสารใดทีไ่ ม่ได้เป็ นคู่กรด–เบสซึง่ กัน และหนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติม เคมี เล่ม 3 ระดับ
และกัน เลือกใช้ทฤษฎีกรด–เบสไม่ถูกต้องในการ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 4 – 6 และสรุปแนวคิดทัง้ หมด
อธิบายสมบัติของกรดและเบสชนิดต่าง ๆ และ ทีต่ อ้ งการศึกษาในเรื่องกรด–เบส ในหัวข้อสารอิเล็ก-
ไม่สามารถจําแนกสมบัตคิ วามเป็ นกรด–เบสของ โทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์ สารละลายกรด–
สารบางชนิดได้ เช่น แอมโมเนีย (NH3) เบส ทฤษฎีกรด–เบส ความแรงของกรด–เบส กรด
มอโนโพรทิกและกรดพอลิโพรทิก ศึกษาวิธกี าร
คําถามการวิ จยั
สร้างแบบวัดและกรอบเครือ่ งมือ จากนัน้ สร้างแบบ-
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 มีแนวคิด
วัดแนวคิด และส่งแบบวัดแนวคิดให้อาจารย์ท่ี
ในวิชาเคมีเรือ่ ง กรด–เบส เป็ นอย่างไร
ปรึกษาตรวจสอบและแก้ไขก่อนปรับแก้แบบวัด
นิ ยามศัพท์ และส่งให้ผเู้ ชีย่ วชาญจํานวน 4 ท่านตรวจสอบ เมื่อ
แนวคิ ดคลาดเคลื่อน หมายถึงแนวคิด ได้รบั คําแนะนําจากผูเ้ ชีย่ วชาญแล้ว ปรับแก้แบบ-
ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ท่แี ตก- วัดแนวคิดและนํา ไปทดลองใช้กบั กลุ่มทดลองซึ่ง
ต่างจากแนวคิดทีไ่ ด้รบั การยอมรับของนักวิทยา- เป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 จํานวน 43 คน
ศาสตร์ วัดโดยใช้แบบวัดแนวคิดและแบบสัมภาษณ์ จากนัน้ ปรับแก้แบบวัดอีกครัง้ ก่อนนําไปใช้จริง
ชนิดกึง่ โครงสร้าง

73
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

ตัวอย่างข้อคําถามในแบบวัดแนวคิด 2. การเก็บรวบรวมและวิ เคราะห์ข้อมูล


1. จากสารละลายตัวอย่างทัง้ 6 ชนิด คือ สาร- ผูว้ จิ ยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยให้ผเู้ รียน
ละลาย H2SO4, NH3, NaCl, CsOH, CaCl2 และ HBr ให้
ทําแบบทดสอบ ชุดละ 20 นาที และสัมภาษณ์เพิม่ -
นักเรียนเติมคําตอบลงในตารางให้สมบูรณ์
เติมสําหรับกลุม่ ตัวอย่างทีม่ คี าํ ตอบทีน่ ่าสนใจ โดย
ความเป็ น ให้นกั เรียนนํา นักเรียนทราบได้
ให้นักเรียนอธิบายเพิม่ เติมเกี่ยวกับคําตอบที่ได้
กรด–เบส สูตรเคมีของสาร อย่างไรว่าสารเหล่านี้ม ี
ของสาร ตัวอย่างเติมลง สมบัตเิ ป็ นกรดหรือเบส
ตอบลงในแบบวัดแนวคิด จากนัน้ จึงวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในตาราง (อธิบายเหตุผล โดยใช้รอ้ ยละ แบ่งกลุม่ แนวคิดของผูเ้ รียนตามการ
ประกอบ) จัดกลุม่ ของ Andersson (1990) โดยจัดกลุม่ แนวคิด
กรด ทีม่ คี วามคล้ายคลึงกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน จากนัน้
เบส ตัง้ ชื่อกลุม่ และวิเคราะห์หาแนวคิดคลาดเคลื่อนของ
ผูเ้ รียน
2. จงพิจ ารณาข้อ มูล ที่กํา หนด แล้ว ให้ “คํา
จํากัดความ” ของกรดและเบส
กลุ่มที่ศึกษา
ข้อมูล กลุ่มทีศ่ กึ ษาเป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
สมการที่ 1 ปี ท่ี 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์–คณิตศาสตร์
HCl (g) H2O H+ (aq) + Cl– (aq)
กรด โรงเรียนรัฐบาลขนาดใหญ่พเิ ศษแห่งหนึ่งในจังหวัด
คําตอบ ..................................................................... นนทบุร ี จํานวน 48 คน
สมการที่ 2
NaOH(s) H2O Na+(aq) + OH–(aq) ผลการวิ จยั
เบส 1. แนวคิ ดเรื่องสารละลายกรด–เบส
คําตอบ .....................................................................
ประกอบด้วย 2 แนวคิดย่อย ดังนี้
สมการที่ 3
1.1 แนวคิ ดเกี่ยวกับสารละลายกรด
CH3COOH(aq) + H2O(l) ⇋ CH3COO–(aq) + H3O+(aq)
กรด 1 เบส 2 เบส 1 กรด 2 จากการศึกษาจัดกลุ่มแนวคิดของนักเรียนได้ดงั
คําตอบ ..................................................................... ตาราง 1
สมการที่ 4
ตาราง 1 ร้อยละของกลุ่มแนวคิดของนักเรียนจาก
NH3 (aq) + H2O(l) ⇋ NH4+(aq) + OH–(aq)
เบส 1 กรด 2 กรด 1 เบส 2 แบบวัดแนวคิดในหัวข้อสารละลายกรด
คําตอบ ..................................................................... กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
สมการที่ 5 1. พิจารณาโดยใช้องค์ประกอบของสาร
หรือดูจากสูตรเคมี (Name, N)
1.1 กรดคือสารทีม่ ี H หรือ มี H+ เป็ น 25.58
องค์ประกอบ (N1)
1.2 กรดคือสารทีม่ อี งค์ประกอบอื่น 18.61
คําตอบ ..................................................................... เช่น S, SO4, Ca, Na, Cl (N2)

74
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

ตาราง 1 (ต่อ) (ร้อยละ 46.51) เช่น กรดคือสารที่ม ี H หรือ มี H+


กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ เป็ นองค์ประกอบ และอธิบายความเป็ นเบสโดยใช้
1.3 กรดคือสารทีม่ เี ลขห้อย (N3) 2.32 สมบัตขิ องเบสหรือประสบการณ์ในชีวติ ประจํา-
2. พิจารณาจากสมบัตขิ องสาร เช่น กรด 37.21 วันมาอธิบายความเป็ นเบส (ร้อยละ 48.84) เช่น
คือ สารทีท่ ําให้ระคายเคือง กัดกร่อนได้
เบสคือสารทีส่ มั ผัสแล้วลื่น มีรสฝาด ไม่เปรีย้ ว และ
เป็ นอันตราย ดูไม่คุน้ เคยหรือเป็ นเกลือ
(Property of acid, PA) ไม่กดั กร่อน หรือไม่เป็ นอันตรายจากการสัมภาษณ์
3. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม 16.28 ตัวอย่างนักเรียนเพิม่ เติมได้ขอ้ มูล ดังนี้
(No respond, NO) ครู: ตรงนี้เราตอบครูวา่ H2SO4 NH3 และ
รวม 100.00 HBr เป็ นกรด เพราะอะไร เราอธิบายเพิม่ เติมให้ครูฟัง
ได้ไหม
1.2 แนวคิ ดเกี่ ยวกับสารละลายเบส
นํ้ ามนต์: หนู ดูจากองค์ประกอบของมันค่ะ
จากการศึกษาจัดกลุ่มแนวคิดของนักเรียนได้ดงั
หนู จําได้วา่ กรดจะต้องมีไฮโดรเจนอยูด่ ว้ ย
ตาราง 2
จะเห็น ได้ว่า นํ้ า มนต์ม ีแนวคิดคลาด-
ตาราง 2 ร้อยละของกลุม่ แนวคิดของนักเรียนจาก เคลื่อน สารทีม่ ไี ฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบ มีสมบัติ
แบบวัดแนวคิดในหัวข้อสารละลายเบส เป็ นกรด โดยไม่ได้พจิ ารณาถึงไอออนทีไ่ ด้จากการ
กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ แตกตัวของสาร ทําให้น้ํามนต์เข้าใจว่า แอมโมเนีย
1. พิจารณาโดยใช้องค์ประกอบของสาร เป็ นกรด เพราะในสูตรเคมีของแอมโมเนียมีไฮโดรเจน
หรือดูจากสูตรเคมี (Name, N) เป็ นองค์ประกอบด้วย ซึง่ สารทุกชนิดทีม่ ไี ฮโดรเจน
1.1 เบสคือสารทีม่ ี OH หรือ OH– เป็ น 20.93
เป็ นองค์ประกอบไม่ได้มสี มบัตเิ ป็ นกรดเสมอไป
องค์ประกอบ (N4)
1.2 เบสคือสารทีไ่ ม่ม ี H หรือ Cl เป็ น 4.65 ครู: อธิบายคําตอบตรงนี้ให้ครูฟังเพิม่ เติมได้
องค์ประกอบ (N5) ไหมคะ ทําไมหนูถงึ คิดว่า H2SO4 และHBr เป็ นกรดล่ะ
1.3 เบสคือสารทีม่ อี งค์ประกอบอื่น ๆ (N6) 6.98 มุตตา: หนูคดิ ว่ามันมี H+ เป็ นองค์ประกอบค่ะ
1.4 เบสคือสารทีไ่ ม่มเี ลขห้อย (N7) 2.32 ครู: รูไ้ ด้ยงั ไงว่ามันมี H+ เป็ นองค์ประกอบล่ะ
2. พิจารณาจากสมบัตขิ องสาร เช่น เบสคือ 48.84 มุตตา: ในสูตรมันมีไฮโดรเจนค่ะครู หนู คุน้ ๆ
สารทีส่ มั ผัสแล้วลื่น มีรสฝาด ไม่เปรีย้ วและ เหมือนเคยเรียนมาแล้วว่ากรดมันจะมี H+ เป็ นองค์-
ไม่กดั กร่อน หรือไม่เป็ นอันตราย (Property ประกอบด้วย
of base, PB) ครู: แล้ว CsOH ล่ะ มันก็มไี ฮโดรเจนนะ ทําไม
3. ไม่อธิบายเหตุ ผล หรือไม่ ตอบคํ า ถาม 16.28
เราถึงตอบว่ามันเป็ นเบสล่ะ
(No respond, NO)
มุตตา: อันนี้มนั มีทงั ้ O กับ H เลยค่ะครู ถ้า
รวม 100.00 –
มี OH เป็ นองค์ประกอบ ก็จะเป็ นเบส
จากผลการศึกษา พบว่า นักเรียนส่วน- ครู: ในสูตร มันก็มแี ค่ O กับ H นี่ เรารูไ้ ด้
ใหญ่ อธิบายความเป็ นกรดของสารโดยพิจารณา ยังไงล่ะว่ามันต้องมี OH– เป็ นองค์ประกอบ ทําไมต้อง
จากองค์ประกอบของสารหรือสังเกตจากสูตรเคมี เป็ นไอออนลบล่ะ เป็ น OH– ไม่ได้เหรอ

75
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

มุตตา: ... (หัวเราะ) ไม่อ่ะครู หนู จําได้ว่า 2.1 ทฤษฎี กรด–เบสของอาร์เรเนี ยส


เบสมันเกี่ยวกับ OH– หนู คดิ ว่ามันต้องมี OH– เป็ น จากการศึกษาจัดกลุ่มแนวคิดของนักเรียนได้ดงั
องค์ประกอบค่ะ ตาราง 3
จากคําตอบของมุตตา จะเห็นว่า มุตตามี ตาราง 3 ร้อยละของกลุ่มแนวคิดของนักเรียนจาก
แนวคิดคลาดเคลื่อนว่า กรดคือสารทีม่ ี H+ เป็ นองค์- แบบวัดแนวคิดในหัวข้อทฤษฎีกรด–
ประกอบ และเบสคือสารทีม่ ี OH– เป็ นองค์ประกอบ เบสของอาร์เรเนียส
อาจเป็ นเพราะมุ ตตาไม่ได้ม ีความเข้าใจแนวคิด กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
วิทยาศาสตร์อย่างลึกซึ้ง แต่จําได้ว่ากรดเกี่ยวข้อง กรด
กับ H+ และเบสเกีย่ วข้องกับ OH– จึงเข้าใจว่ากรด 1. พิจารณาไอออนจากการแตกตัวหรือการ
มี H+ เป็ นองค์ประกอบ และเบสมี OH– ซึง่ ในความ ละลายของสาร (Ionization of acid, IA)
1.1 กรดคือสารทีล่ ะลายนํ้าหรือแตกตัว 27.27
เป็ นจริงจากสูตรเคมี H2SO4 และ HBr มีองค์ประกอบ
ในนํ้าได้ H+ (IA1)*
คือ H และ CsOH มีองค์ประกอบคือ O และ H และ 1.2 กรดคือสารทีแ่ ตกตัวได้ H+ (IA2) 48.49
หากพิจารณาการถึงแตกตัว เมื่อกรดแตกตัวในนํ้ า 2. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสอื่น 3.03
จะได้ H+ ส่วนเบสแตกตัวในนํ้าจะได้ OH– นอก- (Other theories of acid-base, OT)
จากนี้ สารที่มหี มู่ OH เป็ นองค์ประกอบ ก็ไม่ใช่ 3. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (Other, O)** 18.18
เบสเสมอไป เช่น สารประกอบแอมโมเนีย 4. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม 3.03
(No respond, NO)
ครู: อ่ะ ทําไมเลือกสารพวกนี้เป็ นเบสล่ะ
รวม 100.00
ราตรี: อันนี้หนู ไม่รู้ แต่ตวั นี้คอื แอมโมเนีย
ใช่ไหม ... หนู คดิ ว่ามันเอาไว้ดม ไม่น่าจะเป็ นกรด ส่วน กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
CaCl2 มันมีแคลเซียม เบส
ครู: ทําไมถึงคิดว่าถ้ามีแคลเซียมแล้วต้อง 1. พิจารณาไอออนจากการแตกตัวหรือการ
เป็ นเบสล่ะ ละลายของสาร (Ionization of base, IB)
1.1 เบสคือสารทีล่ ะลายนํ้าหรือแตกตัว 30.30
ราตรี: เพราะมันกินได้ มันอยูใ่ นตัวเรา
ในนํ้าแล้วได้ OH– (IB1)*
จากการสัมภาษณ์ จะเห็นว่า ทิวาและราตรี 1.2 เบสคือสารทีแ่ ตกตัวเป็ นไอออนได้ 42.43
มีแนวคิดคลาดเคลื่อน โดยทิวามีแนวคิดคลาด- OH– (IB2)
เคลื่อนว่า CsOH เป็ นกรด เนื่องจากมีไฮโดรเจน 2. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (O)*** 21.21
3. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม (NO) 6.06
เป็ นองค์ประกอบ และสําหรับราตรีมแี นวคิดคลาด-
รวม 100.00
เคลื่อ นว่า CaCl2 เป็ น เบส เนื่ อ งจากแคลเซียม *แนวคิดวิทยาศาสตร์

เป็ นสารทีไ่ ม่มอี นั ตราย เพราะเป็ นองค์ประกอบของ **พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น กรดคือสารทีแ


่ ตกตัวเป็ นไอออนได้หรือ
ร่างกาย แตกตัวได้ดี กรดคือสารทีม่ หี มูโ่ ลหะผสมอยู่ กรดคือสารทีม่ ไี ฮโดรเจนเป็ น
องค์ประกอบ กรดมีฤทธิ ์กัดกร่อน เปลีย่ นสีกระดาษลิตมัสจากนํ้าเงินเป็ นแดง
2. แนวคิ ดเรื่องทฤษฎีกรด–เบส ประ- ***พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น เบสคือสารทีม ่ หี มูโ่ ลหะและอโลหะผสม
กอบด้วย 3 แนวคิดย่อย ดังนี้ อยู่ เบสคือสารทีแ่ ตกตัวได้ Na+ เบสคือสารทีเ่ ป็ นของแข็ง หรือเบส
คือสารทีม่ รี สฝาด ลืน่ เปลีย่ นสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ นนํ้าเงิน

76
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

จากการสํารวจแนวคิดของนักเรียนเกีย่ ว- ได้ดงั ตาราง 4


กับทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส พบว่า นักเรียน ตาราง 4 ร้อยละของกลุม่ แนวคิดของนักเรียนจาก
ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 48.49) อธิบายว่า กรดคือสารที่ แบบวัดแนวคิดในหัวข้อทฤษฎีกรด–
แตกตัวเป็ นไอออนได้ H+ และเบสคือสารที่แตกตัว เบสของเบรินสเตด–ลาวรี
เป็ นไอออนได้ OH– (ร้อยละ 42.43) โดยไม่ได้อธิบาย
ถึงตัวทําละลายตามทฤษฎีของอาร์เรเนียส คือ กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
กรด
นํ้ า จากการสัมภาษณ์ตวั อย่างนักเรียนเพิม่ เติม
1. พิจารณาจากการให้โปรตอน (Proton 6.06
ได้ขอ้ มูลดังนี้ donor, PD) *

ครู: ข้อนี้ ทําไมหนูถงึ คิดว่า HCl เป็ นกรดล่ะ 2. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสอื่น (Other 15.15
นํ้าฝน: หนูดตู รงนี้คะ่ (ไฮโดรเจนไอออน theories of acid-base, OT)
ทีไ่ ด้จากการแตกตัวของ HCl ในนํ้า) อันนี้มนี ้ําใช่ 3. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสอื่น และ 12.13
มีเหตุผลอื่นประกอบด้วย (Other theories
ไหมค่ะ ก็คอื มันแตกตัวในนํ้ า กรดมันจะแตกตัว of acid-base and other reason, OTO)
ในนํ้าได้ H+ ค่ะครู 4. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (Other, O)** 33.33
หรือ 5. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม 33.33
ครู: แล้วทีห่ นูตอบครูมาว่า NaOH เป็ นเบส (No respond, NO)
เพราะแตกตัวได้ OH– ล่ะ อธิบายเพิม่ เติมได้ไหม รวม 100.00
นํ้าค้าง: อันนี้หนูดจู ากสมการค่ะ ในสมการ กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
มันแตกตัวได้ OH– ออกมา เบส
ครู: แล้วทีเ่ ขียนว่า OH– เป็ นเบส และ Na+ 1. พิจารณาจากการรับโปรตอน (Proton 9.09
เป็ นกรดล่ะ เราทราบได้อย่างไร acceptor, PA) *

นํ้ าค้าง: ก็เบสมันจะแตกตัวได้ OH– ใช่ 2. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสอื่น (OT) 12.12


ไหมคะ OH– มันคือตัวที่เป็ นเบส เพราะฉะนัน้ อีก 3.พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสอื่น และมี 3.03
เหตุผลอื่นประกอบด้วย (OTO)
ตัวก็ตรงต้องข้ามกันค่ะ คือเป็ นกรด
4. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (O)*** 33.33
จะเห็นว่า สายฝนมีแนวคิดวิทยาศาสตร์ 5. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม (NO) 42.43
โดยอธิบายว่า HCl เป็ นกรด เพราะเมื่อแตกตัวใน รวม 100.00
*แนวคิดวิทยาศาสตร์
นํ้าได้ H+ ส่วนนํ้าค้างถึงแม้จะมีแนวคิดวิทยาศาสตร์ **พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น กรดคือสารทีม
่ คี วามแรงมากกว่านํ้า กรด
ว่า NaOH เป็ นเบส เพราะแตกตัวได้ OH– แต่พบ คือสารทีท่ าํ ปฏิกริ ยิ ากับเบส กรดคือสารทีเ่ ป็ นประจุบวกหรือนําไฟฟ้ าได้
แนวคิดคลาดเคลื่อนเพิม่ เติมจากทีน่ ้ําค้างอธิบาย ***พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น เบสคือสารทีท่ าํ ปฏิกริ ยิ ากับกรด
เบสคือสารทีเ่ ป็ นประจุลบหรือทีไ่ ม่นําไฟฟ้ า
ว่า OH– ทีไ่ ด้จากการแตกตัวนัน้ เป็ นเบส ส่วน Na+
เป็ นกรด จากการสํารวจแนวคิดของนักเรียนเกีย่ ว-
2.2 ทฤษฎี กรด–เบสของเบริ นสเตด– กับทฤษฎีกรดเบสของเบรินสเตด–ลาวรี พบว่า นัก-
ลาวรี จากการศึกษาจัดกลุม่ แนวคิดของนักเรียน เรียนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 33.33) อธิบายความเป็ น

77
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

กรด–เบสของสารโดยใช้เหตุผลอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยว- ตาราง 5 ร้อยละของกลุ่มแนวคิดของนักเรียนจาก


ข้องกับทฤษฎีกรด–เบส เช่น อธิบายกว่า กรดคือ แบบวัดแนวคิดในหัวข้อทฤษฏีกรด–เบส
สารทีม่ ปี ระจุบวก กรดคือสารทีม่ ี H มากกว่า หรือ ของลิวอิส
ใช้ขอ้ มูลจากการทดลองในห้องเรียนมาตอบคําถาม กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
นอกจากนี้นักเรียนบางส่วนยังอธิบายความเป็ น กรด
กรดของสารในส่วนนี้ว่า กรดคือสารที่แตกตัวได้ 1.พิจารณาจากการรับอิเล็กตรอน 18.18
(Electron acceptor, EA)
H+ แสดงว่า จากข้อมูลทีก่ าํ หนดให้ในสมการ นักเรียน
2. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสอื่น 6.06
ไม่ได้พจิ ารณาถึงความแตกต่างระหว่างนิยามว่า (Other theories of acid-base, OT)
กรดคือสารทีแ่ ตกตัวได้ H+ กับกรดคือสารทีใ่ ห้ H+ 3. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (Other, O)* 12.12
แก่สารอื่น และอธิบายความเป็ นเบสของสารว่า 4. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม 63.64
เบสคือสารทีม่ ปี ระจุลบ หรือเป็ นสารทีไ่ ม่นําไฟฟ้ า (No respond, NO)
(ร้อยละ 33.33) จากการสัมภาษณ์ตวั อย่างนักเรียน รวม 100.00
เพิม่ เติมได้ขอ้ มูลดังนี้ กลุ่มแนวคิ ด ร้อยละ
เบส
ครู: อธิบายคําตอบข้อนี้ให้ครูฟังเพิม่ เติมได้
1.พิจารณาจากการให้อเิ ล็กตรอน 18.18
ไหม ทีบ่ อกว่า CH3COOH เป็ นกรด เพราะนําไฟฟ้ าได้
(Electron donor, ED)
นับดาว: หนูคดิ ว่ากรดมันคืออะไรทีม่ นั แรง ๆ 2. พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสอื่น (OT) 6.06
ค่ะ ตอนทดลองหนูจาํ ได้สารตัวนี้มนั นําไฟฟ้ า 3. พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น (O)** 6.06
ครู: คือกรดทุกชนิดนําไฟฟ้ าได้เหรอ 4. ไม่อธิบายเหตุผล หรือไม่ตอบคําถาม (NO) 69.70
นับดาว: ค่ะ ก็กรดมันต้องแรงกว่าเบสอ่ะครู รวม 100.00
มันเลยนําไฟฟ้ าได้ดี *พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น กรดคือสารทีเ่ ป็ นตัวรับไอออน กรด
ครู: แล้วเบสล่ะ หนู จะอธิบายได้ไหมว่าสาร คือสารทีแ่ ตกตัวเป็ นไอออนได้ดหี รือแตกตัวหมด
**พิจารณาโดยใช้เหตุผลอื่น เช่น เบสคือสารทีเ่ ป็ นตัวให้ไอออน
พวกนี้เป็ นเบสเพราะอะไร
นับดาว: หนู คดิ ว่ามันไม่นําไฟฟ้ าค่ะ มันดู คําถาม ส่วนใหญ่อธิบายว่า กรดคือสารทีร่ บั อิเล็ก-
อ่อน ๆ มันไม่น่าจะทําอะไรได้ ตรอนจากสารอื่น และเบสคือสารทีใ่ ห้อเิ ล็กตรอน
จากการสัมภาษณ์ จะเห็นว่า นับดาวมีแนว- แก่สารอื่น (ร้อยละ 18.18) แต่ยงั นักเรียนบางส่วน
คิดคลาดเคลื่อนว่า กรดคือสารทีน่ ําไฟฟ้ าได้ ส่วน ทีใ่ ช้ทฤษฎีกรด–เบส อื่นหรือใช้สมบัตติ ่าง ๆ ของ
เบสคือสารทีไ่ ม่สามารถนําไฟฟ้ าได้ กรด–เบสในการอธิบายความเป็ นกรด–เบสของ
สารในสมการเคมี แสดงให้เห็นว่า นักเรียนไม่ได้
2.3 ทฤษฎีกรด–เบสของลิ วอิ ส จากการ พิจารณาข้อมูลตามที่ให้ในสมการและไม่สามารถ
ศึกษาจัดกลุม่ แนวคิดของนักเรียนได้ดงั ตาราง 5 เลือกใช้แนวคิดให้เหมาะสมได้ จากการสัมภาษณ์
จากการสํารวจแนวคิดของนักเรียน เกีย่ ว- นักเรียนเพิม่ เติมได้ขอ้ มูลดังนี้
กับทฤษฎีกรด–เบสของลิวอิส พบว่า นักเรียนส่วน-
ใหญ่ไม่ตอบคําถามในข้อนี้สาํ หรับนักเรียนทีต่ อบ

78
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

ครู: ตรงนี้ ทําไม BF3 ถึงเป็ นกรดล่ะ หนูอธิบาย ขึน้ มา ก็เท่ากับหนูโง่ลงซิคะ (หัวเราะ)
ได้ไหม ครู: แล้วหนู เคยเรียนเรื่องกรด–เบสมาก่อน
นับเดือน: กรดมันก็แตกตัวให้ H+ ไงคะครู บ้างไหม
ครู : แต่ BF3 มันไม่ ม ีไฮโดรเจนเป็ นองค์ - เจนจิรา: เคยค่ะ จําได้ตอน ม.ต้น ครูเค้าให้
ประกอบนะ มันแตกตัวให้ H+ ได้ดว้ ยเหรอ ทดสอบกระดาษลิตมัส แล้วก็สอนว่ากรดจะเปรี้ยว
นับเดือน: (เงียบ) (หัวเราะ) ... ก็ถ้าเป็ น กัดกร่อนได้ เบสจะฝาด ๆ ลืน่ ๆ ประมาณนัน้ ค่ะ
กรดมันก็คงแตกตัวได้ H+ แหละค่ะ มันเป็ นสมบัตขิ อง หรือ
กรดไม่ ใช่เหรอคะ ครู: มุนินทร์ ตรงนี้น่ีเราเว้นว่างไว้ เราตอบ
ครู: แล้วแอมโมเนียล่ะ ทําไมมันถึงเป็ นเบส ไม่ได้เลยเหรอ แบบ... เอาตามที่เราคิดก็ได้ ผิดถูก
นับเดือน: มันแตกตัวให้ OH– ค่ะครู ไม่เป็ นไรหรอก
ครู: แต่ตวั มันเองไม่มอี งค์ประกอบเป็ น มุนินทร์: (หัวเราะ) ... หนูไม่รจู้ ะอธิบายว่า
ไฮโดรเจน กับออกซิเจนเลยนะ ยังไงจริง ๆ ค่ะครู มันนึกไม่ออกเลย
นับเดือน: ก็ดจู ากสมการข้างบนเอาไงคะ มัน ครู: แล้วตอนนี้ล่ะ พอจะนึกออกหรือยังว่า

ก็ม ี OH อยู่ ทําไมสารตัวนี้ถงึ เป็ นกรด แล้วสารตัวนัน้ ถึงเป็ นเบส
มุนินทร์: (เงียบ) อืม ไม่รจู้ ริง ๆ ค่ะครู
จะเห็นว่า นับเดือนเลือกใช้ไอออนที่ได้
จากการแตกตัวของสารในการอธิบายความเป็ น จากการสัมภาษณ์ จะเห็นว่า มีนักเรียน
กรด–เบส ถึงแม้ในสมการเคมีจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับ บางส่วนทีไ่ ม่มคี วามรูเ้ กี่ยวกับทฤษฎีกรด–เบสมา
การแตกตัวในนํ้าแต่อย่างใด แสดงว่า นับเดือนไม่ ก่อนเลย จึงไม่สามารถเขียนอธิบายคําตอบนี้สว่ น
สามารถเลือกใช้แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีกรด–เบส นี้ได้ นอกจากนี้นกั เรียนบางส่วนมีความกังวลว่า
ให้เหมาะสมกับบริบทได้ นอกจากนี้นบั เดือนยังมี ถ้าเดาคําตอบมาแล้ว คําตอบนัน้ ถูกต้อง หากหลัง
แนวคิดคลาดเคลื่อนว่า ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH–) เรียนนักเรียนไม่สามารถตอบคําถามได้เท่ากับว่า
ในสมการมาจากการแตกตัวของ NH3 ทัง้ ทีจ่ ริงแล้ว นัก เรีย นมีพฒ
ั นาการที่แย่ลง จึงตัดสินใจไม่เขียน
ไฮดรอกไซด์ไอออนในสมการเกิดจากนํ้ าที่เสีย คําตอบในข้อนัน้
โปรตอนไป 1 ตัว
เนื่องจากในแนวคิดเรื่องทฤษฎีกรด–เบส สรุปและอภิ ปรายผลการวิ จยั
ของเบรินสเตด–ลาวรีและทฤษฎีกรด–เบสของลิวอิส จากผลการศึกษาแนวคิดของนักเรียน
มีนักเรียนในกลุ่มที่ไม่อธิบายเหตุผลหรือไม่ตอบ ในวิชาเคมี เรื่องกรด–เบส ในหัวข้อ สารละลายกรด–
คําถาม (NO) เป็ นจํานวนมาก ผูว้ จิ ยั จึงได้สมั ภาษณ์ เบส และทฤษฎีกรด–เบส สามารถสรุปประเด็น
นักเรียนเพิม่ เติม ดังนี้ สําคัญมาใช้ในการอภิปรายผลได้ดงั นี้
1. แนวคิ ดของนั กเรี ยนในเรื่ องสาร
ครู: เจนจิรา แล้วข้อนี้ทห่ี นูเขียนตอบครูวา่
ไม่ทราบ คือหนูไม่เคยเรียนเรือ่ งนี้มาก่อนเลยใช่ไหม ละลายกรด–เบส พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ ใ ช้
เจนจิรา: ค่ะครู หนูไม่รจู้ ริง ๆ ก็ไม่รจู้ ะเขียน องค์ประกอบของสารในการพิจารณาว่าสารชนิด
ว่ายังไงค่ะ เขียนมัวไป
่ ถ้าเกิดถูกแล้วหลังเรียนหนูผดิ ใดเป็ นกรด เช่น สารทีเ่ ป็ นกรดคือสารทีม่ ี H, H+,

79
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

S, SO4, Ca, Na และ Cl ทีเ่ ป็ นองค์ประกอบในสูตร แตกตัวเป็ นไอออนได้ H+ รองลงมาคือใช้เหตุผลอื่น ๆ


เคมี หรือเป็ นสารทีม่ เี ลขห้อยในสูตรเคมี รองลงมา ในการตอบคําถาม เช่น กรดคือสารที่แตกตัวเป็ น
คือ พิจารณาจากสมบัตขิ องสาร เช่น กรดคือสาร ไอออนได้ กรดคือสารที่มหี มู่โลหะผสมอยู่หรือมี
ทีท่ าํ ให้ระคายเคือง เป็ นอันตรายมากกว่าเบส เป็ น ไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบ และนักเรียนส่วนใหญ่
สารทีไ่ ม่คนุ้ เคย หรือเป็ นเกลือ เพราะสามารถกัด มีแนวคิดว่า เบสคือสารที่แตกตัวเป็ นไอออนได้
ผิวหนังทําให้เรารูส้ กึ แสบได้ ส่วนการพิจารณาว่า OH– รองลงมาคือเบสคือสารที่ละลายนํ้ าแล้วได้
สารชนิดใดเป็ นเบส นักเรียนส่วนใหญ่ใช้ประสบ- OH– สอดคล้องกับงาน วิจยั ทีพ่ บว่า สารละลายทุก
การณ์ ในชีวติ ประจําวันในการอธิบาย เช่น เบส ชนิดทีม่ ี H+ เป็ นองค์ประกอบจะมีสมบัตเิ ป็ นกรด
คือสารทีส่ มั ผัสแล้วลื่น มีรสฝาด ไม่เปรีย้ ว และไม่ ส่วนสารละลายที่ม ี OH– เป็ น องค์ป ระกอบจะมี
กัดกร่อน หรือไม่เป็ นอันตราย รองลงมาคือ พิจารณา สมบัตเิ ป็ นเบสเสมอ (สุภาพร อินบุญนะ, 2547;
โดยใช้องค์ประกอบของสารหรือดูจากสูตรเคมี เช่น Cetingul and Geban, 2005; Demircioglu, Ayas
เบสคือ สารที่ม ี OH, OH–, H และ Cl เป็ น องค์- and Demircioglu, 2005) นอกจากนี้ ผู้วจิ ยั ได้พบ
ประกอบ หรือเป็ นสารที่ไม่มเี ลขห้อยในสูตรเคมี ประเด็นเพิ่มเติมว่า ถึงแม้นักเรียนส่ว นใหญ่ จ ะ
และจากการสัมภาษณ์ เพิม่ เติม พบว่า นักเรียน อธิบายว่า กรดคือสารทีแ่ ตกตัวให้ H+ สารทีแ่ ตก-
อธิบายสมบัตขิ องเบสโดยเทียบจากสมบัตขิ องกรด ตัวได้ OH– แต่นักเรียนพิจารณาเพียงไอออนที่ได้
เช่น เบสต้องฝาดและไม่เปรีย้ ว เพราะถ้ามีรสเปรีย้ ว จากการแตกตัวเท่านัน้ โดยไม่ได้อธิบายถึงตัวทํา-
จะเป็ นกรด เบสต้องเป็ นสารทีไ่ ม่มอี นั ตรายเพราะ ละลาย (นํ้า) ในสมการ
กรดคือสารทีก่ ดั กร่อนรุนแรงและมีอนั ตราย หรือ - ทฤษฎีกรด–เบสของเบรินสเตด–ลาวรี
อธิบายว่าเบสคือสารทีร่ บั ประทานได้ ดมได้ เช่น พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่พจิ ารณาโดยใช้เหตุผลอื่น ๆ
เกลือหรือแอมโมเนีย เพราะถ้าสารเหล่านี้เป็ นกรด ที่ไม่เกี่ยวกับทฤษฎีกรด–เบส เช่น มีแนวคิดว่า
คงทําอันตรายแก่ร่างกาย สอดคล้องกับงาน วิจยั กรดคือสารที่ม ี H มากกว่า หรือใช้ขอ้ มูลจากการ
ทีพ่ บว่า นักเรียนมีแนวคิดว่ากรดเป็ นอันตรายมาก ทดลองในห้องเรียนมาตอบคําถาม เช่น กรดคือ
กว่าเบส ทําให้ผวิ หนังเกิดการระคายเคืองและไหม้ สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ํ าเงินเป็ นแดง
ได้ หรือวิธที จ่ี ะทดสอบว่าสารชนิดต่าง ๆ เป็ นกรด รองลงมาคือมีแนวคิดว่า กรดคือสารทีแ่ ตกตัวเป็ น
หรือไม่ คือ ต้องพิจารณาว่ามันสามารถกัดกินสิง่ ไอออนได้ H+ ทัง้ ๆ ทีใ่ นสมการนัน้ กรดไม่ได้แตก
ต่าง ๆ ได้ เช่น โลหะ พลาสติก คน หรือสัตว์ได้หรือ ตัวให้ H+ออกมาเป็ นสารผลิตภัณฑ์ แต่กรดนัน้ ทํา
ไม่ (Cetingul and Geban, 2005; Demircioglu, หน้าทีใ่ นการให้ H+ แก่เบส และนักเรียนส่วนใหญ่
Ayas and Demircioglu, 2005) มีแนวคิดว่าเบสคือสารทีม่ ปี ระจุลบหรือเป็ นสารที่
2. แนวคิ ดของนักเรียนในเรื่องทฤษฎี ไม่นําไฟฟ้ า รองลงมาคือ ตอบคําถามโดยใช้ทฤษฎี
กรด–เบส เมือ่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสมการเคมี จําแนก กรด–เบสอื่น ๆ เช่น เบสคือสารทีแ่ ตกตัวได้ OH–
แนวคิดของนักเรียนได้เป็ น 3 ประเด็น ดังนี้ แสดงว่า นักเรียนไม่สามารถเลือกใช้ทฤษฎีกรด–
- ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส พบ เบสในการอธิบายความเป็ นกรด–เบสของสารต่าง ๆ
ว่า นักเรียนส่วนใหญ่มแี นวคิดว่า กรดคือสารที่ ให้เหมาะสมกับบริบทได้ สอดคล้องกับงานวิจยั ที่
80
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

พบว่า นักเรียนมีแนวคิดว่า กรดนํ าไฟฟ้ าได้แต่ เมื่อรวมกับประสบการณ์ในชีวติ ประจําวัน ส่งผล


เบสนําไฟฟ้ าไม่ได้ นอกจากนี้ นักเรียนบางคนเลือก ให้นกั เรียนเกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนว่า เกลือซึง่ ทํา
ใช้ทฤษฎีกรด–เบสไม่ถูกต้อง โดยใช้ทฤษฎีกรด– ให้เรารูส้ กึ แสบได้เมือ่ สัมผัสกับผิวทีบ่ อบบางหรือมี
เบสของอาร์เรเนียสหรือลิวอิสในการอธิบาย (จิตต- แผล ก็เป็ นกรดชนิดหนึ่งเช่นกัน และทําให้เกิดแนวคิด
มาส สุขแสวง, 2549; Cetingul and Geban, 2005) ว่า เบสเป็ นอันตรายน้อยกว่ากรด เช่น นักเรียนมี
และจากการสัมภาษณ์เพิม่ เติม พบว่า ถึงแม้นกั เรียน แนวคิดว่า แอมโมเนียเป็ นเบส เพราะถ้าเป็ นกรด
บางส่วนจะเขียนคําตอบเป็ นแนวคิดวิทยาศาสตร์ คงไม่สามารถนํามาใช้ดมได้ และกรดมีฤทธิ ์กัดกร่อน
ได้ แต่เมื่อให้นกั เรียนอธิบายคําตอบในแบบวัดแนว- ทําให้จมูกพัง ทัง้ ทีใ่ นความเป็ นจริงแล้ว เบสทีม่ คี วาม
คิด นักเรียนอธิบายโดยใช้ประสบการณ์ในชีวติ ประ- เข้มข้นสูงก็ก่ อให้เกิดอันตรายได้เช่ นกัน แนวคิด
จําวันในการอธิบายความเข้าใจของตนอยูด่ ี นอก- เหล่านี้เป็ นสิง่ ที่ตดิ ตัวมาตัง้ แต่เด็ก หรือติดตัวมา
จากนี้ ยังมีนกั เรียนบางส่วนทีเ่ ขียนคําตอบได้ถูก- จากชีวติ ประจําวัน ซึง่ ทําให้แนวคิดนัน้ หยังรากลึ
่ ก
ต้อง แต่ไม่สามารถอธิบายได้วา่ สารใดให้โปรตอน และแก้ไขได้ยาก มีความคงทนไม่สามารถแก้ไขได้
แก่สารใด และสารใดรับโปรตอนจากสารใด แสดง ด้วยการสอนโดยทัวไป ่ (Fisher, 1985 อ้างถึงใน
ว่า นักเรียนจําแนวคิดวิทยาศาสตร์และนํามาตอบ สุวมิ ล เขีย้ วแก้ว, 2540) โดยเฉพาะแนวคิดเกีย่ วกับ
โดยทีไ่ ม่ได้เข้าใจอย่างแท้จริง วิชาเคมีท่มี คี วามซับซ้อนและไม่สามารถสอนโดย
- ทฤษฎีกรด–เบสของลิวอิส พบว่า นัก- แสดงให้นักเรียนเห็นเป็ นรูปธรรมได้ เช่น พันธะ
เรียนส่วนใหญ่ไม่ตอบคําถามในส่วนนี้ สําหรับนัก- ของสารเคมี โครงสร้างภายในอะตอม ทําให้นกั เรียน
เรียนทีต่ อบคําถามส่วนใหญ่มแี นวคิดว่า กรดคือ เกิดความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อนหรือแนวคิดทางเลือก
สารทีร่ บั อิเล็กตรอนจากสารอื่น และเบสคือสารทีใ่ ห้ (Nieswandt, 2001) ดังนัน้ สิง่ สําคัญคือจะทําอย่างไร
อิเล็กตรอนแก่สารอื่น และพบแนวคิดคลาดเคลื่อน ให้นักเรียนทราบว่าแนวคิดที่พวกเขามีนัน้ เป็ น
เพิม่ เติมคือ นักเรียนมีแนวคิดว่า NH3 เป็ นเบส แนวคิดคลาดเคลื่อน และจะมีวธิ สี อนอย่างไรเพื่อ
เพราะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน โดยดูจาก พัฒนาหรือเปลีย่ นแปลงแนวคิดนัน้ โดยแสดงให้
ปฏิกริ ยิ าในด้านบนที่ NH3 ทําปฏิกริ ยิ ากับนํ้า ซึง่ นักเรียนตระหนักว่า ในบางสถานการณ์ แนวคิด
ในความเป็ นจริงแล้ว NH3 ไม่ได้แตกตัวให้ OH– คลาดเคลื่อนที่เขามีนัน้ ไม่สามารถนํ ามาใช้ตอบ
แต่น้ําให้โปรตอนแก่แอมโมเนียแล้วกลายเป็ น OH– ปั ญหาได้ ซึง่ แนวคิดวิทยาศาสตร์สามารถตอบปั ญหา
สอดคล้องกับงานวิจยั ทีพ่ บว่า นักเรียนไม่สามารถ เหล่านี้ได้อย่างสมเหตุสมผล ทําให้เกิดการเลือกใช้
เลือกใช้ทฤษฎีกรด–เบสในการอธิบายหน้าทีข่ อง และยอมรับแนวคิดวิทยาศาสตร์ในสถานการณ์
สารและไอออนในสมการได้อย่างถูกต้อง (จิตต- นัน้ ๆ ได้ (Caravita and Hallden, 1994 อ้างถึงใน
มาส สุขแสวง, 2549) Tyson, 1997)
จะเห็นได้ว่า แนวคิดคลาดเคลื่อนของ
นักเรียนนัน้ ส่วนใหญ่มสี าเหตุมาจากความเข้าใจใน
วิทยาศาสตร์ท่ไี ม่มากพอ เช่น จากความรูเ้ ดิมที่
นักเรียนจํามาว่า กรดคือสารที่มฤี ทธิ ์กัดกร่อนได้
81
J. Res. Unit Sci. Technol. Environ. Learning Vol. 6 No. 1 (2015)

ข้อเสนอแนะ สอน) สาขาการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ:


1. การตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เป็ นสิง่ สําคัญทีจ่ ะช่วยในการวางแผนจัดกระบวนการ ประดับ นาคแก้ว. (2553). หนังสือเรียนวิ ทยาศาสตร์
เรียนรู้เพื่อพัฒนาแนวคิดของผู้เรียน ดังนัน้ จึงควร ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1. กรุงเทพฯ: แม๊ค.
ศึกษาแนวคิดหัวข้ออื่น ๆ ในวิชาเคมี เพือ่ ให้ได้ผล- ชาตรี ฝ่ ายคํ าตา. (2554). วิ ธี สอนวิ ทยาศาสตร์
การวิจยั ทีก่ ว้างและครอบคลุมมากขึน้ ระดับ ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: เอพริลเรน
2. จากการศึกษาพบว่า แนวคิดคลาด- พริน้ ติง้ .
เคลื่อ นบางส่วนเกิดจากการที่ผู้เรียนไม่ม ีความ ภพ เลาหไพบูลย์. (2534). แนวการสอนวิ ทยา-
เข้าใจวิทยาศาสตร์ท่ลี กึ ซึ้งเพียงพอ เมื่อนํ าไปรวม ศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
กับประสบการณ์ในชีวติ ประจําวันอาจทําให้ผูเ้ รียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนได้ เช่น การที่ผู้เรียนมี [สสวท.]. (2554). หนังสือเรียนรายวิ ชาเพิ่ ม-
แนวคิดว่า กรดคือสารที่กดั กร่อนได้ เมื่อสัม ผัส เติ ม เคมี เล่ม 3 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4–6.
เกลือแกง (NaCl) แล้วเกิดอาการแสบคัน ผูเ้ รียน กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
จึงเกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนว่าเกลือเป็ นกรด เนื่อง- สุภาพร อินบุญนะ. (2541). มโนมติ ที่คลาดเคลื่อน
จากกัดกร่อนผิวได้ เรื่ อง กรด–เบส ของนั กเรี ยนชัน้ มัธยม-
3. ควรศึก ษาปั จ จัยและสาเหตุ ท่ีส่งผล
ศึกษาตอนปลาย จังหวัดนครศรีธรรม-
ให้เกิดแนวคิดคลาดเคลื่อนของนักเรียนเพื่อหา
ราช. วิท ยานิ พ นธ์ ป ริญ ญาศึก ษาศาสตร์
แนวทางในการป้ องกันไม่ให้เกิดแนวคิดคลาด-
เคลื่อนและหาทางแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศกึ ษา. มหา-
นักเรียน วิทยาลัยสงขลานครินทร์.
4. แนวคิดคลาดเคลื่อนเหล่านี้สามารถ สุวิมล เขี้ยวแก้ว. (2540). การสอนวิ ทยาศาสตร์
นํ า ไปใช้เป็ นข้อมูลในการออกแบบการจัดการ ระดับมัธยมศึกษา. ภาควิชาการศึกษา คณะ
เรียนการสอนของนัก เรีย นได้ เพื่อ ให้ส ามารถ ศึกษาศาสตร์. ปั ตตานี: มหาวิทยาลัย สงขลา-
แก้ไขปั ญหาได้ตรงกับความแนวคิดคลาดเคลื่อน นครินทร์.
ของนักเรียน เช่น การจัดการเรียนการสอนเพื่อ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552).
เปลีย่ นแปลงแนวคิด ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่ม
เอกสารอ้างอิ ง สาระการเรี ยนรู้ วิ ทยาศาสตร์ตามหลัก-
จิตตมาส สุขแสวง. (2549). การศึ กษาแนวคิ ด สูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธ-
ของนักเรียน และพฤติ กรรมการสอนของ ศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชน
ครูเรื่อง กรด–เบส ในระดับชัน้ มัธยมศึกษา สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ.
ปี ที่ 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ งในเขตจตุจกั ร Andersson, B. (1990). Pupils’ conceptions of
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิ พนธ์ ปริ ญญา matter and its transformations (age 12–16).
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การ Studies in Science Education 18(1): 53– 58.
82
วารสารหน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปี ท่ี 6 ฉบับที่ 1 (2558)

Cetingul, P. I., and Geban, O. (2005) . Under- Nieswandt, M. (2001). Problems and possibili-
standing of acid–base concept by using ties for learning in an introductory chem-
conceptual change approach. H. U. Journal istry course from a conceptual change per-
of Education 29: 69–74. spective. Science Education 85: 158–179.
Demircioglu, G., Ayas, A., and Demircioglu, Tyson, L. M., Venville, G. J., Harrison, A. G.,
H. (2005).Conceptual change achieved and Treagust, D. F. (1997). A multidimen-

through a new teaching program on acids sional framework for interpreting concept-
and bases. Chemistry Education Re- ual change events in the classroom.
search and Practice 6(1): 36–51. Science Education 81: 387–404.

83

You might also like