You are on page 1of 9

มคอ.

3 (AUN-QA)

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สารสนเทศเพชรบุรี คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
710 132-164 กฎหมาย และจรรยาบรรณเกี่ยวกับสัตว์ (Animal Laws and Ethics)
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3 (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สัตวศาสตร์
เป็นวิชา ชีพบังคับ
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิขา ผศ.น.สพ.ศิริชัย เอียดมุสิก
4.2 อาจารย์ผู้สอน
1. ผศ.น.สพ.ศิริชัย เอียดมุสิก
2. ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์ ปริยวิชญภักดี
3. อาจารย์พิเศษ
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษา 1 ของชั้นปีที่ 1
6. รายวิชาบังคับก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่อยู่ เลขที่ 1 หมู่ 3 ตาบลสามพระยา
อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี 76120
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
15 มิถุนายน 2566

1
มคอ.3 (AUN-QA)

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะที่เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพโดยมีลักษณะสอดคล้องตาม
ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
2.1 วัตถุประสงค์ของรายวิชา (Course Objectives)
2.1.1 PLO21 สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้มีจริยธรรม ศีลธรรม และจรรยาบรรณใน วิชาชีพ
(Understand)
2.2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (Course-level Learning Outcomes: CLOs)
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในรายวิชาสามารถ
2.2.1 CLO1 สามารถอธิบายนิยาม ระบุ หรือจดจาเนื้อหาสาระที่สาคัญในกฎหมายที่ เกี่ยวข้องและ
จรรยาบรรณวิชาชีพสัตวบาล และเข้าใจหลักการพื้นฐานในการกาหนดกฎหมายและจรรยาบรรณ วิชาชีพดังกล่าว
2.2.2 CLO2 สามารถเลือกใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องและมีจรรยาบรรณวิชาชีพเพื่อใช้จัดการ หรือแก้ไขปัญหา
ในการปฏิบัติหน้าที่สัตวบาลให้สอดคล้องกับบริบทได้อย่างเหมาะสม
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คำอธิบำยรำยวิชำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป พรบ.วิชาชีพการสัตวบาล พรบ.เกี่ยวกับโรคระบาดสัตว์ พรบ.เกี่ยวกับ
ยาและวัตถุอันตราย พรบ.เกี่ยวกับอาหารสัตว์ พรบ.เกี่ยวกับควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจาหน่ายเนื้อสัตว์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พรบ.ที่เกี่ยวกับการทารุณ และการจัดสวัสดิภาพสัตว์
พรบ.ที่เกี่ยวกับสถานพยาบาลสัตว์ พรบ.ที่เกี่ยวกับบารุงพันธุ์สัตว์ พรบ.ที่เกี่ยวกับสัตว์เพื่องานทาง
วิทยาศาสตร์ และกรณ๊ศึกษา
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อสัปดำห์
จานวนชั่วโมงบรรยาย 3 ชั่วโมง
จานวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติ /ภาคสนาม/การฝึกงาน 0 ชั่วโมง
จานวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง 6 ชั่วโมง
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดำห์ที่จะให้คำปรึกษำและแนะนำทำงวิชำกำรแก่นักศึกษำ
12 ชั่วโมง

2
มคอ.3 (AUN-QA)

หมวดที่ 4 การพัฒนานักศึกษาตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กลยุทธ์การสอน กลยุทธ์สาหรับวิธีการวัด


คาดหวัง ของหลักสูตร (PLOs) ตาม CLOs และประเมินผล
ของรายวิชา (CLOs) ที่รายวิชารับผิดชอบ ตาม CLOs
CLO 1 สามารถอธิบายนิยาม PLO21 สามารถแสดงออกถึง ใช้วิธีการสอนโดยการ ทดสอบย่อย การสอบ
ระบุ หรือจดจาเนื้อหาสาระที่ ความเป็นผู้มีจริยธรรม บรรยาย อธิบายและ กลางภาคและปลายภาค
สาคัญในกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ศีลธรรม และจรรยาบรรณใน ยกตัวอย่างเกี่ยวกับ เรียน
และจรรยาบรรณวิชาชีพสัตว วิชาชีพ (Understand) หลักการและทฤษฎีที่
บาล และเข้าใจหลักการพื้นฐาน สาคัญในเนื้อหา
ในการกาหนดกฎหมายและ
จรรยาบรรณ วิชาชีพดังกล่าว
CLO 2 สามารถเลือกใช้กฎหมาย ใช้วิธีการสอนโดยการ ทดสอบย่อย การสอบ
ที่เกี่ยวข้องและมีจรรยาบรรณ บรรยาย อธิบายและ กลางภาคและปลายภาค
วิชาชีพเพื่อใช้จัดการ หรือแก้ไข ยกตัวอย่างเกี่ยวกับ เรียน
ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่สัตว หลักการและทฤษฎีที่
บาลให้สอดคล้องกับบริบทได้ สาคัญในเนื้อหา
อย่างเหมาะสม

3
มคอ.3 (AUN-QA)

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด CLOs จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
ชั่วโมง สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
1 แนะนารายวิชา 1 3 - สอนแบบบรรยายหน้าชั้น ผศ.น.สพ.ศิริชัย
2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 1,2 3 เรียนโดย ใช้กลยุทธ์การสอน อาจารย์พิเศษ
ทั่วไป ตาม CLOs ที่ ออกแบบไว้
3 พรบ.วิชาชีพ การสัตวบาล และ 1,2 3 - จัดสอบเพื่อประเมินผลการ อาจารย์พิเศษ
กรณีศึกษา เรียนรู้ ของผูเ้ รียนโดยใช้กล
4 พรบ.เกี่ยวกับโรคระบาดสัตว์ และ 1,2 3 ยุทธ์สาหรับ วิธีการวัดและ อาจารย์พิเศษ
กรณีศึกษา ประเมินผลตาม CLOs ที่
5 พรบ.เกี่ยวกับยา/วัตถุอันตราย/ 1,2 3 ออกแบบไว้ ผศ.น.สพ.ศิริชัย
และกรณีศึกษา - จัดทาช่องทางติดต่อสื่อสาร
6 พรบ.เกี่ยวกับอาหารสัตว์ และ 1,2 3 ระหว่าง ผูส้ อนและผู้เรียนเพื่อ อาจารย์พิเศษ
กรณีศึกษา ตอบขอ้ซักถาม นอกห้องเรียน
7 พรบ.เกี่ยวกับควบคุมการฆ่าสัตว์ 1,2 3 โดยใช้ social media ด้วย อาจารย์พิเศษ
เพื่อการจาหน่ายเนื้อสัตว์ และ การตั้งกลุ่ม Line ของรายวิชา
กรณีศึกษา - จัดทาเอกสารประกอบการ
8 พรบ.เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และ 1,2 3 สอนเป็น ไฟล์ PDF ให้ผเู้ รียน อาจารย์พิเศษ
กรณีศึกษา ศึกษาเนื้อหา รายวิชาล่วงหน้า
สอบกลางภาค โดยส่งมอบให้กับ ผู้เรียนผ่าน
9 กฏหมายที่เกีย่ วข้องกับการสงวน 1,2 3 กลุ่ม Line ของรายวิชา ก่อน อาจารย์พิเศษ
และคุ้มครองสัตว์ปา่ และ เข้าสอนทุกสัปดาห์
กรณีศึกษา - ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษา
10 พรบ.ที่เกี่ยวกับการทารุณ และการ 1,2 3 ค้นคว้าด้วย ตนเองนอกชั่วโมง ผศ.น.สพ.ศิริชัย
จัดสวัสดิภาพสัตว์ และกรณีศึกษา เรียนจากแหล่ง เรียนรู้
11 พรบ.ที่เกี่ยวกับสถานพยาบาลสัตว์ 1,2 3 ภายนอกห้องเรียน เช่น ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์
และกรณีศึกษา หนังสือ/ตาราในหอสมุด,
12 พรบ.ที่เกี่ยวกับบารุงพันธุ์สตั ว์ และ 1,2 3 Lecture Note/E-Book ที่ ผศ.น.สพ.ศิริชัย
กรณีศึกษา สืบค้นจากระบบ internet
13 พรบ.ที่เกี่ยวกับสัตว์เพื่องานทาง 1,2 3 และคอร์สเรียนฟรีแบบ ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์
วิทยาศาสตร์ และกรณีศึกษา ออนไลน์
14 รายงาน 1,2 3 ผศ.น.สพ.ศิริชัย
ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์
15 รายงาน 1,2 3 ผศ.น.สพ.ศิริชัย
ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์
สอบปลายภาค
รวม 45

4
มคอ.3 (AUN-QA)

แผนกำรประเมินตำมผลลัพธ์กำรเรียนรู้ที่คำดหวังของรำยวิชำ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กิจกรรมการประเมินผล กาหนดการประเมิน สัดส่วนของการ


ของรายวิชา (CLOs) การเรียนรู้ของผู้เรียน (สัปดาห์ที่) ประเมินผล
CLO 1 สามารถอธิบายนิยาม ทดสอบย่อย สอบกลาง ตลอดทั้งภาค -สอบกลางภาค 45
ระบุ หรือจดจาเนื้อหาสาระที่ ภาคและปลายภาค การศึกษา คะแนน
สาคัญในกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง
และจรรยาบรรณวิชาชีพสัตว
บาล และเข้าใจหลักการพื้นฐาน
ในการกาหนดกฎหมายและ
จรรยาบรรณ วิชาชีพดังกล่าว
CLO 2 สามารถเลือกใช้ ทดสอบย่อย สอบกลาง ตลอดทั้งภาค -สอบปลายภาค 45
กฎหมายที่เกี่ยวข้องและมี ภาคและปลายภาค การศึกษา คะแนน
จรรยาบรรณวิชาชีพเพื่อใช้ - รายงาน/งาน
จัดการ หรือแก้ไขปัญหาในการ มอบหมาย 10 คะแนน
ปฏิบัติหน้าที่สัตวบาลให้
สอดคล้องกับบริบทได้อย่าง
เหมาะสม

5
มคอ.3 (AUN-QA)

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

ตาราและเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน
1) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป/ คณาจารย์ภาควิชานิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, KPT68 .ค36 2560
2) กฎหมายเกี่ยวกับปศุสัตว์ = Livestock laws / ชุมพล ต่อบุญ. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ :
สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา, SF55.T5 ช73 2551
หนังสือ ตาราและเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ซึ่งจะแจ้งให้ทราบในห้องเรียน

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
1.1 มีระบบการประเมินการเรียนสอนของรายวิขา ผ่าน การประเมินโดยผู้เรียนแบบออนไลน์ su.reg
1.2 มีระบบกลไกติดตามการประเมินการจัดการเรียนการสอนโดยการจัดทารายงานผลผ่าน มคอ.5
1.3 มีระบบกลไกการประเมินการจัดการเรียนการสอนผ่านการประชุมพิจารณาโดยกรรมการในหลักสูตร
2. การปรับปรุงการสอน
2.1 มีระบบกลไกการนาผลประเมินของผู้เรียนและข้อเสนอแนะของกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อนามาพัฒนา
ปรับปรุงการเรียนการสอนในครั้งถัดไป
2.2 มีระบบกลไกในการปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความทันสมัยและก้าวหน้าทาง
วิชาการ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคต
3. กระบวนการยืนยัน (verification) ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
3.1 มีกระบวนการติดตามและยืนยันผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนผ่านการประเมินผลตาม CLOs ของรายวิชา และ
จัดทารายงานผลผ่าน มคอ.5 เพื่อเสนอให้กรรมการบริหารหลักสูตรได้พิจารณาผลตามลาดับ
3.2 มีกระบวนการติดตามและยืนยันผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตาม หัวข้อ/รายละเอียด ผ่านการประเมินในแต่ละ
สัปดาห์ในแผนการสอน เพื่อช่วยพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตาม CLOs ที่กาหนดไว้ของรายวิชา

หมวดที่ 8 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาหลักสูตร

AUN-QA Criterion 3
Requirements 3.1 มีการนาปรัชญาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมาใช้ในการจัดการเรียนในรายวิชาอย่างไร
ปรัชญาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากร คือ “จัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โดยใช้การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ทางการเรียนรู้ โดยบัณฑิตเป็นผู้นา ผสานศาสตร์และศิลป์ สร้างสรรค์คุณค่าสู่สังคม”

6
มคอ.3 (AUN-QA)

โดยการนาปรัชญาการจัดการศึกษา ตามแนวทาง OBE มาใช้ในการจัดการเรียนของรายวิชาจัดลาดับหัวข้อ


บทเรียนเพื่อให้บรรลุ CLO ของรายวิชา และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร PLO ได้

Requirements 3.2 รูปแบบหรือกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ


ผ่านกิจกรรม การถาม-ตอบ อภิปราย และรูปแบบงานมอบหมายกิจกรรม ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ
ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นผ่านกิจกรรมดังกล่าว

Requirements 3.4-1 ในรายวิชามีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบแบบใดที่กระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิด


การพัฒนาตาม CLOs (ถ้ามี)
ผ่านการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบการปฏิบัติการ (Lab) และ กิจกรรม การถาม-ตอบ อภิปราย และ
รูปแบบงานมอบหมายกิจกรรม ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตาม CLOs
ของรายวิชาได้
Requirements 3.4-2 ในรายวิชามีส่วนในการรับผิดชอบ Life-long learning ทักษะใด และมีการนาไปจัดการ
เรียนการสอนอย่างไร (หลักสูตรกำหนดทักษะ Life-long learning) (ถ้ามี)
ห ลั ก สู ต รก าห น ด ทั ก ษ ะ Life-long learning คื อ “ Creatical thinkingtivity (critical+ creativity
thinking การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์)” โดยรายวิชามีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ ด้วยการจัดการเรียนการสอนใน
รูป แบบการปฏิ บั ติก าร (Lab) และ กิจ กรรม การถาม-ตอบ อภิ ป ราย และรูป แบบงานมอบหมายกิจกรรม ใน
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะดังกล่าวได้
Requirements 3.5 ในรายวิช ามีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใดที่ช่วยให้นักศึกษาความคิดใหม่ ความคิด
สร้างสรรค์ หรือทักษะความเป็นผู้ประกอบการแบบใด (หลักสูตรต้องกำหนดทักษะกำรเป็นผู้ประกอบกำร) (ถ้ามี)
หลักสูตรกาหนดทักษะการเป็นผู้ประกอบการ คือ “ส่งเสริมให้นักศึกษามีแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ
ผ่านโครงการของหลักสูตร (Startup กับ สวนส. และอื่น ๆ)

AUN-QA Criterion 4
Requirements 4.4-1 เกณฑ์การประเมินผล (ตัดเกรด) แบบอิงเกณฑ์
เกณฑ์ค่าระดับคะแนน
คะแนนมากกว่า 80% ได้ A คะแนน 60-64% ได้ C
คะแนน 75-79% ได้ B+ คะแนน 55-59% ได้ D+
คะแนน 70-74% ได้ B คะแนน 50-54% ได้ D
คะแนน 65-69% ได้ C+ คะแนนน้อยกว่า 50% ได้ F

7
มคอ.3 (AUN-QA)

Requirements 4.4-2 มีการใช้เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics ในรายวิชาอย่างไร (ถ้ามี)


มีการใช้เกณฑ์ประเมินแบบ Rubrics ในการประเมินรายงานและการสอบอัตนัยของรายวิชา ดังนี้

ระดับคุณภาพ
รายการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ไม่มีคะแนน
ประเมิน (5) (4) (3) (2) (1) (0)
เนื้อหาของ -ข้อมูลถูกต้อง -ข้อมูลถูกต้อง -ข้อมูลมีผิด -ข้อมูลส่วน -ไม่มีข้อมูล ไม่มีการ
คาตอบ -ตรงประเด็น -ตรงประเด็น บางส่วน ใหญ่ผิด เพียงพอต่อ เขียนตอบ
หรือ -สมบูรณ์ -แต่ขาด -ยังไม่สมบูรณ์ -ยังไม่สมบูรณ์ การตัดสินใจ ไม่ส่งงาน
รายงาน รายละเอียด พิจารณา

Requirements 4.6 ในรายวิชาได้มีการกาหนดการให้ feedback กับนักศึกษา ในเวลาใดและรูปแบบใดบ้าง โดย


การให้ feedback นี้ต้องทันเวลาให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองจนสามารถผ่านรายวิชาได้
มีการกาหนดการให้ feedback กับนักศึกษา หลังจากการสอบอย่างน้อยไม่เกิน 14 วันทาการ โดยผ่าน
รูปแบบการประกาศคะแนนในไลน์กลุ่มเรียน สาหรับการทดสอบย่อย การตอบคาถามหรือแบบสอบถาม จะมีการให้
feedback กั บ นั ก ศึ ก ษาทั น ที เมื่ อ ตอบแล้ ว ผ่ า นรู ป แบบ google form แบบออนไลน์ หรื อ ให้ feedback กั บ
นักศึกษาทันที ในรูปแบบการสอนบรรยายทั้งแบบ Online และ On-site

AUN-QA Criterion 6
Requirements 6.3 ท่ านมอบหมายงานรูป แบบใดในรายวิช าบ้ าง และจานวนกี่ชิ้ น เช่น ท ารายงาน 10 หน้ า
จานวน 2 เรื่อง การนาเสนองานหน้าชั้นเรียน 1 ครั้ง เป็นต้น
มอบหมายงานในรูปแบบรายงานตามหัวข้อของบทเรียนปฏิบัติการ จานวน 5 เรื่อง (ตามผู้สอน)

8
มคอ.3 (AUN-QA)

ขั้นตอนการอุทธรณ์และการพิจารณาการตรวจสอบผลการเรียน ตามประกาศคณะสัตวศาสตร์และ
เทคโนโลยีการเกษตร ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2564
เพื่อให้การอุทธรณ์และการพิจารณาการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ทางคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรจึงขอกาหนดขั้นตอนการอุทธรณ์เพื่อขอตรวจสอบ ผลการเรียนของ
นักศึกษา ไว้ดังนี้

ทั้งนี้ในกรณีที่มีการอุทธรณ์ขอตรวจสอบผลการเรียนรายวิชาที่ศูนย์บริหารจัดการวิชาศึกษาทั่วไป
และพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นผู้รับผิดชอบ คณะวิชาจะทาการประสานงานเพื่อขอข้อมูลรายวิชา
จากศูนย์ดังกล่าว ดังนั้นจะมีระยะเวลาดาเนินการจนแล้วเสร็จ ภายใน 21 วัน

You might also like