You are on page 1of 5

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเภสัชศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา 0702 463 เทคโนโลยีชีวภาพเชิงเภสัชศาสตร์ (Pharmaceutical Biotechnology)


2. จำนวนหน่วยกิต 2 หน่วยกิต (2-0-4)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
เป็นรายวิชาบังคับในหมวดวิชาเฉพาะ ระดับวิชาชีพ สายวิทยาศาสตร์ทางเภสัชศาสตร์ ในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562)
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
ผศ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ E-mail: sakulrat.r@msu.ac.th (course director)
ผศ.ดร.ประสบอร รินทอง E-mail: prasoborn.r@msu.ac.th
อ.ดร.วรพร แสนทวีสุข E-mail: waraporn.sa@msu.ac.th
4.2 อาจารย์ผู้สอน
ผศ.ดร.สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์ E-mail: sakulrat.r@msu.ac.th
ผศ.ดร.ประสบอร รินทอง E-mail: prasoborn.r@msu.ac.th
อ.ดร.วรพร แสนทวีสุข E-mail: waraporn.sa@msu.ac.th
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีทเี่ รียน ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 4
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี
8. สถานที่เรียน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 16 มิถุนายน พ.ศ.2566

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิ ชา
เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรูแ้ ละทักษะตามผลลัพธ์การเรียนรูข้ องหลักสูตร ได้ ความรูแ้ ละทักษะในงานเภสัชกรรม (hand; O1-
O5) ความรูแ้ ละทักษะทีส่ นับสนุนการทางาน (head; O6-O9) และ การมีหวั ใจของความเป็ นเภสัช มมส (heart; O10-O12)
ดังนี้
1.1 ความรูแ้ ละทักษะในงานเภสัชกรรม
1.1.1 O1 เตรียมยาสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย ผลิตและควบคุมคุณภาพยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
1.1.2 O3 ดูแลและแก้ไขปั ญหาสุขภาพและการใช้ยาของผูป้ ่ วยและประชาชนในชุมชน
1.2 ความรูแ้ ละทักษะทีส่ นับสนุนการทางาน
1.2.1 O7 คิดและทางานอย่างเป็ นระบบ
1.2.2 O9 ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี
1.3 หัวใจของความเป็ นเภสัช มมส
1.3.1 O10 ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ กฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กร
1.3.2 O11 ปรับตัวได้ ใฝ่ รู้ และเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
1.3.3 O12 มีจติ อาสา ไม่เพิกเฉยต่อปั ญหา รับผิดชอบต่อสังคม และมีหวั ใจรับใช้ชุมชน
2. วัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.1. นิสิตสามารถอธิบายหลักการและเทคนิคพื้นฐานด้านเทคโนโลยีชวี ภาพเชิงเภสัชศาสตร์ได้
2.2. นิสติ สามารถอธิบายหลักการและแนวคิดของเภสัชภัณฑ์ทไี่ ด้จากเทคโนโลยีชวี ภาพ
2.3. นิสติ สามารถอธิบายหลักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับความรู้ทางเภสัชศาสตร์
3. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
3.1. ปรับปรุงเนื้อหาและสื่อที่หลากหลายและทันสมัย
3.2. ปรับปรุงกิจกรรมของรายวิชาให้นิสิตได้เข้าใจแนวคิด สามารถเห็นการประยุกต์ใช้ กระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ พัฒนา
ความคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกัน
3.3. การปรับปรุงสืบเนื่องจาก มคอ.5 – ตัดเนื้อหาและสไลด์บางส่วนลง เพื่อให้มีเวลาในการอธิบาย หรือทำกิจกรรมอื่น เสริม
ความเข้าใจให้มากขึ้น โดยเฉพาะเนื้อหาส่วนที่มีความซับซ้อน

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
บทนำเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ เทคโนโลยีโปรตีนและเอนไซม์ วัคซีนและโมโนโคนัล
แอนติบอดี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสัตว์และพืช ชีวเภสัชภัณฑ์ การแพทย์สมัยใหม่ การประยุกต์ใช้ทางเภสัชศาสตร์
Introduction to biotechnology, recombinant DNA technology, protein and enzyme technology, vaccine
and monoclonal antibody, animal and plant tissue cultures, biopharmaceutical products, modern medicine;
pharmaceutical applications
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
1) ทฤษฎี (บรรยายและอภิปราย) 30 ชั่วโมง
2) การศึกษาด้วยตนเอง 60 ชั่วโมง
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล
ให้คำแนะนำโดยการพูดคุยต่อหน้า หรือการใช้จดหมายอิเลกทรอนิกส์ หรือทางออนไลน์ สามารถนัดวันและเวลาตามความ
สะดวกและความเหมาะสม เป็นเวลาประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต
ด้านการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับ วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
ความรูแ้ ละ O1 เตรียมยาสำหรับ ⚫ เน้นการสอนโดยให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้วย 1. การสอบวัดความรู้โดยใช้
ทักษะในงาน ผู้ป่วยเฉพาะราย ผลิต ตนเอง และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การ ข้อสอบ
เภสัชกรรม และควบคุมคุณภาพยา ใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน ทำกรณีศึกษา และ 2. การศึกษาค้นคว้า การทำ
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ นำเสนอประเด็นที่ผู้เรียนสนใจเพื่อการ รายงาน และการนำเสนอ
เรียนรู้ร่วมกันของกลุ่ม
O3 ดูแลและแก้ไขปัญหา ⚫ เน้นการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ 1. การสอบวัดความรู้โดยใช้
สุขภาพและการใช้ยาของ คิดและแก้ไขปัญหา ทั้งแต่ละบุคคลและ ข้อสอบ
ผู้ป่วยและประชาชนใน กลุ่ม ในสถานการณ์ทั่วไปและสถานการณ์ 2. การศึกษาค้นคว้า การทำ
ชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น การสอนแบบ รายงาน และการนำเสนอ
อภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา เป็นต้น
ความรู้และ O7 คิดและทำงานอย่าง ⚫ 1. เน้นการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ 1. การสอบวัดความสามารถใน
ทักษะที่ เป็นระบบ การคิดและแก้ไขปัญหา การตัดสินใจโดย การคิด และแก้ไขปัญหาที่
สนับสนุนการ ใช้ข้อมูลเชิงวิชาการหรือหลักฐานเชิง กำหนดให้
ทำงาน ประจักษ์ประกอบ การตัดสินใจ ทั้งแต่ละ 2. ประเมินจากผลงานที่เกิดจาก
บุคคลและกลุ่ม ในสถานการณ์ทั่วไปและ การใช้กระบวนการแก้ไขปัญหา
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชา จากงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
เช่น การสอนแบบอภิปรายกลุ่ม การทำ
กรณีศึกษา เป็นต้น
2. เน้นการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ
การคิดและแก้ไขปัญหา ทั้งแต่ละบุคคล
และกลุ่มในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
เนื้อหารายวิชา
ด้านการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ระดับ วิธีการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
O9 ใช้สารสนเทศและ  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ ประเมินผลงานตามกิจกรรมที่
เทคโนโลยี ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยี ต้องใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี
สารสนเทศที่หลากหลายรูปแบบและ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถใน
การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและ
คุณภาพ รวมทั้งเลือกสารสนเทศ
หัวใจของความ O10 ปฏิบัติตาม  1. มีการสอดแทรกกิจกรรมด้านคุณธรรม 1. ประเมินจากการตรงเวลาของ
เป็นเภสัช มมส จรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมในทุกรายวิชา โดยให้นิสิตมีส่วน นิสิตในการเข้าชั้นเรียน และการ
กฎหมาย และ ร่วม เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง ส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่
กฎระเบียบข้อบังคับของ และกรณีตัวอย่างที่ครอบคลุมประเด็น ได้รับมอบหมายโดยอาจารย์
องค์กร และปัญหาด้านคุณธรรมและจริยธรรม ทั้ง 2. ประเมินจากการทำทุจริตใน
ในวิชาชีพและการดำรงชีวิต การสอบ
2. เน้นเรื่องการซื่อสัตย์ สุจริต ระเบียบ 3. ประเมินจากการคัดลอก
วินัยต่าง ๆ และการตรงต่อเวลา ผลงานของผู้อื่น
3. เน้นเรื่องการเคารพสิทธิผู้อื่น การ
เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ
O11 ปรับตัวได้ ใฝ่รู้ และ  เน้นให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ ค้นหาและ การศึกษาค้นคว้า การทำรายงาน
เรียนรู้ด้วยตนเอง ติดตามความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ หรืองานที่ได้รับมอบหมาย และ
การนำเสนอ
O12 มีจิตอาสา ไม่  มอบหมายงานที่ต้องมีสถานการณ์ที่ สังเกตพฤติกรรมระหว่างการ
เพิกเฉย ต่อปัญหา ต้องการอาสาสมัครหรือจิตอาสา ทำงานที่ได้รับมอบหมายแบบ
รับผิดชอบต่อสังคม และ เดี่ยวและแบบกลุ่ม โดยเพื่อน
มีหัวใจรับใช้ชุมชน ร่วมกลุ่มและอาจารย์
⚫ ความรับผิดชอบหลัก;  ความรับผิดชอบรอง ในการพัฒนาการเรียนรู้และการประเมินโดยรายวิชานี้

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน วันพุธ 10:00-12:00 น. ห้อง P405-406
ชม.เรียนรู้* อาจารย์
wkที่ วันที่ หัวข้อ วิธีการสอน**
Class SL ผู้สอน
1 28 มิ.ย. 66 0. ชี้แจงรายวิชา (อ.สกุลรัตน์, อ.ประสบอร, อ.วรพร) 2 4 L, D ประสบอร
1. บทนำและบทบาทเทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
(อ.ประสบอร)
2 5 ก.ค. 66 2. พื้นฐานทางเทคโนโลยีชีวภาพ (1) 2 4 L, D ประสบอร
3 12 ก.ค. 66 3. พื้นฐานทางเทคโนโลยีชีวภาพ (2) 2 4 L, D ประสบอร
4 19 ก.ค. 66 4. วัคซีนและโมโนโคนัลแอนติบอดี (1) 2 4 L, D ประสบอร
5 26 ก.ค. 66 5. วัคซีนและโมโนโคนัลแอนติบอดี (2) 2 4 L, D ประสบอร
6 2 ส.ค. 66 วันหยุดราชการ
7 9 ส.ค. 66 6. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและสัตว์ 2 4 L, D สกุลรัตน์
8 16 ส.ค. 66 7. ชีวเภสัชภัณฑ์และ ATMPs# (1) 2 4 L, D สกุลรัตน์
9 23 ส.ค. 66 กิจกรรมนวัตกรรมไบโอเทค (อภิปรายกลุ่มครั้งที่ 1) 2 4 GD สกุลรัตน์,
ประสบอร,
วรพร
10 30 ส.ค. 66 ช่วงสอบกลางภาค 26 ส.ค.-3 ก.ย. 66 (หัวข้อ 1-6)
11 6 ก.ย. 66 8. ชีวเภสัชภัณฑ์และ ATMPs# (2) 2 4 L, D สกุลรัตน์
12 13 ก.ย. 66 9. ชีวเภสัชภัณฑ์และ ATMPs# (3) 2 4 L, D สกุลรัตน์
ชม.เรียนรู้* อาจารย์
wkที่ วันที่ หัวข้อ วิธีการสอน**
Class SL ผู้สอน
13 20 ก.ย. 66 กิจกรรมนวัตกรรมไบโอเทค (อภิปรายกลุ่มครั้งที่ 2) 2 4 GD สกุลรัตน์,
ประสบอร,
วรพร
14 27 ก.ย. 66 กิจกรรมนวัตกรรมไบโอเทค (นำเสนอ, อภิปรายรวม) 2 4 GD สกุลรัตน์,
ประสบอร,
วรพร
15 4 ต.ค. 66 10. หลักการทดสอบคุณสมบัติของชีวเภสัชภัณฑ์ (1) 2 4 L, D วรพร
16 11 ต.ค. 66 11. หลักการทดสอบคุณสมบัติของชีวเภสัชภัณฑ์ (2) 2 4 L, D วรพร
17 18 ต.ค. 66 12. กรณีศึกษา: ใบรับรองและใบรายละเอียดของ 2 4 D, A วรพร
สินค้าชีวเภสัชภัณฑ์ (5%)
18 25 ต.ค. 66 ช่วงสอบปลายภาค 24 ต.ค.-3 พ.ย. 66 (หัวข้อ 7-12)
รวม 30
* class – ชั่วโมงเรียนรู้ในชั้นเรียน, SL – self-learning ชั่วโมงเรียนรู้นอกห้องเรียน/เรียนรู้ด้วยตนเอง
** L – lecture, D – discussion, GD – group discussion, E – exercise, A – assignment
# ATMPs = Advanced therapy medicinal products

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
2.1 การวัดผล
สัปดาห์ที่ สัดส่วนของการ
กิจกรรม ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน
ประเมิน ประเมินผล
1 O10 ความสนใจ การเข้าห้องเรียน การมีส่วนร่วม 1-17 5%
ในการเรียนการสอน ความซือ่ สัตย์ การตรง
ต่อเวลา ความรับผิดชอบ
2 O1, O3 การทดสอบย่อย กิจกรรมในชั้นเรียน 1-17 12%
3 O1, O3, O7 กิจกรรมบูรณาการ 18 3%
4 O1, O3, O7, O9 กรณีศึกษา: ใบรับรองและใบรายละเอียดของ 13 5%
สินค้าชีวเภสัชภัณฑ์
5 O1, O3, O7, O9 นวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ 16, 17 15%
(กระบวนการทำงานกลุ่ม 5%, เนื้อหาและ
การนำเสนอรวม 7%, เพื่อนประเมินเพื่อน
3%)
6O1, O3, O7 สอบข้อเขียน (กลางภาคและปลายภาค)
10, 18 60%
2.2 การประเมินผล
80-100→A; 75-79→B+; 70-74→B; 66-69→C+; 60-64→C; 55-59→D+; 50-54→D; 0-49→F

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตำราหลัก
Clapp KP, Castan A, Lindskog EK. Upstream processing equipment. In: Jagschies G, Lindskog E, Lacki K, Galliher PM
(eds) Biopharmaceutical Processing. Elsevier, Amsterdam, 2018; 457–476.
General chapter. In United States Pharmacopeial Convention Committee of Revision (Ed.), United States
Pharmacopeia - National Formulary (41st ed., p. 8). United States Pharmacopeial Convention. 2019.
Leblanc Y, Ramon C, Bihoreau N, Chevreux G. Charge variants characterization of a monoclonal antibody by ion
exchange chromatography coupled on-line to native mass spectrometry: Case study after a long-term
storage at +5°C. J Chromatogr B Analyt Technol Biomed Life Sci. 2017 Mar 24;1048:130-139.
Lohmann LJ, Strube J. Accelerating Biologics Manufacturing by Modeling: Process Integration of Precipitation in
mAb Downstream Processing. Processes. 2020; 8(1):58.
Thompson AA, Walters MC, Kwiatkowski J, et al. Gene Therapy in Patients with Transfusion-Dependent β-
Thalassemia. N Engl J Med. 2018;378(16):1479-1493.
เจษฎี แก้วศรีจันทร์. เภสัชเทคโนโลยีชีวภาพเชิงบูรณาการ Integrated pharmaceutical biotechnology. คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์: สงขลา; 2554.
พัฒนา ศรีพลากิจ. ชีวเภสัชภัณฑ์: การออกแบบและพัฒนา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร: พิษณุโลก; 2558.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ เว็บไซต์และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. เอกสารและข้อมูลแนะนํา เว็บไซต์และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น
facebook: Learn biology url: https://www.facebook.com/uzairyousaff;
facebook: Biology Beyond Nature: ชีววิทยาเหนือธรรมชาติ
url: https://www.facebook.com/biologybeyondnature
http://www.biopharma.com/
สถาบันชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. http://biology.dmsc.moph.go.th/
https://www.fda.gov/drugs/therapeutic-biologics-applications-bla/biosimilars
https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/SitePages/Biosimilars.aspx

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต
- การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบหรือการเรียนรู้
- การประเมินโดยกรรมการประเมิน
3. การปรับปรุงการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา
- การวิเคราะห์ข้อสอบและการทวนสอบโดยกรรมการจากภายนอกและในคณะ
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- ปรับปรุงประมวลรายวิชาและการสอนทุกปีตามผลการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน ผลการ
ประเมินรายวิชาโดยนิสิต ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ
- ปรับปรุงรายวิชาตามวงรอบการปรับปรุงหลักสูตร หรือเมื่อมีข้อเสนอแนะ

You might also like