You are on page 1of 22

แบบ มคอ.

3 | 1

รายละเอียดของรายวิชาหลักการปรับปรุงพันธุ์พืช

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
วิทยาเขตมหาสารคาม/ คณะเทคโนโลยี/ ภาควิชาเทคโนโลยี
การเกษตร

หมวดที่ 1 ลักษณะและข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา
1. รหัสและชื่อรายวิชา
0801 316 หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช (Principle of Plant Breeding)
2. จำนวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต (2-2-5)
3. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา
3.1 หลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
3.2 ประเภทรายวิชา
วิชาเอกบังคับ
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
อาจารย์ ดร.สกุลกานต์ สิมลา
4.2 อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ ดร.สุรศักดิ ์ บุญแต่ง
5. ภาคการศึกษา ชัน
้ ปี ที่เรียน
ภาคปลาย ชัน
้ ปี ที่ 3
แบบ มคอ.3 | 2

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)
0203 341 พันธุศาสตร์ 3 หน่วยกิต (2-2-5)
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co- requisites)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครัง้ ล่าสุด
1 พฤศจิกายน 2555
แบบ มคอ.3 | 3

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และวิธีการ
ปรับปรุงพันธุ์พืช
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการการ
ปรับปรุงพันธุ์พืชให้ต้านทานต่อโรคแมลงและสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะ
สม
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
มีการปรับปรุงรายวิชาให้สอดรับกับเทคโนโลยีด้านการปรับปรุงพันธุ์ที่มี
การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
ประโยชน์และความสำคัญในการปรับปรุงพันธุ์พืช แหล่งพันธุกรรม
และการวิวัฒนาการของพืช หลักการคัดเลือกพันธุ์ เทคนิคและวิธีการ
ผสมพันธุ์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอน การฝึ กปฏิบัติ/งานภาค การศึกษาด้วย
เสริม สนาม/ ตนเอง
การฝึ กงาน
30 ไม่มี 30 ชั่วโมง 75 ชั่วโมง
ชั่วโมง
3.จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทาง
แบบ มคอ.3 | 4

วิชาการแก่ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
1 ชั่วโมง/สัปดาห์

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
1. คุณธรรม จริยธรรม (ผลการเรียนรู้ที่ 1)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
- เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีวินัย เคารพกฎระเบียบ และสิทธิส่วน
บุคคล ไม่ละเมิดสิทธิข์ องผู้อ่ น
ื รับความคิดเห็นของผู้อ่ น
ื และสามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้
- เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่องาน
ที่ได้รับมอบหมาย
- เพื่อพัฒนามีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น และนำเสนอ
ข้อมูลทางวิชาการอย่างมีระบบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีสภาวะ
ความเป็ นผู้นำ
1.2 วิธีการสอน
- บรรยายเนื้อหา พร้อมสอดแทรกประเด็นการวิเคราะห์ข้อมูล
โดยสอดแทรกประเด็นด้านคุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
ซึ่งเป็ นการสื่อสารสองทาง คือ เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนตัง้ คำถาม ตอบ
คำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องในชัน
้ เรียน
- อภิปรายเป็ นรายบุคคล และรายกลุ่มตามงานที่ได้รับการมอบ
หมาย
แบบ มคอ.3 | 5

1.3 วิธีการประเมินผล
- พฤติกรรมการแสดงออกในชัน
้ เรียน และในกิจกรรมที่ได้รับมอบ
หมาย
2. ความรู้ (ผลการเรียนรู้ที่ 2)
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
- เพื่อให้ทราบถึงหลักการ วิธีการ ขัน
้ ตอน และการปฏิบัติเกี่ยวกับ
กระบวนการสร้างหน่วยสืบพันธุ์ แหล่งพันธุกรรม และการอนุรักษ์พันธุ์
พืช การคัดเลือกพันธุ์พืชที่ขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ วิธีการปรับปรุงพันธุ์
พืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม การปรับปรุงพันธุ์พืช โดยการชักนำให้
เกิดการกลายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ต้านทานโรคแมลงและสภาพ
แวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การประยุกต์ใช้ความแปรปรวนของโครโมโซม
และเทคโนโลยีชีวภาพในงานด้านการปรับปรุงพันธุ์ การรับรองพันธุ์พืช
และการรับรองเผยแพร่เมล็ดพันธุ์ดี ซึ่งเป็ นสิ่งที่มีความสำคัญ และมี
ความจำเป็ นสำหรับงานปรับปรุงพันธุ์พืช
2.2 วิธีการสอน
- ใช้การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ได้แก่ การบรรยาย ร่วมกับ
การเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอน โดยการแสดงความคิดเห็น และ
อภิปรายร่วมกับผู้สอน
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้จากการปฏิบัติ
งานจริง
- มอบหมายให้ผู้เรียนวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปประเด็นเกี่ยว
กับการปรับปรุงพันธุ์พืชจากการศึกษาด้วยตนเองทัง้ แบบบุคคล และ
แบบกลุ่ม ในรูปแบบการอภิปรายร่วมกันโดยเน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
- ฝึ กปฏิบัติการผสมพันธุ์พืช ทัง้ ในพืชผสมตัวเอง และพืชผสมข้าม
2.3 วิธีการประเมินผล
แบบ มคอ.3 | 6

- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- การนำเสนอ และการทำรายงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย เป็ น
รายบุคคล และกลุ่ม
- คะแนนกิจกรรมการปฏิบัติจริง
- คะแนนความรับผิดชอบ และความสนใจการเรียน
3. ทักษะทางปั ญญา (ผลการเรียนรู้ที่ 3)
3.1 ทักษะทางปั ญญาที่ต้องพัฒนา
- สามารถคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ประเด็นที่ได้รับมอบหมาย
โดยใช้ความรู้ทางทฤษฎีจากการเรียนได้อย่างเป็ นระบบ
- สามารถอธิบายขัน
้ ตอน และสรุปผลประเด็นเกี่ยวกับการ
ปรับปรุงพันธุ์พืชได้
3.2 วิธีการสอน
- มอบหมายให้ผู้เรียนอ่านบทความ หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
การปรับปรุงพันธุ์พืช ทำการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ แล้วนำเสนอใน
รูปแบบรายงาน
- มอบหมายงานกลุ่มเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์พืชจาก
การศึกษาดูงานในสถานที่จริง
3.3 วิธีการประเมินผล
- การสอบกลางภาค และปลายภาค โดยใช้ข้อสอบที่มีประเด็น
เพื่อการวิเคราะห์
- ประเมินจากการรายงานทัง้ รายบุคคล และรายกลุ่ม โดยให้เป็ น
คะแนนการวิเคราะห์ และสังเคราะห์
แบบ มคอ.3 | 7

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (ผลการ
เรียนรู้ที่ 4)
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้อง
พัฒนา
- มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทัง้ รายบุคคล
และรายกลุ่ม
- สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้ในทุกสถานการณ์
- วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ญ
4.2 วิธีการสอน
- จัดกิจกรรมในชัน
้ เรียนให้ผู้เรียนได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับ
อาจารย์ผู้สอน และผู้เรียนคนอื่น
- มอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มการทำงานตามงานที่
ได้รับมอบหมาย เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการทำงานร่วมกับผู้อ่ น

โดยไม่ยึดติดกับเพื่อนที่ใกล้ชิดกัน
- กำหนดความรับผิดชอบของผูเ้ รียนในการทำงานทัง้ แบบราย
บุคคล และรายกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชัน
้ เรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ (ผลการเรียนรู้ที่ 5)
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
- สามารถใช้ power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถวิเคราะห์ และคำนวณข้อมูลทางสถิติ มาเป็ นข้อมูลทาง
แบบ มคอ.3 | 8

พันธุศาสตร์ปริมาณ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์พืชได้
- สามารถค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตมาประกอบการทำงานที่
ได้รับมอบหมายได้
- สามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนรายงาน และ
การพูดเพื่อนำเสนอรายงานได้อย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
- ใช้ power point ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามและ
ทำความเข้าใจ เพื่อประกอบการสอนในชัน
้ เรียน
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลที่ค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อ
เป็ นตัวอย่างกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล และแหล่งข้อมูล
- การมอบหมายให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตมา
ประกอบการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- การมอบหมายงานให้นำเสนอในรูปแบบเอกสาร และด้วยวาจา
ผ่านสื่อ
5.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
- ประเมินทักษะการใช้ส่ อ
ื และการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอ
งาน
- ประเมินทักษะการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
แบบ มคอ.3 | 9

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
จำนว
สัปดา น กิจกรรมการเรียนสอน
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ห์ที่ ชั่วโม และสื่อที่ใช้

1 แนะนำเนื้อหาข้อตกลง 2 - ชีแ
้ จงการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วน อ.ดร. สกุล
เบื้องต้น ร่วมเสนอแนะการจัดกิจกรรม กานต์ สิ
การเรียนรู้ที่พึงประสงค์และ มลา
การประเมินผลการเรียน
- สร้างข้อตกลงสำหรับการเรียน
การสอนระหว่างอาจารย์ผู้
สอนและผู้เรียน
- มอบหมายประเด็นเกี่ยวกับ
การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ผู้เรียน
ทำ ทัง้ แบบรายบุคคล และราย
กลุ่ม
ระบบการปรับปรุงพันธุ์ - บรรยายระบบการปรับปรุง
พืช พันธุ์พืช
- ความหมายของการ - ต้นชั่วโมง ให้ผเู้ รียนแต่ละคน
ปรับปรุงพันธุ์พืช ตัง้ คำถามเกี่ยวกับระบบการ
- ความสำคัญของการ ปรับปรุงพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์พืช - ให้ผู้เรียนแต่ละคน ตอบ
- พันธุ์พืชคือหัวใจของ คำถามที่ตนตัง้ ขึน
้ ในท้าย
การผลิตพืช ชั่วโมง
- ระบบการปรับปรุง
พันธุ์พืช
2 วัตถุประสงค์ของการ 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร. สกุล
ปรับปรุงพันธุ์พืช - ต้นชั่วโมง ให้ผเู้ รียนแต่ละคน กานต์ สิ
แบบ มคอ.3 | 10

- การตัง้ วัตถุประสงค์ ตัง้ คำถามเกี่ยวกับ มลา


ของการปรับปรุง วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย เกณฑ์
พันธุ์พืช ตัดสินของการปรับปรุงพันธุ์
- เป้ าหมายของงาน พืช
ปรับปรุงพันธุ์พืช - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
- ข้อมูลและแหล่งของ คำถามที่ตนตัง้ ขึน

ข้อมูล
- เงื่อนไขของงาน
ปรับปรุงพันธุ์พืช
3 วิวัฒนาการของพืชปลูก 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.
และชนิดของพันธุ์พืช - ต้นชั่วโมง ให้ผเู้ รียนแต่ละคน สุรศักดิ ์
- วิวัฒนาการของพืช ตัง้ คำถามเกี่ยวกับวิวัฒนาการ บุญแต่ง
ปลูก ของพืชปลูก และชนิดของ
- การนำพืชต่างถิ่นเข้า พันธุ์พืช
มาปลูกในประเทศ - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
- ความหมาย คำถามที่ตนตัง้ ขึน

ลักษณะสำคัญของ
พืชผสมตัวเอง และ
สาเหตุที่พืชผสมตัว
เอง
- ความหมาย
ลักษณะสำคัญของ
พืชผสมข้าม และ
สาเหตุที่พืชผสมตัว
เอง
- ประเภทของพันธุ์
พืช
- พันธุ์พืชที่ใช้ในการ
ปรับปรุงพันธุ์พืช
- พันธุ์พืชที่ใช้เป็ นการ
แบบ มคอ.3 | 11

ค้า

จำนว
สัปดา น กิจกรรมการเรียนสอน
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ห์ที่ ชั่วโม และสื่อที่ใช้

4-6 พันธุศาสตร์กับการ 6 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร. สกุล
ปรับปรุงพันธุ์พืช - ต้นชั่วโมง ให้ผเู้ รียนแต่ละคน กานต์ สิ
- กรอบแนวคิดของ ตัง้ คำถามเกี่ยวกับพันธุศาสตร์ มลา
พันธุศาสตร์กับการ กับการปรับปรุงพันธุ์พืช
ปรับปรุงพันธุ์พืช - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
- ประเภทและความ คำถามที่ตนตัง้ ขึน

แตกต่างของลักษณะ
ของพืช
- พฤติกรรมการ
ทำงานของยีน
- ความรู้พ้น
ื ฐานของ
พันธุศาสตร์
ประชากร
- ความรู้พ้น
ื ฐานของ
พันธุศาสตร์ปริมาณ
7-8 การปรับปรุงพันธุ์พืช 4 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.
ผสมตัวเอง - ต้นชั่วโมง ให้ผู้เรียนแต่ละคน สุรศักดิ ์
- การคัดเลือกพันธุ์ ตัง้ คำถามเกี่ยวกับการ บุญแต่ง
บริสุทธิ ์ ปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตังเอง
- การคัดเลือกพันธุ์ - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
แบบหมู่ คำถามที่ตนตัง้ ขึน

- การคัดเลือกกลุ่ม
แบบ มคอ.3 | 12

พันธุ์
- การคัดเลือกโดยวิธี
การผสมกลับ
9 สอบกลางภาค
10- การปรับปรุงพันธุ์พืช 4 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร. สกุล
11 ผสมข้าม - ต้นชั่วโมง ให้ผู้เรียนแต่ละคน กานต์ สิ
- การปรับปรุงพันธุ์พืช ตัง้ คำถามเกี่ยวกับการ มลา
ผสมข้าม ปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม
- ความหมายของ - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
แหล่งพันธุกรรม คำถามที่ตนตัง้ ขึน

- ความหมายของ
ประชากรพื้นฐาน
- แหล่งที่มาของ
ประชากรพื้นฐาน
- การสร้างประชากร
พื้นฐาน
- การปรับปรุง
ประชากรพืชผสมข้าม
12 การสร้างพันธุ์ลูกผสม 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร. สกุล
- ความหมายและ - ต้นชั่วโมง ให้ผู้เรียนแต่ละคน กานต์ สิ
ความสำคัญของพันธุ์ ตัง้ คำถามเกี่ยวกับการสร้าง มลา
ลูกผสม พันธุ์ลูกผสมและพันธุ์
- ชนิดของพันธุ์ลูกผสม สังเคราะห์
- การสร้างพันธุ์ - ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
ลูกผสม คำถามที่ตนตัง้ ขึน

- การผลิตเมล็ดพันธุ์
ลูกผสมเป็ นการค้า
13 การคัดเลือกพืชเพื่อให้ 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.
แบบ มคอ.3 | 13

ต้านทานต่อโรคแมลง สุรศักดิ ์
และสิ่งแวดล้อม บุญแต่ง

14 การใช้เทคโนโลยี 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.


ชีวภาพและพันธุ สุรศักดิ ์
วิศวกรรมในงาน บุญแต่ง
ปรับปรุงพันธุ์พืช
แบบ มคอ.3 | 14

จำนว
สัปดา น กิจกรรมการเรียนสอน
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ห์ที่ ชั่วโม และสื่อที่ใช้

15 การปรับปรุงพันธุ์โดย 2 - บรรยาย/อภิปราย/ซักถาม อ.ดร.
การชักนำให้กลายพันธุ์ - ต้นชั่วโมง ให้ผู้เรียนแต่ละคน สุรศักดิ ์
และการจัดการพืชพันธุ์ ตัง้ คำถามเกี่ยวกับการ บุญแต่ง
ใหม่ ปรับปรุงพันธุ์โดยการชักนำให้
กลายพันธุ์ และการจัดการ
พืชพันธุ์ใหม่
- ท้ายชั่วโมง ให้ผู้เรียนตอบ
คำถามที่ตนตัง้ ขึน

16 สอบปลายภาค

2. แผนการสอนภาคปฏิบัติ
สัปดา หัวข้อ/ราย จำน กิจกรรม ผู้สอน
ห์ที่ ละเอียด วน
ชั่วโ
มง
1 - แนะนำเนื้อหาข้อ 2 - ชีแ
้ จงการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วม อ.ดร. สกุล
ตกลงเบื้องต้น - เสนอแนะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กานต์ สิ
ที่พึงประสงค์และการประเมินผล มลา
การเรียน
- การคัดเลือกสาย - บรรยายเกี่ยวกับความสำคัญของ
พันธุ์/พันธุ์พ่อ การคัดเลือกสายพันธุ์/พันธุ์พ่อและ
และแม่เพื่อใช้ใน แม่เพื่อใช้ในการสร้างคู่ผสม
การสร้างคู่ผสม - ปลูกสายพันธุ์/พันธุ์พ่อและแม่
สำหรับสร้างคู่ผสม
แบบ มคอ.3 | 15

สัปดา หัวข้อ/ราย จำน กิจกรรม ผู้สอน


ห์ที่ ละเอียด วน
ชั่วโ
มง
2 การศึกษาวงจร 2 - บรรยายวงจรชีวิตสำหรับงาน อ.ดร. สกุล
ชีวิตสำหรับงาน ปรับปรุงพันธุ์ กานต์ สิ
ปรับปรุงพันธุ์พืช - วงจรชีวิตคืออะไรและความสำคัญ มลา
- วงจรชีวิตของข้าวโพด ถั่วลิสงและ อ.ดร.
ถั่วพุ่ม สุรศักดิ ์
- ให้ผู้เรียนแต่ละคน ตัง้ คำถามเกี่ยว บุญแต่ง
กับวงจรชีวิตและการปรับปรุงพันธุ์
- ให้ผู้เรียนแต่ละคน ทำรายงานเกี่ยว
กับวงจรชีวิตของข้าวโพด มะเขือ
เทศ ถั่วลิสงและถั่วพุ่ม พร้อมทัง้
บอกปั ญหาที่พบในแต่ละระยะ
3-4 การบันทึกข้อมูล 4 - บรรยายการบันทึกและการเก็บ อ.ดร. สกุล
เบื้องต้นของพืช ข้อมูลเบื้องต้นของพืช กานต์ สิ
- ถั่วลิสง และถั่ว - ให้ผู้เรียนแต่ละคนตัง้ คำถามเกี่ยว มลา
พุ่ม หรือถั่วฝั กยาว กับการบันทึกข้อมูลเบื้องต้นสำหรับ อ.ดร.
- ข้าวโพด และ ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ข้าวโพด และมะเขือ สุรศักดิ ์
มะเขือเทศ เทศ และอภิปรายเกี่ยวกับคำถามที่ บุญแต่ง
ตัง้ ขึน

- ให้ผู้เรียนทำตารางการบันทึกข้อมูล
เบื้องต้นสำหรับถั่วลิสง ถั่วพุ่ม
ข้าวโพด และมะเขือเทศ
- ให้ผู้เรียนทำการบันทึกข้อมูลเบื้อง
ต้นสำหรับถั่วลิสง ถั่วพุ่ม ข้าวโพด
และมะเขือเทศในแปลงปลูก
แบบ มคอ.3 | 16

สัปดา หัวข้อ/ราย จำน กิจกรรม ผู้สอน


ห์ที่ ละเอียด วน
ชั่วโ
มง
5-8 บันทึกข้อมูลเบื้อง 8 - ให้ผู้เรียนทำการบันทึกข้อมูลเบื้อง อ.ดร. สกุล
ต้นของถั่วพุ่ม ถั่ว ต้นสำหรับถั่วพุ่ม ถั่วลิสง มะเขือ กานต์ สิ
ลิสง มะเขือเทศ เทศและข้าวโพดในแปลงปลูก ตาม มลา
และข้าวโพด ตารางการบันทึกข้อมูล อ.ดร.
สุรศักดิ ์
บุญแต่ง
แบบ มคอ.3 | 17

สัปดา หัวข้อ/ราย จำน กิจกรรม ผู้สอน


ห์ที่ ละเอียด วน
ชั่วโ
มง
9 สอบกลางภาค
10-12 เทคนิคในการผสม 6 - บรรยายการผสมพันธุ์ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม อ.ดร. สกุล
ข้ามของพืช ข้าวโพด และมะเขือเทศ กานต์ สิ
- ถั่วลิสง และถั่ว - ลักษณะดอก การผสมเกสร การเต มลา
พุ่ม รียมดอกเพศเมียและเพศผู้ การ อ.ดร.
- ข้าวโพด และ ผสมพันธุ์ และ การเก็บเกี่ยวเมล็ด สุรศักดิ ์
มะเขือเทศ พันธุ์ บุญแต่ง
- ให้ผู้เรียนเรียนรู้ผสมพันธุ์ถั่วลิสง ถั่ว
พุ่ม ข้าวโพด และมะเขือเทศใน
แปลงผสมพันธุ์ โดยทำการผสมตัว
เอง (self) ผสมข้าม (cross) และ
ผสมระหว่างเครือญาติ (sib) และให้
นำส่งเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสง ถั่วพุ่ม
ข้าวโพด และมะเขือเทศที่ได้มาจาก
การผสมแยกกัน
- ให้ผู้เรียนทำรายงานเกี่ยวกับการ
ผสมพันธุ์ พร้อมสรุป และวิจารณ์
ปั ญหาและอุปสรรคที่พบ
13 เทคนิคในการคัด 2 - บรรยาย การประเมินความ อ.ดร. สกุล
เลือกต้นพืชที่ ต้านทานต่อโรคพืชและแมลงใน กานต์ สิ
ทนทานต่อโรคพืช สภาพไร่ มลา
และแมลง - ให้ผู้เรียนไปแปลงปลูกผักและไม้ อ.ดร.
ดอกเพื่อทำการประเมินลักษณะ สุรศักดิ ์
ความต้านทานต่อโรคและแมลงใน บุญแต่ง
แบบ มคอ.3 | 18

สัปดา หัวข้อ/ราย จำน กิจกรรม ผู้สอน


ห์ที่ ละเอียด วน
ชั่วโ
มง
สภาพไร่
- ให้ผู้เรียนทำรายงานผลและสรุป
จากผลการทดลอง
14 การจัดการเมล็ด 2 - บรรยายขัน
้ ตอนการจัดการเมล็ด อ.ดร.
พันธุ์ที่ได้จากการ พันธุ์ที่ได้จากการผสมพันธุ์ ตัง้ แต่ สุรศักดิ ์
ผสมพันธุ์ การดูแลรักษาหลังจากการผสม บุญแต่ง
การเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ และการ
จัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
15 การนำเสนอผลงาน 2 - ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานที่ได้รับ อ.ดร. สกุล
มอบหมาย กานต์ สิ
- อภิปรายผลงานร่วมกัน และให้ข้อ มลา
เสนอแนะในการนำเสนอผลงาน อ.ดร.
สุรศักดิ ์
บุญแต่ง

3. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลผู้เรียน สัปดาห์ สัดส่วนการ
ที่ ประเมินผล
ประเมิ

1, 2 และ 3 การสอบกลางภาค 8 25
เปอร์เซ็นต์
1, 2 และ 3 การสอบปลายภาค 16 30
เปอร์เซ็นต์
แบบ มคอ.3 | 19

1, 2 3, 4 รายงาน (บุคคล) เรื่อง ความสำคัญของนัก 15 2


และ 5 ปรับปรุงพันธุ์พืช เปอร์เซ็นต์
1, 2 3, 4 รายงาน (กลุ่ม) เรื่อง แผนภาพวงจรชีวิตของ 15 5
และ 5 ข้าวโพด มะเขือเทศ ถั่วพุ่ม และถั่วลิสง เปอร์เซ็นต์
1, 2 3, 4 รายงาน (บุคคล) เรื่อง วงจรชีวิตของพืช 15 3
และ 5 เปอร์เซ็นต์
ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลผู้เรียน สัปดาห์ สัดส่วนการ
ที่ ประเมินผล
ประเมิ

1, 2 3, 4 รายงาน (บุคคล) เรื่อง การประเมินความ 15 5
และ 5 ทนทานต่อโรคของพืช เปอร์เซ็นต์
1, 2 3, 4 รายงาน (บุคคล) เรื่อง การประเมินความ 15 5
และ 5 ทนทานต่อแมลงของพืช เปอร์เซ็นต์
1 และ 4 ข้าวโพด มะเขือเทศ ถั่วพุ่ม และถั่วลิสงที่ผู้ 15 10
เรียนทำการผสม เปอร์เซ็นต์
1 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม และ 1-15 5
จริยธรรม เปอร์เซ็นต์
4 การประเมินด้านความรับผิดชอบ 1-15 5
เปอร์เซ็นต์
4 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 1-15 5
และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชัน
้ เรียน เปอร์เซ็นต์

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
กมล เลิศรัตน์. 2536. การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม. ภาควิชาพืชสวน
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
แบบ มคอ.3 | 20

สกุลกานต์ สิมลา. 2555. เอกสารประกอบการสอน วิชาหลักการ


ปรับปรุงพันธุ์พืช (0801316). ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิงที่สำคัญ
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2519. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืช
ไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ประสิทธิ ์ ใจศิล. 2541. การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง. คณะ
เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ และอารีย์ วรัญญูวัฒก์. 2540. หลักการปรับปรุง
พันธุ์พืช. สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร
นารี, นครราชสีมา.
3. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิงที่แนะนำ
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2546. ปรับปรุงพันธุ์พืช: พื้นฐาน วิธีการ และ
แนวคิด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นพพร สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ประดิษฐ์ พงษ์ทองคำ. 2541. พันธุศาสตร์. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
http://agserver.kku.ac.th/e-learning/100411/final/menuF/
index.html
แบบ มคอ.3 | 21

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ
รายวิชา
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้เรียน
- ให้ผู้เรียนทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการ
สอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อ
การปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2. การประเมินการสอน
- ประเมินจากผลการตอบรับจากความสนใจของผู้เรียน
- ประเมินจากผลการเรียนของผู้เรียน
3. การปรับปรุงการสอน
- การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วม
ทัง้ หมด ในเรื่องการจัดรูปแบบการเรียนการสอน
- การสอบถามความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้เรียน
์ องผู้เรียนในรายวิชา
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิข
- การทวนสอบการให้คะแนนโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความ
เหมาะสมในการคะแนน โดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช้
อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตัง้ คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของ
รายวิชา
- ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพของผูเ้ รียนและเข้าใจผู้เรียนเป็ นราย
บุคคล
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบ
แบบ มคอ.3 | 22

มาตรฐานผลสัมฤทธิข์ องผู้เรียนในรายวิชา

อาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา

( นางสาวสกุลกานต์ สิมลา
)

You might also like