You are on page 1of 26

แบบฟอร์มนี้ ดดั แปลงมาจาก แบบนำเสนองานวิจยั (แบบ ว-1 ด) ปี พ.ศ.

2560 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ

แบบเสนอโครงร่างวิจัย (Research proposal)

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) ปัจจัยในการดำเนินงานที่ส่งผลต่ อความเสี ยหายของพัสดุ กรณี


ศึกษา บริษทั ไปรษณีย์ไทย เขตจตุจักร กรุ งเทพมหานคร
(ภาษาอังกฤษ)  Operational factors Affecting parcel
damage: a case study of Thai Post Company,
Chatuchak District, Bangkok

1. ผู้รับผิดชอบ (บทบาทของนักวิจัยแต่ละคนในการทำวิจัย และสัดส่วน


ทีทำ
่ การวิจัย (%))
นาย พิธิวัฒน์ ผลจันทร์หลากหัวหน้าโครงการ
สัดส่วนวิจัย 24 %
น.ส ณัชชา สมบูรณ์การ ผู้ร่วมวิจัย สัดส่วน
วิจัย 19 %
นาย ธรรมชาติ น้ำใจดี ผู้ร่วมวิจัย สัดส่วนวิจัย 19
%
นายไพบูลย์ บุตรวงษ์ ผู้ร่วมวิจัย สัดส่วนวิจัย 19
%
นาย ชาคริต นุกูล ผู้ร่วมวิจัย สัดส่วนวิจัย 19
%
สถานที่ทำงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการระบบ
ขนส่ง
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
2

122/41 ถ. วิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง


กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 084-321-1075, 083-2231538 โทรสาร (02)
277-3693-4 ต่อ 403
E-mail : Phithiwat.pol@rmutto.ac.th

2. ประเภทการวิจัย
 การวิจัยเชิงปริมาณ
 การวิจัยเชิงคุณภาพ
 การวิจัยเชิงผสมผสาน

3. สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ทำการวิจัย
งานวิจัยในกลุ่มสาขาวิชาโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

4. ความสำคัญและที่มาของปั ญหา
บริษ ัท ไปรษณีย ์ไ ทย จำ กัด เป็ นรัฐ วิส าหากิจ ในสัง กัด
กระทรวงเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร จัด ตั ง้ ขึน
้ เมื่อ วัน ที่ 14
สิงหาคม 2546 โดยแปลงสภาพมาจากหน่วยธุรกิจ ด้านบริการไปรษณีย์ของ
การสื่อ สารแห่ง ประเทศไทย มีว ัต ถุป ระสงค์ห ลัก ในการแปลงสภาพเป็ น
บริษัทจำกัดเพื่อปฎิรูปกิจการไปรษณีย์ของประเทศให้สามารถดำเนินงานต่อ
เนื่องไปด้วยตนเองในระยะยาวโดยไม่เป็ นภาระของรัฐรวมทัง้ สามารถรองรับ
การให้บริการไปรษณีย์ที่สนองตอบความต้องการของธุรกิจในประเทศและ
ต่า งประเทศโดยให้บ ริก ารสื่อ สารขัน
้ พื้น ฐานในลัก ษณะเชิง สัง คมแก่
ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
3

ปั จจุบันไปรษณีย์ไทยเป็ นที่นิยมและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้
ใช้บริการในหลายๆด่าน ทำให้มีปริมาณงานที่สูงขึน
้ จากการเติบโตของธุรกิจ
อีค อมเมิร ์ซ หรือ การสั่ง ซื้อ สิน ค้า ผ่า นทางออนไลน์ม ากถึง หลัก ล้า นต่อ วัน
ไปรษณีย์ยังมีบริการมากมายให้แก่ผ ู้ใช้งาน เช่น รับฝาก ส่งต่อ นำจ่าย เติม
เงิน การจำหน่า ยสิน ค้า ออนไลน์ข องไปรษณีย ์เ อง การต่อ พ.ร.บ.รถยนต์
การชำระค่าสาธารณูปโภค รวมถึงการบริการ Bank@Post โดยมีการฝาก-
โอน-รับ แต่ก ารบริก ารที่ห ลากหลายก็เ กิด ปั ญหาต่า งๆตามมาด้วยเช่น กัน
เมื่อปี 2556 บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด มีปริมาณงานไปรษณีย์ทัง้ ประเทศ
รวมทัง้ สิน 2,166,563,900 ชิน
้ หนึ่ง ในจำนวนนัน
้ มีพ ัส ดุท ี่ม ีปั ญหาถูก ร้อ ง
เรียนขอสอบสวน 56,179 ชิน
้ แบ่งเป็ น เสียหาย 473 ชิน
้ สูญหาย 2,127
ชิน
้ ล่า ช้า 2,743 ชิน
้ และสามารถนำจ่า ยได้ป กติ 50,836 ชิน
้ เหตุเ พราะ
กระบวนการทำงานของไปรษณีย ์ต ัง้ แต่ รับ ฝาก ส่ง ต่อ นำ จ่า ย มีร ะบบ
ลำเลียงซับซ้อน มีคนเกี่ยวข้องหลายคน หลายขัน
้ ตอนกว่าพัสดุจะถึงมือผู้รับ
จำนวนพนักงานก็ไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่เป็ นลูกจ้างหรือเอาท์ซอส ความรับ
ผิด ชอบในหน้า ที่แ ละประสิท ธิภ าพในการทำงานจึง ไม่เ ทีย บเท่า พนัก งาน
ประจำที่มีประสบการณ์และความชำนาญมากกว่า จึงนำไปสู่ปัญหาด้านการ
บริการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปั ญหาพวกนีส
้ ่งผลให้คนใช้บริการ ไปรษณีย์ลด
ลง และเกิดการแข่งขันทางการตลาด โดยมีค ู่แข่งขันสูงทัง้ บริษัทของคนไทย
และต่า งชาติที่ห ัน เข้า มาธุร กิจ นี ้ เช่น DHL,UPS, FedEX และบริษ ัท นิ่ม ซี่
เส็งขนส่ง 1998 จำกัด (กิตติยา, 2553)
จากที่ได้กล่าวมาผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาและทำวิจัยเรื่องปั จจัย
ในการดำ เนิน งานที่ส ่ง ผลต่อ ความเสีย หายของพัส ดุ กรณีศ ึก ษา บริษ ัท
ไปรษณีย์ไ ทย เขตจตุจ ัก ร กรุง เทพมหานคร เพื่อ ศึก ษาปั จจัย ต่า งๆที่ม ีต ่อ
พัสดุของผู้ใช้บริการ บริษัทไปรษณีย์ไทย เขตจตุจักร ว่าพัสดุเสียหายยังไง
มากขนาดไหน มีผลต่อพัสดุเพียงใด ข้อมูลที่ได้จากกศึกษาในครั ง้ นีส
้ ามารถ

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
4

นำไปใช้เป็ นแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการและสามารถ
แข่งขันกับผู้อ่ น
ื ได้ในอนาคต

ที่มาและความสำคัญต้องมีข้อมูลเชิงสถิติแสดงถึง ข้อ มูลเชิง ประจักษ์และ/


หรือแนวโน้มที่นำพามาซึ่งหัวข้อวิจัยการวางภาพประกอบให้ใกล้ตำแหน่งที่
อ้างถึงในบทความ พิมพ์ช่ อ
ื และลำดับที่ใต้ภาพพร้อมคำบรรยายไว้กึ่งกลาง
หน้า ลักษณะทั่วไปของภาพให้อ้า งอิงจากภาพที่ 1 ภาพประกอบควรเป็ น
ภาพสีส
่ ีแ ละมีข นาดที่ม องเห็น ได้ช ัด เจนโดยวางกึ่ง กลางหน้า กระดาษ
(ภาพถ่ายไม่ควรเป็ นสีขาวดำ

ภาพที่ 1 ส่วนแบ่งตลาดขนส่งพัสดุในปี 2018

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
5

ภาพที่ 2 เปรียบเทียบจุดให้บริการของแต่ละราย

ตารางที่ 1 ตัวอย่างการเขียนตาราง (TH SarabunPSK 12)


x
ar / mr 2 rr

0.1 2.7470e+ 2.7483e+


01 01
0.5 3.5352e+ 3.5360e+
01 01

สมการ ให้วางสมการไว้ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ โดยกำหนดลำดับ ที่


ของสมการในวงเล็บ ( ) และกำหนดให้เ ลขที่ส มการอยู่ช ิด หรือ ใกล้ข อบ
กระดาษขวาในบรรทัดเดียวกัน แสดงตัวอย่างการเขียนสมการ ตามสมการที่
(1)

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
6
'
Cc
T=
1+ e0
G log
[
σ v 0 + Δσ
σ
'
v0 ]
+|PS 3|
(1)

การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ข้อมูลในเนื้อหาที่ได้นำข้อมูลมาจากแหล่งต่างๆ
ต้องมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาทุกครัง้ โดยมีรูปแบบการเขียนอ้างอิงแทรกใน
เนื้อหาคือ
1.1 (ผู้แต่ง, ปี พิมพ์, เลขหน้า) การอ้างอิงแบบนีจ
้ ะเขียนไว้ท้ายข้อความที่
ต้องการอ้างอิง เช่น
(คุณากร วรวรรณธนะชัย, 2556, น. 82 83)
ในกรณีไม่ปรากฏเลขหน้าให้ใส่เพียงชื่อผู้แต่งและปี ที่พิมพ์
(คุณากร วรวรรณธนะชัย, 2556)
1.2 ผู้แต่ง (ปี พิมพ์, เลขหน้า) ในกรณีที่ระบุช่ อ
ื ผู้แต่งไว้ในเนื้อหาแล้ว ไม่
ต้องระบุไว้ในวงเล็บอีกครัง้ หนึ่ง เช่น
สนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม (2550, น. 35) ได้กล่าวถึง
.........................................
ในกรณีไม่ปรากฏเลขหน้าให้ใส่เพียงชื่อผู้แต่งและปี ที่พิมพ์
สนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม (2550)
1.3 ปี พิมพ์ ผู้แต่ง (เลขหน้า) ในกรณีที่ระบุปีที่พิมพ์และชื่อผู้แต่งไว้ใน
เนื้อหาแล้ว ไม่ต้องระบุไว้ในวงเล็บอีกครัง้ หนึ่ง เช่น

5. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
5.1 เพื่อลดอัตราของความผิดพลาดในพัสดุของลูกค้า
5.2 เพื่อศึกษาขัน
้ ตอนการจัดเก็บพัสดุของไปรษณีย์ไทย
5.3 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการจัดเก็บและเคลื่อนย้ายพัสดุในคลัง

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
7

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 อัตราความผิดพลาดในการส่งมอบสินค้าของลูกค้าลดลงและรักษา
ความพอใจของลูกค้าไว้ได้
6.2 ทราบถึงขัน
้ ตอนในการขนส่งและอุปสรรคระกว่างการขนส่ง อาจ
จะทำให้สินค้านัน
้ เสียหายได้

7. ขอบเขตของโครงการวิจัย
7.1 ขอบเขตด้านพื้นที่
ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากพนักงาน ณ ไปรษณีย์ไทย สาขาจตุจักร
7.2 ขอบเขตด้านเวลา
ระหว่าง วันที่ 14 กรกฎาคม 2021 – 20 ตุลาคม 2021
7.3 ขอบเขตด้านเนื้อหา
การศึกษาวิจัยครัง้ นีศ
้ ึกษาเกี่ยวกับขัน
้ ตอนการทำงานของไปรษณีย์
ไทยที่ส่งผลต่อความเสียหายของพัสดุ ตัง้ แต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ –
ขนส่ง เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามปั ขัน
้ ตอนการ
ทำงานส่งผลต่อความเสียหายของพัสดุ
8. สมมุติฐานและกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดอัตราของความผิดพลาดในพัสดุของลูกค้า
2.เพื่อศึกษาขัน
้ ตอนการจัดเก็บพัสดุของไปรษณีย์ไทย
3.เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการจัดเก็บและเคลื่อนย้ายพัสดุในคลัง

ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
8

ปั จจัยเกีย
่ วกับการจัดการโลจิสติ
กส์ พัสดุของลูกค้าได้รับความเสียหาย
จากการ ตัง้ แต่ รับ - เคลื่อนย้าย
 การควบคุม
จัดเก็บ - ขนส่ง
 การเคลื่อนย้าย
 การจัดเก็บ
 การบริการ
 การขนส่งและการกระจาย
ส่งมอบ

ปั จจัยภายนอกองค์กร
 สภาพอากาศไม่เหมาะกับการ
ขนส่ง
 ลูกค้าจำนวนมากขึน

 น้ำท่วมขังในพื้นที่จัดส่ง
 โรคระบาดโควิด-19

สมมุติฐานจากคำถาม
คำถาม: หากปั จจัยเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์ได้รับการแก้ไข พัสดุจะ
ได้รับความเสียหายน้อยลงหรือไม่
คำถาม : หากปั จจัยภายนอกได้รับการแก้ไข พัสดุจะได้รับความเสียหาย
น้อยลงหรือไม่

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
9

ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ปั จจัยเกีย
่ วกับการจัดการโลจิสติ
กส์
 การควบคุม
 การเคลื่อนย้าย
 การจัดเก็บ
 การบริการ พัสดุของลูกค้าได้รับความเสียหาย
 การขนส่งและการกระจาย จากการ ตัง้ แต่ รับ - เคลื่อน
ส่งมอบ ย้าย จัดเก็บ - ขนส่ง

ปั จจัยภายนอกองค์กร
 สภาพอากาศไม่เหมาะกับการ
ขนส่ง
 ลูกค้าจำนวนมากขึน

 น้ำท่วมขังในพื้นที่จัดส่ง
 โรคระบาดโควิด-19

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
10

9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง


9.1 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
9.1.1 การขนส่งสินค้า
9.1.2 การบริการ
9.1.3 คุณภาพของการบริการ
9.1.4 หลักการให้บริการสาธารณะ
9.1.1 การขนส่งสินค้า
โดยทั่วไปการขนส่ง (Transportation) หมายถึงการเคลื่อนย้ายคน
(People) สัตว์ สิ่งของ (Goods) จากสถานที่หนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่ง
อย่างไรก็ดีหากพิจารณาจากคำนิยามนีแ
้ ค่ผิวเผิน อาจก่อให้เกิดความเข้าใจ
ผิดขึน
้ มาได้ว่า การขนส่งเป็ นการเคลื่อนย้ายคน สัตว์ หรือสิ่งของจาก
อาคารแห่งหนึ่งเท่านัน
้ แต่แท้ที่จริงแล้วการขนส่งยังมีความหมายกว้างขวาง
โดยครอบคลุมไปถึง การขนส่ง การขนถ่าย การเคลื่อนย้ายคนหรือสิ่งของ
ภายในอาคาร ภายในบ้าน ภายในที่ทำงานหรือ ภายในโรงงานด้วย ดังนัน

หากยึดคำจำกัดความถูกต้องแล้วการที่คนเราเดินอยู่ภายในบ้าน การใช้ รถ
เข็นช่วยบรรทุกของเมื่อเข้าไปซื้อสินค้าหรือการที่กรรมกรขนถ่ายสินค้าที่
ท่าเรือก็นับเป็ นส่วน หนึ่งของกิจกรรมการขนส่งเช่นเดียวกัน (จักรกฤษณ์
ดวงพัสตรา (2543))
9.1.2 การบริการ
( Lovelock et al (2003) ) ได้ให้ความหมายการ บริการ ไว้ 2
ประเด็น ดังนี ้
1. บริการเป็ นปฏิกิริยาหรือการปฏิบัติงานที่ ฝ่ ายหนึ่งเสนอให้กับอีก
ฝ่ ายหนึ่ง แม้ว่ากระบวนการ (Process) อาจผูกพันกับตัวสินค้าก็ตาม แต่
การปฏิบัติ การเป็ นสิ่งที่มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้ และไม่สามารถ ครอบ
ครองได้

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
11

2. บริการเป็ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สร้าง คุณค่าและจัดหาคุณ


ประโยชน์ (Benefits) ให้แก่ลก
ู ค้า ในเวลาและสถานที่เฉพาะแห่ง อันเป็ นผล
มาจากการที่ ผู้รับบริการหรือผู้แทนนำเอาความเปลี่ยนแปลงมาให้
9.1.3 คุณภาพของการบริการ
( สมวงศ์ พงศ์สถาพร (2550) ) กล่าวว่าความ พึงพอใจของ
ลูกค้า(Customer Satisfaction) มักจะ เกี่ยวข้องกับคุณภาพบริการ
(Service Quality) เป็ น อย่างมากจนบางครัง้ จำสับสนว่าเป็ นเรื่องเดียวกัน
แต่ แท้จริงแล้วคุณภาพบริการเป็ นทัศนคติที่ลูกค้าสะสม ข้อมูลความคาด
หวังไว้ว่าจะได้รับจากการซื้อบริการ นัน
้ ถ้าอยู่ในระดับที่ยอมรับได้
(Tolerance Zone) ลูกค้าก็จะมีความพอใจในบริการ ซึ่งมีระดับที่แตกต่าง
กันออกไปตามความคาดหวังของแต่ละคน แต่ความ พึงพอใจของลูกค้า
เป็ นการประเมินผลที่ได้จาก การรับบริการนัน
้ ๆ คุณภาพจึงถือเป็ นปั จจัยที่
สำคัญ ที่สุดของธุรกิจ การให้บริการ การที่กิจการจะรักษา คุณภาพให้ได้
มาตรฐานตามที่ลูกค้าคาดหวังไว้จึงต้อง คำนึงถึงตัวแปร ดังนี ้
1. ความน่าเชื่อถือ เป็ นความสามารถของ กิจการที่จะแสดงผลงานการ
บริการให้ได้ อย่างที่ โฆษณาไว้และถูกต้องแม่นยำทุกครัง้ เช่น ลูกค้าจะรู้สึก
อย่างไรถ้าฝากส่งสิ่งของทางไปรษณีย์แล้วแต่ไม่ถึงผู้รับ เป็ นต้น
2. จับต้องได้ ถึงแม้ว่าสินค้าบริการจะจับต้องได้ ยากแต่นักการตลาด
จะต้องพยายาม สร้างองค์ประกอบ ทางกายภาพอื่นๆ มาประกอบกับการ
บริการ ไม่ว่าจะ เป็ นตัวพนักงานผู้ให้บริการ วัสดุที่ใช้ อุปกรณ์/เครื่องมือ
ต่างๆ ต้องดูแล้วเหมาะสมกลมกลืนกับภาพที่ลูกค้า คาดหวังไว้ เช่น
พนักงานแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มี เครื่องมือ/อุปกรณ์พร้อมต่อการให้
บริการ ดูน่าเชื่อถือ

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
12

3. การตอบสนอง พนักงานที่ให้บริการลูกค้าจะ ต้องถูกฝึ กมาอย่างดี


จะต้องตัง้ ใจ เอาใจใส่ และพร้อม จะให้บริการกับลูกค้าทันที เช่น พนักงาน
ต้องปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความกระตือรือร้น รวดเร็ว เต็มใจให้บริการ

9.1.4 หลักการให้บริการสาธารณะ
(กุลธน ธนาพงศธร (2548))
1. หลักความสอดคล้องกับความต้องการ ของบุคคลเป็ นส่วนใหญ่ คือ
ประโยชน์และบริการที่องค์การจัดให้นัน
้ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการ
ของบุคลากรส่วนใหญ่หรือทัง้ หมดมิใช่เป็ นการจัดให้ แก่บค
ุ คลกลุ่มใดกลุ่ม
หนึ่งโดยเฉพาะ
2. หลักความสม่ำเสมอ คือ การให้บริการนัน
้ ๆ ต้องดำเนินไปอย่างต่อ
เนื่องสม่ำเสมอ มิใช่ทำๆ หยุดๆ ตามความพอใจของผู้ให้บริการหรือผู้ปฏิบัติ
งาน
3. หลักความเสมอภาค บริการที่ให้นัน
้ จะต้องให้แก่ผู้มาใช้บริการทุก
คนอย่างเสมอหน้า และเท่า เทียมกันไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลหรือ
กลุ่มใดใน ลักษณะแตกต่างจากกลุ่มคนอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด
4. หลักความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ไปใน การบริการ จะต้องไม่
มากจนเกินกว่าผลที่จะได้รับ
5. หลักความสะดวก บริการที่ให้แก่ผู้รับบริการ จะต้องเป็ นไปใน
ลักษณะที่ปฏิบัติได้ง่ายสะดวกสบาย สิน
้ เปลืองทรัพยากรไม่มาก ทัง้ ยังไม่
เป็ นการสร้างภาวะ ยุ่งยากใจให้แก่ผู้ให้บริการหรือผู้ใช้บริการมากจนเกินไป

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
13

10. เอกสารอ้างอิงของโครงงานวิจัย

10.1 เอกสารอ้างอิงภาษาไทย
ปาริ ชาติ ช้วนรักธรรม. (2563). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
ไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด. วิทยานิพนธ์,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ชาตรี เพิ่มพูน. (2562). ปั ญหาและอุปสรรคการบังคับใช้พระราชบัญญัติ
ไปรษณีย์ไทย พ.ศ. 2477. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

จิรศักดิ ์ จิยะจันทร์. (2563). การบริหารองค์การที่มีผลต่อแรงจูงใจในการ


ปฏิบัติงานของพนักงานสายงานปฏิบัติการนครหลวง บริษัทไปรษณีย์ไทย
จำกัด. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

ญาณทัศน์ ไหมกัน. (2562). การศึกษาอิทธิพลของภาพลักษณ์องค์กร


และความรับผิดชอบ
ต่อสังคมที่มีต่อการสื่อสารแบบปากต่อปากผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (EWOM)
ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์, สถาบันการจัดการปั ญญาภิวัฒน์

กุลกัญญา ณ ป้ อมเพ็ชร์. (2562). ความพึงพอใจในคุณภาพการบริการ


ขนส่งพัสดุของไปรษณีย์ไทยที่ส่งผลต่อความภักดีด้านพฤติกรรมของผู้
ประกอบการธุรกิจสินค้าออนไลน์ในเขตภาคกลาง. วิทยานิพนธ์, สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

โพสทูเดย์. (2557). ไขปมคาใจ”ไปรษณีย์ไทย”ห่วยจริงหรือ?. สืบค้นเมื่อ


20 กันยายน 2564,

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
14

จาก:https://www.posttoday.com/politic/report/303617

11. วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/ เก็บข้อมูล


11.1 วิธีการดำเนินการวิจัย
1) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เกี่ยวข้องของขัน
้ ตอนการ
ทำงานของไปรษณีย์ไทยที่ส่งผลต่อความเสียหายของพัสดุ ตัง้ แต่ รับ -
เคลื่อนย้าย จัดเก็บ – ขนส่ง โดยมีกระบวนการสร้างแบบสอบถาม ดังนี ้
1.1) ร่างแบบสอบถาม พร้อมนำแบบสอบถามที่ได้ทดสอบ
ความเที่ยงตรงหรือความสอดคล้องของเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3
ท่านให้ค่าคะแนนเป็ นรายข้อคำถาม โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อ
คำถามและวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index: IOC)
โดยกำหนดคะแนนความสอดค้อง ดังนี ้ (1) = สอดคล้อง (0) = ไม่แน่ใจ (-1)
= ไม่สอดคล้อง
1.2) คำนวณค่า IOC และแปลผล จากสูตร

1.3) ค่า IOC ที่ดีจะต้องมีค่าเข้าใกล้ 1 และไม่น้อยกว่า


0.5 หากมีข้อคำถามที่มีค่า IOC น้อยกว่า 0.5 ให้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
1.4) ทดลองใช้แบบสอบถาม (Try-Out) ทัง้ ฉบับกับกลุ่มที่
มีความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จากนัน
้ สังเกตปั ญหาที่พบจากการนำไป
ทดลองใช้และทำการปรับปรุงแบบสอบถามให้สมบูรณ์

1.5) นำแบบสอบถามที่สมบูรณ์ไปใช้ในการเก็บข้อมูลจริง
โดยกำหนดประชากร บริษัทขนส่งไปรษณีย์ไทยในเขตจตุจัตรที่ให้บริการใน
เขตจตุจัตร จังหวัดกรุงเทพมหานครในการศึกษาครัง้ นีย
้ อมรับให้เกิด
ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างได้ 5% ที่ระดับความ เชื่อมั่น 95%
สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากรเท่ากับ 0.5 มีจำนวนประชากรคือ
แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
15

420 สามารถคำนวณกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro


Yamane, 1973 ) ดังนี ้

N
จากสูตร n=
1+ N e 2

n : คือ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง หรือ ขนาดของกลุ่มประชากร


ตัวอย่าง
N : คือ ขนาดของประชากร
e : คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ (ร้อยละ หรือ
เปอร์เซนต์)

420
n= 2
1+ 420(0.05)

420
n= =211.7
2.125

n ≈ 212 คน

จากการคำนวณพบว่าถ้ามีจำนวนประชากรบริษัทขนส่ง
ไปรษณีย์ไทยในเขตจตุจัตรที่ให้บริการในเขตจตุจัตร จังหวัด
กรุงเทพมหานครจำนวน 420 คนจะต้องทำการศึกษาประชากร
กลุ่มตัวอย่างจำนวนไม่น้อยกว่า 212 คน

1.5.1 เครื่องมือที่ใช้
1.5.1.1 แบบสอบถามปลายปิ ด
การเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจยั ในครั้งนี้ ได้ทำการวิจยั ในเชิงปริ มาณโดยการใช้แบบสอบถามปลายปิ ด
(Close Ended Question) เป็ นเครื่ องมือในการเก็บรวมรวมข้อมูล ซึ่ งปั จจัยและข้อคำถามในแบบสอบถามผูว้ ิจยั

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
16

สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งแบบสอบถามเป็ นลักษณะคำถามแบบ Rating Scale โดยราย


ละเอียดในแบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน ดังนี้
ส่ วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความเสี ยหาย
ของพัสดุ ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ งในเขตจตุจกั ร
ส่ วนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปั จจัยด้านสภาพอากาศที่ส่งผลต่อไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความ
เสี ยหายของพัสดุ ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ งในเขตจตุจกั ร
ส่ วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อเกี่ยวกับเวลาไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความเสี ยหายของ
พัสดุ ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ งในเขตจตุจกั ร
ส่ วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวดำเนินงานของไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความเสี ยหายของ
พัสดุ ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ งในเขตจตุจกั ร
ใช้โปรแกรม SPSS มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จและการจัดการโลจิสติกส์ของผูป้ ระกอบการร้านอาหารขนาดย่อมสัง่
ผ่านแอพพลิเคชันในเขตดินแดง

1.5.2 การสร้างแบบสอบถาม
ศึกษาและรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เกี่ยวข้องของขั้นตอนการทำงานของไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความ
เสี ยหายของพัสดุในเขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถาม โดยมีกระบวนการสร้างแบบสอบถาม
ดังนี้
1. ศึกษาค้นคว้าจากงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดขอบเขตการวิจยั และสร้างเครื่ องมือในการ
วิจยั คือแบบสอบถาม ให้ครอบคลุมตามความมุ่งหมายของการวิจยั
2. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถาม โดยประยุกต์มาจาก (ชูชยั พิทกั ษ์เมืองแมน ,2561)สร้าง
แบบสอบถามและข้อคำถามให้ครอบคลุมตัวแปรที่กำหนดภายใต้คำแนะนำของงอาจารย์ที่
ปรึ กษา
3. นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปให้อาจารย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบคุณภาพด้านความตรง
ของ เนื้อหา (Content Validity) รายข้อเพื่อพิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับ
ตัวแปรที่ตอ้ งการวัด โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 มา
เป็ นข้อคำถามในแบบสอบถาม
4. นำแบบสอบถามที่ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพจากผูเ้ ชี่ยวชาญแล้ว เฉพาะข้อที่อยูใ่ นเกณฑ์
มาปรับปรุ งและสร้างเป็ นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ไปทดลองใช้ (Try out)

ปัจจัยที่มีข้นั ตอนการทำงานของไปรษณีย์ไทย
ตั้งแต่ รับ - เคลือ่ นย้าย จัดเก็บ – ขนส่ งในเขตจตุจตั ร กรุ งเทพมหานคร

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
17

ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดใส่ เครื่ องหมาย  ภายในกรอบสี่ เหลี่ยมหน้า
หัวข้อที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
1. เพศ
 ชาย  หญิง
2. อายุ

ต่ำกว่า 20 ปี 21-30 ปี
31-40 ปี 41 ปี ขึ้นไป

3. ตําแหน่งงาน
พนักงานส่ งวัสดุ พนักงานในคลัง
พนักงานบริ การ
อื่นๆระบุ ........................................
4. ระดับการศึกษา
ต่ำกว่ามัธยมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช.
อนุปริ ญญา / ปวส.
ปริ ญญาตรี
อื่น ๆ …………………
5. ประสบการณ์ในการเป็ นพนักงานไปรษณี ยไ์ ทย
น้อยกว่า 1 ปี 3-5 ปี
 1-2 ปี มากกว่า 5 ปี

ส่ วนที่ 2 ปั จจัยที่ส่งผลต่อไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความเสี ยหายของพัสดุ ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ ง
ในเขตจตุจกั ร คำชี้แจง โปรดใส่ เครื่ องหมาย  ภายในกรอบสี่ เหลี่ยมหน้าหัวข้อที่ตรงกับสถานภาพของท่าน
ระดับความเห็น
ปั จจัยในการดำเนินธุรกิจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
การดำเนินงาน
แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
18

1.เครื่องมือที่ใช้ในการเคลื่อนย้าย
พัสดุมีความเหมาะสมในการปฎิบัติ
งาน
2.ท่านสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ได้อย่างท่วงทีเมื่อเกิดปั ญหา
3.ท่านมีความรู้ และ ความสามารถ
ในการปฏิบัติงาน
4.ท่านมีความกระตือรือร้นในการ
ปฏิบัติงาน
5.ได้รับคำร้องเรียนจากผู้ใช้บริการ
จากการที่ได้รับพัสดุที่เกิดจากความ
เสียหาย
6.การปฏิบัติงานถูกต้องและเหมาะ
สมกับตัวพัสดุ เช่น เครื่องหมาย
แตกหักง่าย ลูกศรชีตำ
้ แหน่งสินค้า
ห้ามโยน
7.เจอพัสดุที่ถูกแพ็คสินค้ามาในรูป
แบบที่ไม่ถูกต้อง
สภาพอากาศ
8.ท่านคิดว่าเกิดจากความชื้นจาก
สภาพอากาศส่งผลต่อพัสดุสินค้า
9.ความเปลี่ยนแปลงของสภาพ
อากาศ

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
19

ระดับความเห็น
ปั จจัยในการดำเนินธุรกิจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
ปั จจัยที่เกี่ยวกับเวลา
10.การจัดส่งพัสดุตามกำหนดการก่อ
ให้เกิดความเสียหายต่อสินค้าจาก
การโยนพัสดุ
11.ความผิดพลาดจากกการรีบขนส่ง
สินค้า
12.พนักงานขนส่งไม่เพียงก่อให้เกิด
ความล่าช้า
ปัจจัยเกีย่ วกับการจัดการโลจิสติกส์

13.การใช้พ้ืนที่จัดเรียงพัสดุมี
แบบแผนขัน
้ ตอนเป็ นระบบ เช่น
เรียงลำดับขนาดพัสดุแข็งแรงไว้ข้าง
ล่าง พัสดุเปราะบางไว้ข้างบน
14.เส้นทางการขนส่งแต่ละพื้นที่ส่ง
ผลต่อพัสดุประเภทต่างๆ
แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
20

15.การขนย้ายสินค้าไปมาจากอีกที่
หนึ่งมาอีกที่หนึ่งผ่านระบบขัน
้ ตอน
หลายอย่าง
16.การดูแลพัสดุในคลังไม่ทั่วถึงจาก
พัสดุที่มีมากเกินไป
17.การวางตำแหน่งของพัสดุที่ผิด
พลาดทำให้พัสดุล่วงหรือได้รับความ
เสียหาย
ส่ วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับเวลาและการจัดการโลจิสติกส์ ไปรษณี ยไ์ ทยที่ส่งผลต่อความเสี ยหายของพัสดุ
ตั้งแต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ - ขนส่ งในเขตจตุจกั รคำชี้แจง โปรดใส่ เครื่ องหมาย  ภายในกรอบสี่ เหลี่ยม
หน้าหัวข้อที่ตรงกับสถานภาพของท่าน

1.5.3) การเก็บรวบรวม
1.5.3.1)ข้อมูลทุติยภูมิ
เป็ นข้อมูลที่มีผู้วิเคราะห์ วิจัยและค้นคว้าเป็ นที่เรียบร้อยแล้วโดยทำการ
รวบรวมข้อมูลต่างๆบทความทางวิชาการ สถิติข้อมูลรายงานต่างๆ รวมถึง

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
21

ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในครัง้ นี ้
(ณัฐนันท์ ประสีระเตสัง,2559)

ตารางที่ ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)


ลำดั ข้อมูลที่เก็บ วิธีเก็บข้อมูล

1 ข้อมูลของพนักงานบริษัทไปรษณีย์ที่ให้
บริการตัง้ แต่ รับ – เคลื่อนย้าย - จัดเก็บ ระบบอินเตอร์เน็ต
– ขนส่ง ในเขตจตุจักร
2 แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในงานวิจัย
3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย

1.5.3.2)ข้อมูลปฐมภูมิ
เป็ นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูล
โดยตรงจากการลงพื้นที่ โดยใช้แบบสอบถาม ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็ นผู้
ประกอบการร้านอาหารขนาดย่อมสั่งผ่านแอพพลิเคชั่นในเขตจตุจัตร (พิบล

ย์ ชมสมบัติ,2563)

ตารางที่ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)


ลำดั ข้อมูลที่เก็บ วิธีเก็บข้อมูล

1 ปั จจัยด้านประชากรศาสตร์
2 ปั จจัยที่เกี่ยวสภาพอากาศ
3 ปั จจัยที่เกี่ยวกับเวลา แบบสอบถาม

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
22

4 ปั จจัยที่เกี่ยวดำเนินงาน

1.5.4) วิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะข้อมูลสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นี ้ ผู้วิจัยจึงได้เลือกใช้วิธีการ ทางสถิติที่
เหมาะสมกับระดับของตัวแปรในการศึกษา ดังนี ้
1.5.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา
1) การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปั จจัยด้านประชากรศาสตร์
โดยใช้สถิติค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
2) การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปั จจัยด้านข้อมูลความสนใจ
เพิ่มเติมโดยใช้สถิติค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
3) การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ โดยใช้สถิติหาค่าเฉลี่ย
(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งเป็ น
ลักษณะคำถามแบบ Rating Scale
โดยปั จจัยที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตของผู้อยู่
อาศัยใช้แบบสอบถามที่มี ลักษณะเป็ นแบบให้คะแนน หรือ Rating Scale
ซึ่งเป็ นการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชัน

( Interval Scale ) โดยมีหลักเกณฑ์ในการให้คะแนน ดังนี ้

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
23

ความพึงพอใจมากที่สุด 5 คะแนน
ความพึงพอใจมาก 4 คะแนน
ความพึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน
ความพึงพอใจน้อย 2 คะแนน
ความพึงพอใจน้อยที่สุด 1 คะแนน
เกณฑ์การพิจารณาแปรผล (Interpretation) และการอภิปรายผลการ
วิจัย เป็ นการวัดแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ผู้วิจัยใช้ผล
จากการค านวณค่าเฉลี่ย โดยใช้สูตรการคำนวณความกว้างของอันตรภาค
ชัน
้ ดังนี ้
ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ข้อมูลที่มีค่าต่ำสุด
จากสูตร ความกว้างอันตรภาคชั้น =
จำนวนชั้น

5– 1
¿
5

= 0.8
เกณฑ์การแปรความหมายของค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
ที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
ค่าเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายถึง ความพึงพอใจปาน
กลาง
ค่าเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00-1.80 หมายถึง ความพึงพอใจน้อย
ที่สุด
4) นำผลการวิเคราะห์ที่ได้จากเครื่องมือทัง้ หมดมาประเมินความ
เป็ นไปได้ในการแก้ปัญหาตัง้ แต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ – ขนส่ง ที่ทำให้
พัสดุเสียหาย

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
24

5) สรุปผลและเสนอแนะแนวทางในการลดปั ญหาที่เกิดขึน
้ ต่อ
ความเสียหายตัง้ แต่ รับ - เคลื่อนย้าย จัดเก็บ – ขนส่ง

11.2 สถานที่ทำการวิจัย
บริษัทขนส่งไปรษณีย์ไทยในเขตจตุจัตรที่ให้บริการในเขตจตุจัตร
จังหวัดกรุงเทพมหานคร

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
25

11.3 ระยะเวลาทำการวิจัย และแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ


วิจัย (ให้ระบุขน
ั ้ ตอนอย่างละเอียด)
แผนการดำเนินงานตลอดโครงการวิจัย โครงการวิจัยเรื่องนีม
้ ีระยะ
เวลาการดำเนินงานวิจัย 4 เดือน มีแผนการดำเนินการวิจัย ดังนี ้
ปี 2561
การดำเนินงาน ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1.จัดการวางแผนการวิจัย
ให้ชัดเจน
2.กำหนดหัวข้อหลัก หัวข้อ
รอง และหัวข้อย่อยของ
การวิจัย
3.อาจารย์ตรวจสอบหัวข้อ
วิจัย
4.ทบทวนวรรณกรรมของ
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพิ่ม
เติม
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ทุติยภูมิ
แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)
26

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ปฐมภูมิ
7. จัดระเบียบข้อมูล
8. วิเคราะห์ข้อมูลและแปร
ความหมาย
ผลการวิเคราะห์
9. เขียนรายงานผลการวิจัย
แต่ละหัวข้อ
10.นำเสนอผลงานวิจัย
11.พิมพ์รายงานและตรวจ
สอบความถูกต้องของ
รายงานผลการวิจัย
12.ส่งงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ลงชื่อ…….…………………………………..หัวหน้าโครงการ
( นายพิธิวัฒน์ ผล
จันทร์หลาก )
วัน
ที่......เดือน...........ปี .............

แบบฟอร์มโครงร่ างงานวิจยั ปรับปรุ งโดย อ.กุลบัณฑิต แสงดี (6/10/2561) และ ดร.กัญญารัตน์ นิ่มตระกูล (9/92564)

You might also like