You are on page 1of 8

ตัวอย่าง บทที่ 2

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาถึงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจ
โดยใช้แนวคิดจากการวิเคราะห์ถึงความต้องการของบุคลการในศูนย์ราชการจังหวัดเชีงใหม่ที่มีต่อการจัดตั้ง
ธนาคารพาณิช ย์ ซึ่งการวิเคราะห์ ดังกล่ าวมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการให้มีการจัดตั้งธนาคาร
พาณิชย์และปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการใช้บริการธนาคารพาณิชย์ เพื่อที่จะสามารถจัดเครื่องมือทางการ
ตลาดที่เหมาะสมและสามารถตอบสนองความต้องการของบุคลากรในศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อให้เกิด
ความพอใจ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. กรอบแนวคิดในการวิจัย

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ความหมายของความต้องการและทฤษฎีความต้องการ
ความหมายของความต้องการ
ความหมายของคาว่า “ความต้องการ” ในทางจิตวิทยา หมายถึง สภาพที่อินทรีย์ขาด
สมดุลย์ ซึ่งจะทาให้เกิดแรงผลักดันให้บุ คคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อกลับเข้าสู่สภาพเดิม
(ปรานี รามสูต, 2562 : 45)
สรุพล อรุณรัตน์ (อ้างใน บานเย็น ประเทศรัตน์, 2560 : 10) ได้สรุปความหมายไว้ว่า “
…ความต้ อ งการคื อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ จ ะบั น ดาลให้ ค นมี ค วามเจริ ญ เติ บ โต หรื อ พั ฒ นาการในทุ ก ๆ
ส่วนประกอบที่มีอินทรีย์ของตน ไม่ว่าจะเป็นด้านกายภาพ หรือจิตภาพ อารมณ์และสังคม ดังนั้น ความ
ต้องการขอมนุษย์จึงถือว่าเป็นแรงขับที่สาคัยทาให้เกิดการพัฒนามากขึ้น เป็นความขาดแคลนที่กระตุ้นให้
บุคคลแต่ละคนแสวงหา และดาเนินวิธีการเพื่อตอบสนองความต้องการนั้น …”
ขณะที่ ลีแกน (อ้างใน บานเย็น ประเทศรัตน์, 2560: 10) ได้ระบุให้ ชัดเจนยิ่งขึ้นว่า “…
ความต้องการ คือความแตกต่างกันระหว่างสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบันกับสภาพที่จะเป็นในอาคต สภาพที่
เป็นอยู่ในปัจจุบันนั้น หมายถึง สภาพที่เป็นจริง สภาพที่จะให้เป็นไปในอนาคต คือ สภาพที่พึ่งประสงค์ …)”
ดังนั้นสรุปได้ว่า ความต้องการ คือ ความปรารถนาของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่ง
ที่ทาให้บุ คคลนั้ น แสวงหาวิธีการหรื อดาเนิ นการเพื่อสนองตอบต่อความปรารถนานั้น และเมื่อได้รับการ
ตอบสนองก็จะทาให้บุคคลนั้นเกิดความพึงพอใจ

ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow)
เกี่ยวกับเรื่องความต้องการของมนุษย์นี้ มาสโลว์ (Maslow) ได้ แ บ่ ง ความต้ อ งการพื้ น ฐาน (basic
needs) ออกเป็น 5 ประเภท คือ ความต้องการทางสรีระหรือความต้องการทาง ร่างกาย (physiological
หรือ physical needs) ความต้องการความมั่นคง ปลอดภัยหรือสวัสดิภาพ (safety needs) ความต้องการ
ความรักและเป็นส่วนหนึ่งของหมู่ (love & belonging needs) ความต้องการที่จะรู้สึกว่าตนเองมีค่า
(esteem needs) และความต้องการรู้จักตนเองอย่างแท้จริงและพัฒนาตนเต็มที่ตามศักยภาพของตน (self
actualization) มาสโลว์ ได้จัดลาดับขั้นของความต้องการจากต่าไปหาสูง เริ่มจากความต้องการทางสรีระ ซึ่ง
มาสโลว์ เชื่ อ ว่ า เป็ น ความต้ อ งการพื้ น ฐานที่ มี แ รงผลั ก ดั น รุ น แรงที่ สุ ด ถ้ า ความต้ อ งการนี้ ข าด จะเป็ น
แรงผลักดันให้บุคคลนั้นมีพฤติกรรมตอบสนองจนเป็นที่พอใจ จึงจะมีความต้องการขั้นสูงต่อไป

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผ่องศรี คุณยศยิ่ง (2558) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่องความต้องการการใช้บริการของธนาคารพาณิชย์
ทางด้านการค้าระหว่างประเทศสาหรับผู้ส่งออกในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบความต้องการใช้
บริการของธนาคารพาณิชย์ทางด้านการค้าระหว่างประเทศสาหรับผู้ส่งออกในจังหวัดเชียงใหม่ และปัจจัยที่มี
ผลต่อการพิจารณาเลือกใช้บริการของธนาคารพาณิชย์ทางด้านการค้าระหว่างประเทศรวมทั้งปั ญหาที่ผู้ส่งออก
พบจากการไปใช้บริการทางด้านการค้าระหว่างประเทศกับธนาคารพาณิชย์ โดยประชากรในการศึกษาคือผู้
ส่งออกในจังหวัดเชียงใหม่ที่ จดทะเบียนเป็นผู้ส่งออกกับศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมการส่งออก
ภาคเหนือ – เชียงใหม่ การเก็บรวมรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและนามาวิเคราะห์โดยโปรแกรมสาเร็จรูป
SPSS เพื่อหาค่าอัตราร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าผู้ส่งออกในจังหวัด
เชียงใหม่ส่วนใหญ่ดาเนินธุรกิจการส่งออกประเภทเซรามิค-เครื่องปั้นดินเผา และของประดับ-ของตกแต่ง โดย
การประกอบกิจการส่งออกนั้นผู้ส่งออกส่วนใหญ่ใช้วิธีการชาระเงินในด้านการค้าระหว่างประเทศด้วยวิธีเลต
เตอร์ออฟเครดิตทางการค้า และใช้วิธีการจัดจาหน่ายสินค้าเพื่อการ ส่งออกโดยการจาหน่ายให้กับลูกค้า
ต่างประเทศโดยตรง (ส่งออกมีความต้องการใช้ บริการของธนาคารพาณิชยทางด้านการค้าระหว่างประเทศ
ได้แก่ บริการโอนเงินระหว่างประเทศและบริการเลตเตอร์ออฟเครดิตเพื่อการส่งสินค้าออก ปัจจัยที่ผู้ส่งออก
พิจ ารณาเลื อ กใช้บ ริ ก ารคื อ ปั จ จั ย ด้า นผลิ ตภั ณฑ์ ปั จ จัย ด้า นราคา ปั จจั ยด้ านเศรษฐกิจ และปั จจั ยดาน
เทคโนโลยี ปัญหาที่ผู้ส่งออกพบในการใช้บริการได้แก่ อัตราค่าธรรมเนียมในการให้บริการ และอัตราดอกเบี้ย

ใบความรู้เรื่องการสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง/วิธีการสืบค้นงานวิจัย

เทคนิคในการสืบค้น
เทคนิคในการสืบค้นบางประการที่จะเป็นประโยชน์สาหรับนักวิจัยเพื่อใช้สืบค้นให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่มี
คุณภาพ ประหยัดเวลาและทรัพยากร ดังนี้
1.การสืบค้นจะมีฐานกว้างขวางยิ่งขึ้น ถ้านักวิจัยอาศัยบรรณานุกรมของบทความสืบค้นต่อไปได้อีกมากมาย
2.สารสนเทศออนไลน์หรือบทความจากวารสารที่นามาใช้อ้างอิงนั้นควรมีความทันสมัย ไม่ควรเก่าจนเกินไป
ไม่ควรเกิน 5 ปี ส่วนสารสนเทศจากหนังสือ ตาราไม่ควรเกิน 10ปี มีข้อยกเว้นใน Text Book ที่เป็นแหล่งปฐม
ภูมิ ฉบับดั้งเดิมของต่างประเทศ
3.สารสนเทศที่นามาอ้างอิงต้องพิจารณาจากผู้เขียนบทความหรือหน่วยงาน/องค์การ/สถาบัน ที่น่าเชื่อถือ
ได้หรือเป็นที่ยอมรับในศาสตร์นั้น
4.คุณภาพของสารสนเทศ พิจารณาจากความถูกต้อง ตรงประเด็น มีความสัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการศึกษา
และมีความทันสมัย
5.เมื่อทาการสืบค้นสารสนเทศมาได้ ควรจะคัดลอกรายละเอียดที่ได้ ลงในโปรแกรมประมวลผลคา (Word
document) แล้วอย่าลืมคัดลอก URL และระบุวันที่สืบค้นได้ไว้ด้วย เพื่อเก็บไว้อ้างอิงในโอกาสต่อไป

ขั้นตอนการเข้าโปรแกรม
1.คลิก Start Program เลือก Internet explorer หรือเลือก google chrome จาก Desktop

2.พิมพ์ http://www.google.co.th
3.เมื่อพิมพ์ที่อยู่ www.google.co.th ลงในช่อง Address แล้วกด Enter จะปรากฏหน้าแรกของ Web
site ซึ่งจะมีส่วนประกอบต่างๆ

การใช้งาน Google
ถ้าต้องการค้นหาคาว่า "ฟิสิกส์" ทาได้โดยพิมพ์คาว่า "ฟิสิกส์" ลงในช่องสาหรับใส่คาที่ต้องการค้นหา
(Keyword) แล้วกดปุ่ม ค้นหาโดย Google
คาสั่งในการค้นหา
การค้นหาของ www.google.co.th จะมีคาสั่งในการค้นหาโดย
1.Google จะใช้เงื่อนไข "และ" (and) ในการค้นหาในรูปแบบของประโยคอยู่เสมอ เช่น ถ้าเราต้องการ
ค้นหาประโยคที่ว่า "ฟิสิกส์ โมเมนตัม"
2.ถ้าต้องการใช้เงื่อนไข "หรือ" (OR) สาหรับเชื่อมคาที่ต้องการค้นหา คือ นาผลที่ค้นหาได้ของทั้งหมดมา
รวมกัน ซึ่งทาได้โดยใช้คาว่า OR

3.การค้นหาของ Google สามารถค้นหาแบบเป็นกลุ่มคาหรือเป็นวลีเราสามารถใช้เครื่องหมาย"___"

4.Google จะสามารถค้นหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ
5.Google สามารถตัดคาที่เป็นคาพ้องรูปโดยใช้เครื่องหมาย "__" เช่น คาว่าBass มีความหมายเกี่ยวกับ
ปลาและดนตรี ในเวลาที่ต้องการตัดความหมายเกี่ยวกับดนตรีก็ทาได้
6.ในการค้นหาโดยปกติแล้ว Google จะละคาทั่วๆไปในภาษาอังกฤษ เช่น the, to, of, และอักษรตัวเดียว
เพราะจะทาให้การค้นหาช้า

ขั้นตอนการพิมพ์ข้อมูล
1.เปิดงานที่ได้ทาการ Save ไว้ขึ้นมา
2.คลิก รูปเฟืองที่อยู่มุมขวาบนของโปรแกรม เลือกPrint>Print... หรือสามารถกดปุ่ม Ctrl+P ที่แป้นพิมพ์
ได้ ปรากฏหน้าจอการตั้งค่าหน้าเอกสารที่ต้องการพิมพ์ขึ้นมาเลือกเครื่องพิมพ์
การสืบค้นเอกสารและงานวิจัยโดยใช้ www.watpon.com
ขั้นตอนการสมัครสมาชิก
1.เข้าเว็บไซต์ http://www.watpon.com เลือกสืบค้นงานวิจัย

2.เลือกฐานข้อมูล ThaiLIS

3.ทาการสมัครสมาชิกผ่านเว็บไซต์
4.ทาการใส่รายละเอียดเกี่ยวกับการสมัครสมาชิกให้ครบ

5.กดบันทึกจะปรากฏกรอบแจ้งเตือนแสดงการสมัครสมาชิกสมบูรณ์ระบบจะให้ทาการยืนยันการสมัคร
สมาชิกผ่านทางอีเมลโดยให้ไปที่อีเมลแล้วทาการ Click link เพื่อยืนยันการสมัคร
6.ถ้าเข้าไปที่ในอีเมลแล้วไม่มี แสดงว่าเมลอาจจะไปอยู่ในอีเมลขยะ (Junk Mail) ระบบจะทาการส่ง
Password กลับมายังอีเมล์อีกครั้งเพื่อใช้ในการ Login เข้าระบบให้กลับไปยังหน้าเว็บที่มี Login เพื่อทาการ
Login เข้าสู่ระบบ
7.เลือกตรง Basic search หรือ Advance search
8.พิมพ์หัวข้องานวิจัยที่ต้องการค้นหาพร้อมทั้งระบุรายละเอียดในการค้นหาแล้วกดคาว่าค้นหาจะปรากฏ
งานวิจัยที่ต้องออกมาให้
9.เลือกงานวิจัยที่ต้องการและคลิกเข้าไปในงานวิจัยนั้น หน้าเว็บงานวิจัยจะมี Button Click อยู่ 3Button
10.การ Export ชื่อที่ต้องการบันทึกสามารถใส่ชื่อแล้วตามนามสกุลที่ต้องการได้ เช่น ถ้าต้องการบันทึกให้
อยู่ในรูปของ
การสืบค้นข้อมูลในยุคปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีระบบอินเทอร์เน็ตนับว่ามีความสาคัญมากในยุคปัจจุบัน แต่
ผู้วิจัยต้องรู้จักคัดกรองข้อมูล เพราะข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ตนั้น ถือว่ายังไม่ใช่ข้อมูลที่เป็นที่
ยอมรับ ไม่เหมือนกับข้อมูลที่ได้จากเอกสาร ตาราทางวิชาการประเภทอื่นๆ
ใบงานเรื่อง การสืบค้นงานวิจัย/บันทึกรักการอ่าน

ผลการเรียนรู้
1. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
2. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้
ให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานบูรณาการ
ชื่องานวิจัย:
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
สิ่งที่ได้จากการค้นคว้า
ลาดับ ชื่อเรื่อง/เอกสารงานวิจัย อ้างอิง/บรรณานุกรม
ใบงานเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ให้นักเรียนค้นหางานวิจัยที่สนใจมา 1 เรื่องอ่านและสรุปตามหัวข้อที่กาหนด

ชื่อ-สกุล .......................................................................................... ชั้นม…….../....... เลขที่.............


ชื่องานวิจัย :
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
วิธีการวิจัย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เครื่องมืองานวิจัย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการวิจัย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านงานวิจัย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

You might also like