You are on page 1of 47

การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย

รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญกมล ดอนขวา


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
kwnkamol@sut.ac.th
ประเด็นการเชื่อมโยงในการกาหนดกรอบ
แนวคิดในการวิจัย
1. การพัฒนาโครงร่างงานวิจัย
2. การพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัย

2
การพัฒนาโครงร่างงานวิจัย
องค์ประกอบที่สาคัญ
1. ชื่อโครงการวิจัยวิจัย
2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาที่ทาการวิจัย
3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
4. สมมติฐานการวิจัย
5. ขอบเขตของการวิจัย
6. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

3
การพัฒนาโครงร่างงานวิจัย(ต่อ)
องค์ประกอบที่สาคัญ (ต่อ)
7. กรอบแนวคิดในการวิจัย
8. วิธีดาเนินการวิจัย
9. เอกสารอ้างอิง
10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ และหน่วยงานที่จะนาผลวิจัยไปใช้
ประโยชน์
11. ระยะเวลาที่ทาการวิจัย และแผนการดาเนินงานตลอด
โครงการวิจัย
4
1. การกาหนดปัญหาและความสาคัญของการวิจัย
ขั้นตอนในการกาหนดปัญหาการวิจัย
ศึกษาสภาพปัญหา Who?
Where? ปัญหาวิจัย
สภาพปัญหา - สังเคราะห์ปัญหา What? ตั้งคาถามวิจัย
- วิเคราะห์ปัญหา When? (ตั้งชื่อเรื่องวิจัย)
Why?
How?
6
เทคนิคการตั้งชื่อเรื่อง
1. กระชับและชัดเจนว่าจะทาวิจัยเรื่องอะไร
2. อ่านแล้วเข้าใจว่าจะศึกษาตัวแปรอะไรบ้าง
3. ต้องไม่ตั้งชื่อเรื่องเป็นประโยคคาถาม
4. นิยมตั้งชื่อเรื่องจากตัวแปรตาม กรณีที่เป็นเรื่องที่ซับซ้อน

7
2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาที่ทาการวิจัย
วิธีการเขียน
- ต้องเขียนให้เห็นชัดเจนว่าเรือ่ งที่จะทาวิจัยมีความสาคัญ
- เขียนเชื่อมโยงลาดับของเนือ้ หา
- มีการอ้างอิงข้อมูลเชิงตัวเลข
- มีการอ้างอิงแหล่งทีม่ าของข้อมูลตามวิธีการอ้างอิงงานวิจัย
- มีการเขียนถึงแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวกับเรื่องทีจ่ ะ
ทาวิจัยที่สะท้อนถึงตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาของลาดับ
เนื้อหา
8
3. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
วิธีการเขียน
- กระชับและชัดเจน สอดคล้องกับชื่อเรื่อง
- มีความชัดเจนว่าจะศึกษาอะไรบ้าง
- ครอบคลุมทุกปัญหาการวิจัย นาไปสู่การออกแบบการวิจัยได้
- เรียงลาดับ
- การมีวัตถุประสงค์หลายข้อ อาจทาให้ต้องใช้เวลา เพราะต้อง
วิเคราะห์และสรุปตอบให้ครบทุกข้อ
- มักเขียนว่า เพื่อศึกษา.../เพือ่ เปรียบเทียบ..ระหว่าง.../เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างการ...
9
4. สมมติฐานการวิจัย(ถ้ามี)
วิธีการเขียน
- สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
- แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
- กาหนดจากการได้ศึกษาค้นคว้าทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- สามารถทดสอบได้

10
11
5. ขอบเขตของการวิจัย
วิธีการเขียน
- ขอบเขตด้านประชากร
- ขอบเขตด้านตัวแปร
- ขอบเขตด้านสถานที่และเวลา
- เรียงลาดับ

12
6.การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิธีการเขียน
- แนวคิดแยกตามตัวแปร
- ทฤษฎีแยกตามตัวแปร
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแยกตามตัวแปร

13
7. กรอบแนวคิดในการวิจัย
วิธีการเขียน
- แนวคิดแยกตามตัวแปร
- ทฤษฎีแยกตามตัวแปร
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแยกตามตัวแปร
- นาทั้ง 3 ประเด็นมาสู่การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ซึ่งนิยมทาเป็นรูปภาพ และอ้างอิงทีม่ าของกรอบแนวคิด

14
ตัวอย่างการกาหนดกรอบแนวคิด
ในการวิจัย
การวิจัย
เรื่อง
ภาวะผู้นาของหัวหน้างานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ
ของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
แบบที่ 1
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นาของหัวหน้างาน กับความยึดมั่นผูกพัน
ต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
2. เพื่อศึกษาตัวพยากรณ์ร่วมระหว่าง ภาวะผู้นาของหัวหน้างาน กับความยึดมั่น
ผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานที่ 1 ภาวะผู้นาของหัวหน้างานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่น
ผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
สมมติฐานที่ 2 ภาวะผู้นาของหัวหน้างานสามารถร่วมกันทานายความยึดมั่นผูกพัน
ต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
แบบที่ 2
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นาของหัวหน้างาน กับความยึดมั่นผูกพัน
ต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
2. เพื่อศึกษาประสบการการทางานของฝ่ายปฏิบัติการ กับความยึดมั่นผูกพันต่อ
องค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........

สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานที่ 1 ภาวะผู้นาของหัวหน้างานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่น
ผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายปฏิบัติการในบริษัท.........
สมมติฐานที่ 2 ระยะเวลาการทางานที่แตกต่างกันของบุคลากรสายปฏิบัติการมีผล
ต่อระดับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การในบริษัท.........
ตัวอย่างงานวิจัย
เรื่อง
ความผูกพันต่อองค์กร และพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ของบุคลากร
Here comes your footer
 Page 23
Here comes your footer
 Page 24
Here comes your footer
 Page 25
Here comes your footer
 Page 26
Here comes your footer
 Page 27
Here comes your footer
 Page 28
Here comes your footer
 Page 29
Here comes your footer
 Page 30
Here comes your footer
 Page 31
Here comes your footer
 Page 32
Here comes your footer
 Page 33
Here comes your footer
 Page 34
Online Purchase Intention of Goods or Service
through Smartphone
วัตถุประสงค์ การวิจัย
1. เพื่อศึกษาการรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคที่มีผลต่อทัศนคติในการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การ
ออนไลน์
2. เพื่อศึกษาทัศนคติในการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ของผูบ้ ริ โภค และบรรทัด
ฐานของกลุ่มอ้างอิงในการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ของผูบ้ ริ โภคที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อ
สิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ผา่ นสมาร์ทโฟน
ปริทศั น์ วรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้ อง

แนวคิดเกีย่ วกับ การตลาดดิจิทลั (Digital Marketing) คือ พัฒนาการของ


ตลาดในอนาคต ทีน่ ักการตลาดสามารถสื่ อสารแบบสองทาง
การตลาดดิจิทลั
(Two-way Communication) กับลูกค้ าได้ อย่ างต่ อเนื่อง
(Wertime and Fenwick, 2551)

แนวคิดเกีย่ วกับ E-Commerce เกีย่ วข้ องมากกว่ าการเป็ นสื่ อแลกเปลี่ยน


ทางการเงินระหว่ างองค์ กรและลูกค้ า (Chaffey, 2007) โดย
พาณิชย์
สามารถนาไปใช้ ปรับปรุ งธุรกิจได้ เกือบทุกแง่ มุม (Kosiur,
อิเล็กทรอนิกส์ หรื อ 2542)
E-commerce
ปริทศั น์ วรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้ อง
แนวคิดเกีย่ วกับการรับรู้ และการรับรู้ คุณค่ าของลูกค้ า
การรับรู ้ เป็ นปัจจัยหนึ่งของตัวแปรทางด้านความคิด (Thought
variables) ในกระบวนการซื้อของผูบ้ ริ โภค ที่มี
อิทธิพลต่อการตัดสิ นใจซื้อ (เพ็ญศิริ โชติพนั ธ์, 2551)
การรับรู ้คุณค่าของลูกค้า ความแตกต่างจากการประเมินสิ่ งที่ผบู ้ ริ โภคคาดหวัง
ในผลประโยชน์ท้งั หมด กับต้นทุนและการรับรู ้
ทางเลือก (Kotler and Keller, 2007)
ปริทศั น์ วรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้ อง
แบบจาลองการยอมรับเทคโนโลยี

การรับรู ้
ประโยชน์

ตัวแปร ทัศนคติใน พฤติกรรม การใช้งานจริ ง


ภายนอก การใช้งาน ความตั้งใจ

การรับรู ้ความ
ง่ายในการใช้งาน

Davis et al. (1989)


ปริทศั น์ วรรณกรรม ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ทฤษฎีการกระทาด้ วยเหตุผล
ความเชื่อว่า
พฤติกรรมจะนาไปสู่ ทัศนคติต่อ
ผลลัพธ์ที่แน่นอน พฤติกรรม
การประเมินผลลัพธ์ ความตั้งใจ
แสดง พฤติกรรม
ความเชื่อว่ากลุ่ม พฤติกรรม
อ้างอิงเห็นว่าควร
แสดงหรื อไม่ควร บรรทัดฐานของกลุ่ม
แสดงพฤติกรรม อ้างอิง

แรงจูงใจในการทา
ตามความคิดเห็นของ
กลุ่มอ้างอิง
Schiffman and Kanuk (2004)
ตัวอย่ างงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
การรับรู้ ทสี่ ่ งผลต่ อทัศนคติในการซื้อสิ นค้ าหรื อบริการออนไลน์

Yang (2012) Consumer technology traits in determining mobile shopping


adoption: An application of the extended theory of planned
behavior
ผลการวิจยั พบว่า
การรับรู ้ความเพลิดเพลิน และการรับรู ้ดา้ นประโยชน์มีผลกระทบ
ทางบวกต่อทัศนคติ
บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงมีผลต่อความตั้งใจซื้อสิ นค้าผ่านมือืือ
ตัวอย่ างงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
การรับรู้ ทสี่ ่ งผลต่ อทัศนคติในการซื้อสิ นค้ าหรื อบริการออนไลน์

Amaro and Duarte An integrative model of consumers’ intention to purchase


(2014) travel online
ผลการวิจยั พบว่า
ความตั้งใจซื้อบริ การท่องเที่ยวผ่านทางออนไลน์เป็ นไปตาม
ทัศนคติและการรับรู ้
การรับรู ้ที่เกี่ยวกับการรับรู ้ดา้ นประโยชน์ และการรับรู ้ความ
ง่ายในการใช้งาน เป็ นตัวทานายที่สาคัญของทัศนคติที่มีต่อการ
ซื้อสิ นค้าออนไลน์
ความเสี่ ยงมีบทบาทสาคัญในการซื้ อบริ การท่องเที่ยวผ่านทาง
ออนไลน์
ตัวอย่ างงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
ทัศนคติและบรรทัดฐานของกลุ่มอ้ างอิงทีส่ ่ งผลต่ อความตั้งใจซื้อสิ นค้ า
หรื อบริการออนไลน์
ณัฐสพันธ์ เผ่ าพันธ์ ทัศนคติของผู้ใช้ อนิ เตอร์ เน็ตทีม่ ตี ่ อความตั้งใจซื้อสิ นค้ าผ่ าน
(2552) ออนไลน์
ผลการวิจยั พบว่า
การรับรู ้ความง่ายต่อการใช้งาน และการรับรู ้ประโยชน์ มีผล
ต่อทัศนคติในการซื้อสิ นค้าออนไลน์
ทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และความน่าเชื่อืือ มี
ผลกระทบเชิงบวกต่อความตั้งใจซื้ อสิ นค้าออนไลน์อย่างมี
นัยสาคัญ
ตัวอย่ างงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
ทัศนคติและบรรทัดฐานของกลุ่มอ้ างอิงทีส่ ่ งผลต่ อความตั้งใจซื้อสิ นค้ า
หรื อบริการออนไลน์
สุ พรรณิการ์ สุ ภพล และ ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ ทาง
เพ็ญศรี เจริญวานิช อินเตอร์ เน็ตของผู้บริโภคชาวไทย
(2554) ผลการวิจยั พบว่า
ผูบ้ ริ โภคมีการรับรู ้ดา้ นความเสี่ ยง และการรับรู ้ดา้ น
ประโยชน์ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
มีทศั นคติเห็นด้วยกับการซื้ อผลิตภัณฑ์ทางอินเตอร์เน็ต
การรับรู ้ดา้ นความเสี่ ยง การรับรู ้ดา้ นประโยชน์ และ
ทัศนคติ มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ทาง
อินเตอร์เน็ต
กรอบแนวคิดการวิจัย
การรับรู้ ทัศนคติ ความตั้งใจซื้อ
ด้านประโยชน์ H1 สิ นค้ าหรื อบริการ
ด้านความง่ายในการ ออนไลน์ ผ่าน
บรรทัดฐานของกลุ่มอ้ างอิง H2
ใช้งาน สมาร์ ทโฟน
กลุ่มปฐมภูมิ
ด้านความเพลิดเพลิน
ครอบครัว
ด้านความเสี่ ยง
เพื่อน
เพื่อนสนิท
กลุ่มทุติยภูมิ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
บุคคลที่มีชื่อเสี ยง
บล็อกเกอร์
สมาชิกในชุมชนออนไลน์
สมมติฐานการวิจัย
H1: การรับรู ้ของผูบ้ ริ โภคมีผลกระทบทางตรงต่อทัศนคติในการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การ
ออนไลน์
H2: ทัศนคติในการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ของผูบ้ ริ โภค และบรรทัดฐานของ
กลุ่มอ้างอิงในการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ของผูบ้ ริ โภคมีผลกระทบทางตรงต่อความ
ตั้งใจซื้อสิ นค้าหรื อบริ การออนไลน์ผา่ นสมาร์ทโฟน
END

You might also like