You are on page 1of 6

การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา


ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
1*การคาดคะเนค่าแรงสั่นสะเทือนในการระเบิดใกล้ แหล่งชุมชน
2*การพัฒนาระบบแจ้งซ่อมและติดตามสถานะเครื่องจักรรูปแบบออนไลน์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
1*Prediction of Peak Particle Velocity (PPV) Near a Community Area
2* Development of an Online System for Reporting Repairs and Tracking Machine Status
ชื่อ-สกุล(นักศึกษา) 1* นาย ภาณุพงศ์ วงค์ชมภู
2* นาย โสภณวิชญ์ ขัติยะราช
ชื่อ-สกุล(อาจารย์นิเทศ) อาจารย์ วิทยกุล สิทธิสาร
สาขาวิชา วศ.บ.วิศวกรรมเหมืองแร่
คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่
ชื่อ-สกุล(ผู้นิเทศงาน/พี่เลี้ยง) คุณ สถาพร กะทาระ
สถานประกอบการ บริษัทสหกลอิควิปเมนท์ จำกัด มหาชน
ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 19 มิถุนายน ถึง 6 ตุลาคม 2566 (16 อาทิตย์)
บทคัดย่อ
จากการได้เข้า ศึกษางานเจาะระเบิด จากทาง บริษั ทสหกลอิควิป เมนท์ จำกัด มหาชน พบว่า บริเวณทางทิศ ใต้ลงไป
ของทางเส้ นแบ่ง (S7) พบความเสี่ย งที่ จะมี แรงสั่ นสะเทือ นเกิน กว่า ที่ท างการไฟฟ้า ฝ่า ยผลิต ( EGAT) กำหนด ที่ ค่ า PPV
(Peak Particle Velocity) ไม่เกิ น 2 mm/sec รวมทั้งโฟร์แมนควบคุ มงาน หัวหน้ าชุดและพนัก งานที่ รับ หน้ าทีค่ วบคุมงาน
เจาะระเบิดเกิดความไม่มั่นใจในการปฏิบัติ งาน
จึงได้จัดทำโครงการการคาดคะเนค่าแรงสั่นสะเทือนโดยการวิเคราะห์ข้อมูล การระเบิด ของทาง บริษัท สหกลอิควิ ป
เมนท์ จำกัด มหาชนแม่เมาะ เพื่อเป็นแนวทางประกอบการตั ดสิน ใจของพนักงานและทำการประเมิ นช่ว งของค่าแรงสั่ น ที่
เกิดขึ้นได้ในแต่ละรูปแบบของการทำการระเบิด [1]
จากที่ได้ เข้าร่ วมโครงการปฏิบั ติโครงการสหกิ จศึก ษา ได้พบปัญ หาภายในบริษั ทเรื่อ งการแจ้ งซ่อ มเครื่องจักรของ
ฝ่ายปฏิบัติการเหมือง ซึ่งยังไม่มีเครื่องมือที่ใช้ในการแจ้งซ่อมและติ ดตามงานซ่ อมอย่างมีประสิทธิภาพ
จึงได้ ศึก ษาคิ ดค้ นหาระบบแจ้ง ซ่อมออนไลน์ขึ้ น เพื่อลดระยะเวลาและขั้ นตอนในการแจ้งซ่ อมจากรูปแบบการใช้
กระดาษซึ่ง เกิดความสิ้ นเปลื องของทรัพยากรเป็นรู ปแบบออนไลน์ เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามสถานะเครื่องจักรและเป็ นการ
ป้องกันใบแจ้งซ่อมสูญหายอย่างมีประสิทธิภาพ [2]
การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา
วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมด้านแรงสั่นสะเทือน
1.2 เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ในการเลือกใช้รูปแบบของการเจาะและกระบวนการระเบิด [1]
2.1 เพื่อลดขั้นตอนในการแจ้งซ่อมเครื่องจักร
2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแจ้งซ่อมและการติดตาม [2]
ขอบเขตการศึกษา
1.1 ค่าแรงสั่นที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับผลคาดคะเนค่าแรงสั่นสะเทือน ค่าแรงสั่นที่เกิดขึ้นจริงมีค่าไม่เกิน 5% [1]
2.1 จำนวนครั้งที่แจ้งซ่อมและการติดตามสถานะได้มากกว่าร้อยละ 90 [2]
วิธีการดำเนินงาน
วิธีการใช้งานระบบคาดคะเนแรงสั่นสะเทือ น
1.เมื่อทราบพิกัดหน้างานระเบิดให้เลือกช่วงพิกัด การประเมิณผลแรงสั่นสะเทือนโดยแบ่ง เป็น 2 ช่วงคือ ช่วงพิกั ด
N6.5 - S6.5 และ S7 - S11
2.ระบุพิกัด N S W E ของพื้นที่ที่ทำการจุดระเบิด(ช่องสีเหลือง)

3.ระบบจะคำนวนระยะทางและเลือกรูปแบบการระเบิดที่ มีบันทึก ไว้ในพิ กัดที่ทำการระบุ


การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา
4.ระบุจำนวนหลุมที่ระเบิด/1ครั้ง และปริมาณวัตถุระเบิด(kg)/หลุม (ช่องสีเขียว)

5.ระบบจะคำนวณค่าแรงสั่นสูงสุดที่เกิดขึ้นได้จากสถิ ติที่ทำการวิเคราะห์รูปแบบการระเบิดแต่ละรูปแบบ หาก


ค่าแรงสั่นสะเทือนเกิน 2 mm/sec ช่องแสดงจะเปลี่ยนเป็นสีแดง [1]
วิธีการใช้ระบบการแจ้งซ่อมออนไลน์มฝี ่ายการดำเนิน การอยู่ 2 ส่วนคือ
1.ฝ่ายแจ้งซ้อมจะสามารถทำการแจ้งซ่อมโดยแนบรายละเอียดของเครื่องจักร ส่วนที่ชำรุด รูปเครื่องจักรหรือส่วนที่
ชำรุด รวมถึงเวลาที่ต้องการให้ซ่อมสำเร็จ
การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา
2.ฝ่ายรับเรื่อง คือผู้ที่รับเรื่องและเป็นฝ่ายทำดำเนินการซ่อม โดยจะสามารถระบุรายละเอียดเวลาที่จ ะทำการซ่อม
สำเร็จ ราคาชิ้นส่วนที่ต้องเปลี่ยน และรูปหลังจากทำการซ่อมเสร็ จ

3.ขั้นตอนทุกขั้นตอนในกระบวนการแจ้งซ่อมทั้งหมดสามารถติดตามได้ผ่านทางเว็ปไซต์และทาง Line Official


ของการแจ้งซ่อม [2]
ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน Pattern การระเบิดพิกัดรถขุด Shovel #12 โดยมีการระเบิดจำนวน 2 ครั้ง ครั้ งละ 20 หลุม
ปริมาณวัตถุระเบิด 30 กิโลกรัม/หลุม โดยใช้รูปแบบการระเบิด 4x5x5 ที่พิกัด S10.2 W10.8 ในวันที่ 3 กันยายน 2566
โดยช่วงของค่าแรงสั่นสะเทือนหลังการคาดคะเนมี ค่าอยู่ที่ 0.825 ถึง 1.616 ที่สถานีบ้านห้วยคิง และ 1.045 ถึง 2.048 ที่
สถานีวัดหางฮุง ค่าแรงสั่นต่ำกว่าการประมาณค่าสูงสุดอยู่ที่ 50.7, 62.9 % และ 71.1, 26.5 % ตามลำดับ [1]
การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา

จากการพัฒนาระบบงาน สามารถแสดงได้ว่า ระบบสามารถแสดงสถานะต่างๆได้ดังภาพ ประกอบไปด้วย สถานะ


ดำเนินการ 3 รายการ สถานะ รอตรวจสอบ 2 รายการ และสถานะเสร็จสิ้นแล้ว 9 รายการ [2]
สรุปผลการดำเนินงาน อภิปรายผล
การระเบิดครั้ งที่ 1 Shovel # 12 รูปแบบการระเบิ ด 4x5x5 ค่าแรงสั่ นต่ำกว่าค่าคาดคะเนสูงสุ ดอยู่ที่ 50.7% และ
71.1 %
การระเบิดครั้ งที่ 2 Shovel # 12 รูปแบบการระเบิ ด 4x5x5 ค่าแรงสั่ นต่ำกว่าค่าคาดคะเนสูงสุ ดอยู่ที่ 62.9% และ
26.5 %
ในสถานีวั ดแรงสั่ นสะเทือ นบ้ านห้ว ยคิ งและวั นหางฮุง ตามลำดับ ซึ่ งการทดลองมีโอกาสที่ ค่า แรงสั่ นสะเทื อนเกิ น
กำหนด ควรต้องมีการแบ่งจำนวนหลุมในการระเบิดเพื่อลดโอกาสในการเสริ มกันของคลื่นแรงสั่นสะเทือน [1]
การประกวดโครงงานสหกิจศึกษา โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมชั้น 2 มทร.ล้านนา
จากการทดลองระบบแจ้งซ่ อมและติ ดตามสถานะเครื่ องจั กร สามารถติ ดตามสถานะของเครื่อ งจัก รได้ ทั้งหมด 14
รายการ ประกอบไปด้ว ย สถานะดำเนิ น การ 3 รายการ สถานะ รอตรวจสอบ 2 รายการ และสถานะเสร็ จสิ้ นแล้ ว 9
รายการ รวมสถานะที่ ส ามารถติ ด ตามได้ เป็ น 14 รายการ ของรายการทั้ งหมดคิ ด เป็ น 100% ของรายการแจ้ ง ซ่ อ ม
เครื่องจักร [2]
แนวทางในการศึกษาในอนาคต
1.1.ตัว เลขค่ าคงที่ และค่ าความชันสามารถเปลี่ย นแปลงได้ต ามข้อ มูลที่บั นทึกลงไปเพิ่ มเติมทำให้ รูปแบบการระเบิ ด
รูปแบบต่าง ๆ มีการประเมิณที่แม่นยำมากขึ้น
1.2.การประเมิน ค่า แรงสั่นมี หมายเหตุก ารใช้ร ะบุถึ งสิ่ง ที่ค วรคำนึง ถึง ต่อท้ ายตารางการประเมิณค่าแรงสั่ นแต่ล ะ
รูปแบบ เช่น ปริมาณวัต ถุระเบิดที่ค วรใช้ ระยะทางที่ เหมาะสม รวมถึ งทิศทางและจำนวนหน้ าอิสระของจุดที่ท ำการระเบิ ด
ไว้
1.3.ควรคำนึงถึงหน้ าอิสระหากมีหน้าอิ สระให้ออกมากกว่ า 1 ทิศทางและทิศ ทางของหน้าอิสระที่ หันไปในทิศทางที่
เหมาะสมจะช่วยลดแรงสั่นลงได้
1.4.หากประเมิ ณค่ าแรงสั่น ด้ว ยสมการรูป แบบการระเบิ ดแต่ ละรูปแบบแล้ วมีค วามเสี่ ยงที่ แรงสั่น สะเทือนมีค่ าสู ง
เกินกำหนด สามารถแบ่ งจำนวนหลุมเพื่อลดปริมาณวั ตถุระเบิ ดในการระเบิด ต่อครั้ง เป็ นการลดโอกาสที่จะเกิดการเสริมกั น
ของคลื่นแรงสั่นสะเทือนลงได้ [1]
กิตติกรรมประกาศ
ทางผู้ จัด ทำขอขอบพระคุ ณ อาจารย์ วิท ยกุล สิ ทธิ สาร และ อาจารย์ ลัด ดาวัล ย์ ดุล ย์ ที่ใ ห้ค ำแนะนำและการ
เตรียมความพร้อมก่อนที่จะมาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
ขอขอบคุ ณพี่ ๆ พนักงานทุ กแผนกที่ ไม่สามารถเอ่ยนามได้ ทีใ่ ห้การต้อ นรับอย่า งอบอุ่น และให้ทั้ งคำแนะนำในการ
ทำงาน แนวคิ ด ความรู้และประสบการณ์ ในการทำงานทั้งความรู้ในหน้างานเมื่อพบเจอปั ญหาและอุป สรรคที่ เกิดขึ้น ในการ
ทำงาน ให้คำตอบและเหตุผลในทุกคำถามที่ผู้จัดทำสนใจและอยากทราบ
สุดท้ายนี้ ทางผู้จัดทำจะนำความรู้ที่ได้ รับมานี้นำไปใช้ให้เป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป
ในอนาคต
เอกสารอ้างอิง
[1] ภาณุพงศ์ วงค์ชมภู. (2566). การคาดคะเนค่ าแรงสั่นสะเทือนในการระเบิ ดใกล้แหล่งชุมชน. บริษัทสหกลอิควิ ป
เมนท์ จำกัด มหาชน.
[2] โสภณวิช ญ์ ขั ติย ะราช. (2566). การพัฒ นาระบบแจ้ง ซ่อ มและติด ตามสถานะเครื่อ งจัก รรู ป แบบออนไลน์ .
บริษัทสหกลอิควิปเมนท์ จำกัด มหาชน.

You might also like