You are on page 1of 10

See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.

net/publication/332550056

Design of Concrete Handling System for High Building

Conference Paper · April 2019

CITATIONS READS

0 241

1 author:

Chokchai Alongkrontuksin
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
45 PUBLICATIONS   0 CITATIONS   

SEE PROFILE

Some of the authors of this publication are also working on these related projects:

Creation and Evaluation the Package Training Subject: Safety for Machinery Demolition Work View project

Design of Concrete Handling System for High Building View project

All content following this page was uploaded by Chokchai Alongkrontuksin on 21 April 2019.

The user has requested enhancement of the downloaded file.


การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

กำรออกแบบระบบลำเลียงขนถ่ ำยคอนกรีตสำหรับงำนก่ อสร้ ำงอำคำรสู ง


Design of Concrete Handling System for High Building

โชคชัย อลงกรณ์ ทักษิณ

อาจารย์ ประจาภาควิชาครุ ศาสตร์ เครื่ องกล


คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
Chokchai.a@fte.kmutnb.ac.th

บทคัดย่ อ
การวิจัยในครั้ งนีม้ ีจุดมุ่งหมายที่จะออกแบบและประเมินระบบลาเลียงขนถ่ ายคอนกรี ตสาหรั บงานก่ อสร้ างอาคารสู ง โดยเริ่ ม
จากการศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ ประเด็นต่ อการเลือกระบบโดยผู้เชี่ยวชาญโดยใช้ สถิติเชิ งพรรณนา จากนั้นจึ งคัดเลือก
ระบบลาเลียงขนถ่ ายคอนกรี ตโดยทดลองนาไปใช้ กับกลุ่มตัวอย่ างในการวิจัยซึ่ งเลือกมาแบบเฉพาะเจาะจงจานวน 30 คน เพื่อทาการ
ประเมินคัดเลือกระบบที่เหมาะสม ต่ อจากนั้นจึ งนาระบบที่คัดเลือกไปออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ ายคอนกรี ต โดยใช้ สูตรสาเร็ จ
ตาราง และข้ อมูลต่ างจากผู้ผลิ ตปั๊ มคอนกรี ต และทาการติ ดตั้งใช้ งานต่ อไป โดยผลการคั ดเลื อกระบบลาเลียงขนถ่ ายคอนกรี ต
สาหรั บงานก่ อสร้ างอาคารสู งแบบต่ างๆ พบว่ าปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูง มีค่าเฉลี่ยสู งที่สุดอยู่ที่ 3.75 และมีค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) 1.07 จึ งถูกคัดเลือกในการออกแบบระบบต่ อไป ส่ วนผลการออกแบบปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูงมีค่าเฉลีย่ ความเหมาะสมอยู่ใน
เกณฑ์ เหมาะสมมาก (มีค่าระหว่ าง 3.5-4.49) ทุกประเด็น และผลการประเมินภายหลังการติดตั้งใช้ งานจากผู้เกี่ยวข้ องของโครงการ
ก่ อสร้ างอาคารคอนโดมิเนียม 26 ชั้น จานวน 5 ท่ าน พบว่ ามีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมมากทุกประเด็น
คำสำคัญ: การออกแบบ ระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ต ก่อสร้างอาคารสู ง

Abstract
The research aims to design and evaluate concrete handling system for high building construction. By the start of
the study and data analysis, Analysts point to select the system by experts. Then select the concrete handling system, by
experiment applied to the sample in this study which were selected purposively 30 samplers to evaluate the suitable
system. Then the chosen system to design the concrete handling system, and install for further use. The results of the
screening concrete handling systems for high building construction found that the trailer concrete pump with an
average high of 3.75 and a standard deviation (S.D.) 1.07 thus it was selected to design the system. The designed results
of a trailer concrete pump is very reasonable. (Ranged from 3.5 to 4.49) all issues and the assessment after the
implementation of the project involves construction of 26-storey condominium building, with an average of 5 people
found were very reasonable all issues.

Keyword: Design, Concrete Conveyor System, High Building Construction.

www.ncteched.org 24 พฤศจิกายน 2559


NCTechEd09TME14 188 คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

1. บทนำ
ในปั จจุบนั ในเขตกรุ งเทพและปริ มณฑล ตลอดจนหัวเมือง
ใหญ่ๆ ของประเทศไทยนั้นมีการก่อสร้างอาคารสู งเป็ นจานวน
มาก โดยอาคารสู งหมายถึงอาคารที่มีความสู งตั้งแต่ 23 m. ขึ้น
ไป [1] ซึ่ งภาวการณ์ก่อสร้างจะเปลี่ยนไปตามสภาวะเศรษฐกิจ
และสั ง คม ดังตัว อย่างเช่ น ผลการประมวลข้อ มู ล พื้ น ที่ ก าร
ก่อสร้าง ไตรมาสที่ 2 ปี 2559 ซึ่ งแสดงตามภาพที่ 1 [12] พบว่า
จานวนผูไ้ ด้รับอนุ ญ าตให้ก่อสร้ างสิ่ งก่ อสร้ างประเภทอาคาร
โรงเรื อ นปี 2559 ค่ อ นข้างคงที่ ไม่ เปลี่ ย นแปลงมากนัก และ
หากเทียบกับปี 2558 ก็เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ทั้งนี้ เนื่ องจากมี ภำพที่ 1 : จานวนผูไ้ ด้รับอนุญาตให้ก่อสร้างสิ่ งก่อสร้างประเภท
การก่อสร้างอาคารสู งตลอดเส้นทางรถไฟฟ้าสายสี เขียวส่ วนต่อ อาคารโรงเรื อน
ขยายแบริ่ ง-สมุ ท รปราการ, หมอชิ ต -ล าลู ก กา, แนวเส้ น ทาง
รถไฟฟ้ าสายสี ม่ วง, แนวเส้ น ทางรถไฟฟ้ าสายสี น้ าเงิ น (บาง
2. วัตถุประสงค์ ของกำรวิจัย
ซื่ อ-ท่าพระ และ หัวลาโพง-บางแค), แนวเส้นทางรถไฟฟ้าสาย
2.1 เพื่อออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตสาหรับงาน
สี แดง (บางซื่ อ -ตลิ่ ง ชั น และ บางซื่ อ-รั ง สิ ต) โดยในการ
ก่อสร้างอาคารสู ง
ก่อสร้ างอาคารสู งซึ่ งโดยทัว่ ๆ ไปจะมี ความสู งตั้งแต่ 7 ชั้นขึ้ น
ไปจะใช้เครื่ องจักรกลทุ่นแรงต่างๆ มากมาย โดยเครื่ องจักรกล 2.2 เพื่อประเมิ น ความเหมาะสมของระบบลาเลี ยงขนถ่าย
ทุ่ น แรงในงานคอนกรี ต ส าหรั บ งานก่ อ สร้ างอาคารสู งนั้น มี คอนกรี ตแต่ละระบบสาหรับงานก่อสร้างอาคารสู ง
ตั้งแต่การใช้รอก การใช้ลิฟท์ขนส่ งวัสดุชว่ั คราว (Material and
3. สมมติฐำนกำรวิจัย
Passenger Lifts or Hoists) ก ารใช้ ท าวเวอ ร์ เค รน (Tower
2.1 ระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้าง
Cranes) จนมาถึ ง ในปั จ จุ บ ัน นิ ย มใช้ปั๊ ม คอนกรี ต (Concrete
อาคารสู งที่ได้ออกแบบขึ้นมีความเหมาะสมอยูใ่ น
Pumps) และการขน ส่ งผงคอน กรี ตด้ ว ยลม (Pneumatic
เกณฑ์เหมาะสมมาก (3.5-4.49) ของเกณฑ์แบบมาตรา
Conveyor) ซึ่ งเจ้าของโครงการและวิศ วกรควบคุ ม โครงการ
ส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
จะต้องพิจารณาเลือกระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ต (Concrete
2.2 ภายหลั ง การติ ด ตั้ งระบบล าเลี ย งขนถ่ า ยคอนกรี ต
Handling Systems) ที่ เหมาะสม ทั้งนี้ ระบบดังกล่าวจะส่ งต่ อ
สาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งซึ่ งได้ออกแบบไว้ ระบบ
คุณภาพ (Quality) ต้นทุ น (Cost) และระยะเวลาในการทางาน
สามารถใช้ ง านได้ต ามข้อ ก าหนดรายละเอี ย ดที่ ไ ด้
และส่ งมอบงาน (Time and Delivery) ดังนั้นผูว้ ิจยั จึ งมี ความ
ออกแบบไว้
สนใจที่จะออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตสาหรับงาน
4. วรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
ก่อสร้างอาคารสู ง ทั้งนี้ เพื่อที่ จะช่วยให้งานก่อสร้างอาคารสู ง
ในการออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตสาหรับงาน
ข อ งป ระเท ศ ไท ยมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล (Effectiveness) แ ล ะมี
ก่ อสร้ างอาคารสู งตั้งแต่อ ดี ตจนถึ งปั จจุ บ ันได้มี การพัฒ นามา
ประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) อี กทั้งยังให้เกิ ดความปลอดภัยใน
เป็ นลาดับ ตั้งแต่ การใช้แ รงงานคน การใช้ร อก การใช้ลิ ฟ ท์
ก าร ท าง าน แ ล ะ รั ก ษ าสิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม (Work Safety and
Environment) อีกด้วย ขนส่ งวัสดุชว่ั คราว การใช้ทาวเวอร์ เครน การใช้รถเครน การ
ใช้ปั๊มคอนกรี ตหรื อปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูงร่ วมกับแขนบูมส่ ง
คอนกรี ต (Concrete Placing Boom) หรื อที่ นิยมเรี ยกชื่ อย่อกัน

24 พฤศจิกายน 2559 www.ncteched.org


คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 189 NCTechEd09TME14
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

โดยทัว่ ไปว่า PCB การใช้รถบรรทุกติดตั้งปั๊ มคอนกรี ตและบูม คอนกรี ตผสมเสร็ จ ระยะทางระหว่ า งโรงผลิ ต คอนกรี ต
การขนถ่ า ยผงซี เมนต์ ด้ว ยลม ฯลฯ ซึ่ งในการเลื อ กบรรดา ผสมเสร็ จ กับ โครงการก่ อ สร้ าง สภาพการจราจร ฯลฯ [8]
วิ ธี ก ารต่ างข้างต้น ย่อ มส่ งผลต่ อ ความรวดเร็ ว ในการท างาน ภายหลังการกาหนดอัตราการไหลแล้วก็จะทาการเลือกขนาด
ความสะดวกในการทางาน คุณภาพงาน ความปลอดภัยในการ ท่อ ซึ่ งจะคานึ งถึ งความเร็ วแล่นที่ เหมาะสมโดยไม่ก่อให้เกิ ด
ทางาน การรั กษาสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนต้นทุนในการทางาน เสี ย งดัง แรงกระแทก ความเสี ย ดทานในเส้ น ท่ อ และข้อ ต่ อ
ดังนั้น ผูอ้ อกแบบหรื อ สถาปนิ ก และวิศ วกรจ าเป็ นอย่างยิ่งที่ ต่างๆ ฯลฯ ส่ วนขั้นตอนการออกแบบแนวเส้นท่อคอนกรี ตจะ
จะต้อ งให้ ค วามส าคัญ เป็ นอย่า งมาก ทั้ ง นี้ ส่ ว นใหญ่ อ าศัย คานึ งถึงเส้นทางการสัญจรภายในโครงการ ความสามารถใน
ประสบการณ์ ก ารท างานหรื อ ความรู ้ ที่ ส ะสมในองค์ก ร ใน การเข้าถึงของรถขนส่ งคอนกรี ตผสมเสร็ จ ความปลอดภัยใน
ปั จจุบนั งานก่อสร้างอาคารสู งตั้งแต่ 30 ชั้นขึ้นไปนิ ยมเลือกใช้ การทางาน [9] การติ ดตั้งแนวเส้นท่อ ฯลฯ โดยในขั้นตอนนี้
ปั๊ มคอนกรี ต (Concrete Pump) ทั้งที่ เป็ นแบบรถบรรทุ กติ ดตั้ง นอกจากจะได้แ บบแล้วยังจะทราบถึ งรายการท่ อ ข้อ ต่ อ ลิ้ น
ปั๊ มคอนกรี ต, ปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูง และรถบรรทุกติดตั้งปั๊ ม อุปกรณ์รองรับ-จับยึด ฯ ขั้นตอนต่อมาเป็ นการคานวณค่าหัว
คอนกรี ตพร้อมแขนบูมมากกว่าการใช้ทาวเวอร์ เครน โดยใน ภาระรวมซึ่ งจะน ารายการวัส ดุ -อุ ป กรณ์ (Bill of Quantities :
การออกแบบแบบเลื อกปั๊ ม คอนกรี ต (Concrete Pump Design BOQ) มาท าการค านวณโดยใช้ สู ตรส าเร็ จ ของผู ้ผ ลิ ต ปั๊ ม
or Selection) ประกอบด้ ว ยขั้ น ตอนที่ ส าคั ญ ดั ง ต่ อ ไปนี้ 1) ค อ น ก รี ต เช่ น Putzmeister, Schwing, Cifa, IHI, Zoonlion,
กาหนดอัตราการไหล และเลือกขนาดท่อ 2) ออกแบบแนวเส้น Everdigm ฯ ล ฯ ใน ที่ นี้ ใช้ สู ต ร ส าเร็ จ แ ล ะ ต าร างต่ างๆ
ท่ อ คอนกรี ต (Concrete Pipe Line and Fitting) 3) ค านวณหา (รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1) ของ Zoomlion [25,26, 27,
ค่าหัวภาระรวม (Total Head Loss) 4) เลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ตที่ 28, 29, 30] ขั้นตอนสุ ดท้ายจะทาการเลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ตที่
เหมาะสม โดยขั้นตอนการคานวณหรื อประมาณค่าหัวภาระ เหมาะสม ซึ่ งพิ จ ารณาจากกราฟสมรรถนะ (Performance
รวม [7] (Total Head Loss) นั้นถือว่าเป็ นขั้นตอนที่ สาคัญหรื อ Curve) ของปั๊ ม คอนกรี ต เครื่ อ งยนต์ต ้น ก าลัง ขับ (1 หรื อ 2
ยากที่สุด [20, 21, 22, 23, 25,26, 27, 28, 29, 30] เครื่ อง, ใช้ร่วมหรื อแยกกับรถบรรทุก, ขนาดแรงม้า) ระบบไฮ
ด ร อ ลิ ค (Closed Circuit ห รื อ Opened Circuit) ฯ ล ฯ
(Putzmeister, 1994)
ตำรำงที่ 1 ตัวอย่างการเทียบแปลงหัวภาระความเสี ยดทานของ
Piping and Fitting ไปเป็ นความยาวท่อเทียบ
Piping and Fitting ความยาวท่อเทียบ
ท่อ 5” ขึ้นในแนวดิ่ง (1 m.) 5 m.
ข้อ 90. รัศมี 1 เมตร ติดตั้งในแนวราบ 1 ตัว 9 m.
ข้อ 90. รัศมี 0.5 เมตร ติดตั้งในแนวราบ 1 ตัว 12 m.
ข้อ 90. รัศมี 1 เมตร ติดตั้งในแนวดิ่ง 1 ตัว 14 m.
ในส่ วนของการคานวณหัวภาระรวม คิดจากดังนี้ 1) ความ
ภำพที่ 2 : การติดตั้งปั๊มคอนกรี ตแบบลากจูงในโครงการก่อสร้าง ดัน สู ญ เสี ยขณะเริ่ ม เดิ น เครื่ อ ง (Pump Start Loss Pressure) 2)
หัวภาระของท่ อที่ ต่อจากปั๊ มคอนกรี ตไปยังท่อแนวดิ่ ง (Level
Pipe on Ground) = 0.2-0.25 เท่ าของความสู งท่อในแนวดิ่ ง 3)
ในขั้น ตอนการกาหนดอัตราการไหลนั้น มี มู ลเหตุ ม าจาก ผลรวมความยาวเส้ น ท่ อ แปลงเป็ นความยาวท่ อ เที ย บและ
ความรวดเร็ วในการทางานที่ตอ้ งการ ระยะเวลาในการส่ งมอบ

www.ncteched.org 24 พฤศจิกายน 2559


NCTechEd09TME14 190 คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

ผลรวมความยาวท่ อ เที ย บจากข้อ ต่ อ ต่ างๆ 4) หั ว ภาระจาก ขายและเช่ า หัวหน้างาน พนักงานผูป้ ฏิ บตั ิงาน และเจ้าหน้าที่
น้ าหนักลาตั้งคอนกรี ตในแนวดิ่ง (หรื อความสู งในแนวดิ่ง) ความปลอดภัย ในการท างานซึ่ งมี ป ระสบการณ์ ต รงในการ
ท างานเกี่ ย วกับ งานล าเลี ย งขนถ่ ายคอนกรี ต ในงานก่ อ สร้ าง
ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงปั จจัยหรื อขั้นตอนต่าง ที่ ตอ้ งคานึ งถึงต่อ
การออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้าง
อาคารสู ง โดยผลการสัมภาษณ์ เป็ นคะแนนแบบมาตราส่ วน
ภำพที่ 3 : รถบรรทุกติดตั้งปั๊มคอนกรี ตแบบมีบูม (Truck Mounted ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญจานวน 12
Cocrete Boom Pump) ท่ า น ผลการสั ม ภาษณ์ มี ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ที่ 4.1
5. วิธีดำเนินกำรวิจัย (เหมาะสมมาก) ส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานมีค่า 0.56 โดยหัวข้อ
ครอบคลุมดังนี้ 1) กาหนดอัตราการไหล และเลือกขนาดท่อ
ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูล 2) ออกแบบแนวเส้ น ท่ อ คอนกรี ต (Concrete Pipe Line and
Fitting) 3) ค านวณหาค่ า หั ว ภาระรวม (Total Head Loss) 4)
วิเคราะห์ประเด็นต่อการเลือกระบบ เลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ตที่เหมาะสม
5.2 วิเครำะห์ ประเด็นในกำรพิจำรณำเลือกระบบลำเลียง
คัดเลือกระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ต คอนกรีตสำหรับงำนก่ อสร้ ำงอำคำรสู ง
ขั้น ตอนนี้ เริ่ มจากการวิ เคราะห์ ป ระเด็ น ต่ า งๆ ในการ
พิจารณาเลือกระบบลาเลียงคอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้างอาคาร
กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
สู งโด ย อ าศั ย ข้ อ มู ล เอ ก ส าร ห นั งสื อ ต ารา งาน วิ จั ย
ประสบการณ์การ ข้อคิดเห็นจากผูช้ านาญเฉพาะด้าน ฯ ซึ่ งใน
ออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ต การประเมินผลการวิเคราะห์น้ นั จะให้ผเู ้ ชียวชาญจานวน 5 ท่าน
ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั การโครงการ วิศวกรสนาม/โครงการ ผูจ้ ดั การฝ่ าย
ดาเนินการติดตั้งใช้งานและเก็บข้อมูล ขาย-เช่ าเครื่ องจักรกล และวิศวกรซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรกลซึ่ ง
เป็ นผูม้ ี ประสบการณ์ ในการทางานเกี่ยวกับการซื้ อ เช่า เช่าซื้ อ
ขาย ให้ เช่ า ออกแบบ-ค านวณ ติ ด ตั้ ง รื้ อถอน ซ่ อมและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลและสรุ ปผล
บ ารุ งรั ก ษาทาวเวอร์ เครน ลิ ฟ ท์ ข นส่ งวัส ดุ ช่ั ว คราว ปั๊ ม
การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิงทดลองเพื่อออกแบบระบบ คอนกรี ต (Concrete Pump) ทั้งที่ เป็ นแบบรถบรรทุ กติ ดตั้งปั๊ ม
ลาเลี ย งขนถ่ ายคอนกรี ต ส าหรั บ งานก่ อ สร้ างอาคารสู ง ซึ่ งมี คอนกรี ตและปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูง และรถบรรทุกติดตั้งปั๊ ม
ขอบเขตครอบคลุม 1) กาหนดอัตราการไหล และเลือกขนาด คอนกรี ตพร้อมแขนบูม ฯลฯ โดยมีประสบการณ์ในการทางาน
ท่อ 2) ออกแบบแนวเส้นท่อคอนกรี ต (Concrete Pipe Line and มาเป็ นเวลานานมากกว่า 10 ปี ทาการประเมินผลการวิเคราะห์
Fitting) 3) ค านวณหาค่ า หั ว ภาระรวม (Total Head Loss) 4) โดยผลการประเมิ นเป็ นคะแนนแบบมาตราส่ วนประมาณค่า
เลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ตที่เหมาะสม โดยขั้นตอนการวิจยั ดังนี้ (Rating Scale) 5 ระดับ และคัดเลือกเฉพาะประเด็นที่มีค่าเฉลี่ย
5.1 ศึกษำและวิเครำะห์ ข้อมูล ความเหมาะสมอยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสมมากขึ้นไป
ทาการศึ กษาข้อมู ลจากทั้งงานวิจยั ตารา หนังสื อ เอกสาร 5.3 คัดเลือกระบบลำเลียงขนถ่ ำยคอนกรีต
[3, 4, 5, 6] ตลอดจนสัมภาษณ์ เจ้าของ ผูจ้ ดั การ เจ้าหน้าที่ ฝ่าย ในขั้น ตอนนี้ จะน าประเด็ น ที่ ผ่ า นการประเมิ น ในการ
พิจารณาเลือกระบบลาเลียงคอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้างอาคาร
24 พฤศจิกายน 2559 www.ncteched.org
คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 191 NCTechEd09TME14
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

สู งมาคัดเลือกหาระบบลาเลียงคอนกรี ตที่มีความเหมาะสม ซึ่ ง การออกแบบสาหรับโครงการก่อสร้างอาคารคอนโดมิเนี ยม 26


ในการประเมินคัดเลือกนั้นจะให้ผเู ้ ชียวชาญจานวน 30 ท่าน ซึ่ ง ชั้น แห่ งหนึ่ งย่านสะพานควาย ซึ่ งประเด็น ในการออกแบบ
เป็ นผูป้ ระกอบวิช าชี พ วิศวกรรมควบคุ ม ผูจ้ ัด การโครงการ ครอบคลุม 1) แบบแนวเส้นท่อทาง การจับยึดท่อ และรายการ
วิศวกรสนาม/โครงการ ผูจ้ ดั การฝ่ ายขาย-เช่าเครื่ องจักรกล และ วัส ดุ -อุ ป กรณ์ 2) รายการค านวณหั วภาระรวม 3) การเลื อ ก
วิศวกรซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรกลซึ่ งเป็ นผูม้ ี ประสบการณ์ในการ ขนาดปั๊ ม คอนกรี ต 4) วิ ธี ก าร-ขั้ น ตอนการติ ด ตั้ ง 5) การ
ทางานเกี่ยวกับการซื้ อ เช่า เช่าซื้ อ ขาย ให้เช่า ออกแบบ-คานวณ วิเคราะห์ความเสี่ ยงในการปฏิ บตั ิงานและการป้ องกัน 6) การ
ติดตั้ง รื้ อถอน ซ่ อมและบารุ งรักษาทาวเวอร์ เครน ลิฟท์ขนส่ ง ย้ายตาแหน่ง-รื้ อถอน ซึ่ งในการประเมินผลการออกแบบระบบ
วัส ดุ ช่ัว คราว ปั๊ ม คอนกรี ต (Concrete Pump) ทั้ง ที่ เป็ นแบบ ลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตจะให้ผเู ้ ชียวชาญจานวน 5 ท่าน ซึ่ งเป็ น
รถบรรทุกติดตั้งปั๊ มคอนกรี ตและปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูง และ ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมซึ่ งเป็ นผูม้ ีประสบการณ์ใน
รถบรรทุ ก ติ ด ตั้ ง ปั๊ มคอนกรี ตพร้ อ มแขนบู ม ฯลฯ โดยมี การทางานเกี่ยวกับการออกแบบ-คานวณ ติดตั้ง รื้ อถอน ซ่ อม
ประสบการณ์ในการทางานมาเป็ นเวลานานมากกว่า 10 ปี ซึ่ ง และบ ารุ งรั ก ษาปั๊ ม คอนกรี ต (Concrete Pump) ทั้งที่ เป็ นแบบ
ใช้เป็ นกลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ทาการประเมินผลการวิเคราะห์ รถบรรทุกติดตั้งปั๊ มคอนกรี ตและปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูง และ
โดยผลการประเมิ นเป็ นคะแนนแบบมาตราส่ วนประมาณค่า รถ บ รรทุ ก ติ ด ตั้ งปั๊ ม ค อ น ก รี ต พ ร้ อ ม แ ข น บู ม โด ยมี
(Rating Scale) 5 ระดับ และคัดเลือกเฉพาะประเด็นที่มีค่าเฉลี่ย ประสบการณ์ ในการท างานมาเป็ นเวลานานมากกว่า 5 ปี ท า
ความเหมาะสมอยู่ในเกณฑ์เหมาะสมมากขึ้ นไป เพื่อใช้เป็ น การประเมิ น ผลการออกแบบ โดยผลของการประเมิ น เป็ น
แนวทางในการออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตต่อไป คะแนนแบบมาตรส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
5.4 กำหนดประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำงทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย 5.6 ดำเนินกำรทดลองงำนวิจัยและเก็บรวบรวมข้ อมูล
ประชากรในการวิจัย ครั้ งนี้ เป็ นผูป้ ฏิ บ ัติ งานเกี่ ย วกับ การ จากประเด็นที่ ผ่านการประเมิ นในการพิจารณาเลือกระบบ
ออกแบบ-ค านวณ พิ จ ารณาคัด เลื อ ก ติ ด ตั้ง ตรวจ-ทดสอบ ล าเลี ย งคอนกรี ต ส าหรั บ งานก่ อ สร้ า งอาคารสู ง จะท าการ
ซ่ อม-บ ารุ งรั กษา และรื้ อถอนระบบลาเลี ยงขนถ่ายคอนกรี ต คัดเลือกหาระบบลาเลียงคอนกรี ตที่มีความเหมาะสม ผูว้ ิจยั จึง
ส าหรั บ งานก่ อสร้ างอาคารสู ง ส่ วนกลุ่ม ตัวอย่างที่ ใช้ในการ ได้ท าการทดลองเพื่ อเก็บ รวบรวมข้อ มู ลที่ ใช้ในการคัดเลื อ ก
วิ จั ย เลื อกแบ บ เฉ พ าะเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่ งมี ระบบลาเลี ยงขนถ่ายคอนกรี ตกับ กลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน
คุณลักษณะเดียวกันประชากรในการวิจยั ซึ่ งประกอบด้วย ซึ่ งกลุ่ ม ตัว อย่างมาจาก บริ ษ ัท สี่ พ ระยาก่ อ สร้ าง จ ากัด และ
- บริ ษทั สี่ พระยาก่อสร้าง จากัด Bouygues-Thai co;ltd
- Bouugues-Thai co;ltd 5.7 วิเครำะห์ ข้อมูลและสรุ ปผล
ภายหลังการวิเคราะห์ ประเด็นในการพิจารณาเลือกระบบ ในขั้นตอนสุ ดท้ายจะนาผลการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างของ
ลาเลียงคอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งและกาหนดกลุ่ม การวิจยั (Sample) เพื่อทาการประเมินคัดเลือกหาระบบลาเลียง
ตัวอย่างเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้ทาการทดลองเพื่อเก็บ ขนถ่ า ยคอนกรี ตส าหรั บ งานก่ อ สร้ า งอาคารสู งที่ มี ค วาม
รวบรวมข้อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ นการคั ด เลื อ กระบบล าเลี ย งขนถ่ า ย เหมาะสม จากนั้นจึงออกแบบระบบลาเลียงคอนถ่ายขนกรี ตซึ่ ง
คอนกรี ตกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน จากนั้นจึ งนาผลการ ครอบคลุม 1) แบบแนวเส้นท่อทาง การจับยึดท่อ และรายการ
คัดเลือกระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตที่มีความเหมาะสมไปทา วัส ดุ -อุ ป กรณ์ 2) รายการค านวณหั วภาระรวม 3) การเลื อ ก
การออกแบบระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตต่อไป ขนาดปั๊ ม คอนกรี ต 4) วิ ธี ก าร-ขั้ น ตอนการติ ด ตั้ ง 5) การ
5.5 ออกแบบระบบลำเลียงขนถ่ ำยคอนกรีต วิเคราะห์ความเสี่ ยงในการปฏิ บตั ิงานและการป้ องกัน 6) การ
ในขั้น ตอนนี้ ผู ้วิ จัย ได้ ท ดลองน าระบบล าเลี ย งขนถ่ า ย ย้ายตาแหน่ง-รื้ อถอน
คอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งที่ผา่ นการคัดเลือกไปทา

www.ncteched.org 24 พฤศจิกายน 2559


NCTechEd09TME14 192 คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

6. ผลกำรวิจัย ตำรำงที่ 3 ผลการคัดเลือกระบบลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ต


จากผลการวิ จัย พบว่ า ผลการวิ เคราะห์ ป ระเด็ น ต่ อ การ สาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งแบบต่างๆ
พิ จ ารณาเลื อ กระบบล าเลี ย งขนถ่ า ยคอนกรี ตส าหรั บ งาน หัวข้อประเด็นในการประเมิน/ TC TMCBP TMCP TCP
ก่อสร้างอาคารสู งซึ่ งผ่านเกณฑ์คดั เลือกเป็ นคะแนนแบบมาตรา 1. ความสามารถในการ 4.00 3.60 1.00 1.40
ส่ ว นประมาณค่ า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยแสดงเฉพาะ ใช้ ง านได้ห ลากหลาย
ประเด็นที่ มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสมมาก ประเภทงาน
ขึ้ นไป (รายละเอี ย ดดั ง แสดงตามตารางที่ 2) ส่ ว นผลการ 2. การตอบสนองงาน 2.80 3.60 4.40 4.60
คัด เลื อ กระบบล าเลี ย งขนถ่ ายคอนกรี ต ส าหรั บ งานก่ อ สร้ าง เฉพาะด้าน หน่วยงาน /
อาคารสู งแบ บ ต่ า งๆ พ บ ว่ า ปั๊ ม คอน กรี ตแบ บ ลากจู ง 3. เริ่ ม ต้น ท างานได้เร็ ว 4.00 4.00 4.20 4.60
(Trailerable Concrete Pump : TCP) มีค่าเฉลี่ยสู งที่สุดอยูท่ ี่ 3.75 เมื่อถึงโครงการ
และมี ค่าส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.07 จึงถูกคัดเลือกใน 4. เงิ น ล ง ทุ น ด้ า น 2.80 3.80 3.40 2.80
การออกแบบระบบต่อไป (รายละเอียดดังแสดงตามตารางที่ 3) เครื่ องจักรกลน้อย
และผลการออกแบบปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจู งมี ค่าเฉลี่ ยความ 5. ลดระยะเวลาในการ 3.20 4.20 4.40 4.60
เหมาะสมอยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสมมากทุกประเด็น (รายละเอียดดัง ทางาน
แสดงตามตารางที่ 4) และผลการประเมินภายหลังการติดตั้งใช้ 6. ทั ก ษะฝี มื อ แรงงาน 4.00 2.80 2.80 3.20
งานจากผูเ้ กี่ยวข้องของโครงการก่อสร้างอาคารคอนโดมิเนี ยม ผูป้ ฏิบตั ิงานไม่สูง
26 ชั้น จ านวน 5 ท่ าน พบว่ามี ค่ าเฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ใน 7. การซ่ อม บารุ งรั กษา- 4.00 3.20 3.20 3.60
เกณฑ์ เหมาะสมมากทุ ก ประเด็ น (รายละเอี ย ดดังแสดงตาม ทาได้ง่าย
ตารางที่ 5) 8. ความปลอดภัยในการ 2.60 3.40 3.80 4.00
ตำรำงที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประเด็นต่อการพิจารณาเลือกระบบ ทางานสู ง
ลาเลียงขนถ่ายคอนกรี ตงานก่อสร้างอาคารสู ง 9. การรักษาสิ่ งแวดล้อม 2.60 3.40 4.60 4.80
ประเด็นต่อการพิจารณาเลือกระบบ S.D. 10. เสถี ยรภาพความน่ า 2.60 2.60 4.60 4.60
1. ค ว าม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ 0.89 3.60 เชื่อของระบบสู ง
หลากหลายประเภทงาน 11. สะดวกต่ อ การรื้ อ 2.60 4.20 2.60 3.00
2. ก าร ต อ บ ส น อ งงาน เฉ พ าะ ด้ า น / 0.89 4.40 ถอนและขนย้าย
หน่วยงาน ค่าเฉลี่ย 3.20 3.53 3.55 3.75
3. เริ่ มต้นทางานได้เร็ วเมื่อถึงโครงการ 0.84 3.80 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66 0.52 1.11 1.07
4. เงินลงทุนด้านเครื่ องจักรกลน้อย 0.71 4.00 ห ม า ย เ ห ตุ : 1) TC : Tower Crane 2) TMCBP : Truck
5. ลดระยะเวลาในการทางาน 0.89 4.40 Mounted Concrete Boom Pump 3) TMCP : Truck Mounted
6. ทักษะฝี มือแรงงานผูป้ ฏิบตั ิงานไม่สูง 0.89 3.60 Concrete Pump 4) TCP : Trailerable Concrete Pump
7. การซ่อมบารุ งรักษาทาได้ง่าย- 0.84 4.20 ในส่ วนของการคานวณหัวภาระรวม (Total Head Loss) คิด
8. ความปลอดภัยในการทางานสู ง 0.84 3.80 จากองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้
9. การรักษาสิ่ งแวดล้อม 0.89 4.40 1. Pump Start Loss Pressure
10. เสถียรภาพความน่าเชื่อของระบบสู ง 0.45 4.20 1.1) S-Tube = 2 MPa และ 1.2) Gate Valve = 2.8 MPa
11. สะดวกต่อการรื้ อถอนและขนย้าย 0.89 4.60

24 พฤศจิกายน 2559 www.ncteched.org


คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 193 NCTechEd09TME14
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

2. หัวภาระของท่ อที่ ต่อจากปั๊ ม คอนกรี ตไปยังท่ อแนวดิ่ ง ตำรำงที่ 6 แสดงผลการคานวณหัวภาระรวม (Total Head Loss)
(Level Pipe on Ground) มี ค่ า โดยประมาณ 0.2-0.25 เท่ า ของ ภาระต่างๆ ข้อมูล ความยาวท่อเทียบ %
ความสู งของท่อในแนวดิ่ง 1. S-Tube 2 MPa 71.43 m. 10.2%
3. ผลรวมความยาวเส้นท่อแปลงเป็ นความยาวท่อเทียบและ 2. Gate Valve 2.8 MPa 100 m. 14.3%
ผลรวมความยาวท่อเทียบจากข้อต่อต่างๆ 3. Level Pipe on Ground 0.2*78 15.6 m. 2.2%
4. หัวภาระจากน้ าหนักลาตั้งคอนกรี ตในแนวดิ่ง 4. Vertical Pipe (125A) 78 m. 390 m. 56%
โดยผลการคานวณหาค่าหัวภาระรวมมี ค่า 696 เมตร หรื อ 5. Bend 90. (R 1 m.) 1 ตัว 9 m. 1.2%
194.8 bar (รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 6) และจากข้อมู ล 6. Vert. Bend 90. (R 1 m.) 1 ตัว 14 m. 2%
ผูผ้ ลิตปั๊ มคอนกรี ต ZOOMLION ควรเลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ตที่ 7. End Hose L = 3 m. 1 เส้น 18 m. 2.5
รุ่ น HBT105.21.264S ซึ่ งมี ค วามเหมาะสม (รายละเอี ย ดตาม 8. Gravity Head 78 m. 78 m. 11.2%
ภาพที่ 4 และ 5) 696 m.
หัวภาระรวม
ตำรำงที่ 4 ประเมิ น ผลการออกแบบระบบล าเลี ย งขนถ่ า ย 194.8 bar
คอนกรี ต : Trailerable Concrete Pump
ประเด็นในการออกแบบ S.D.
1. แบบแนวเส้ น ท่ อ ทาง การจั บ ยึ ด ท่ อ 0.45 4.80
และรายการวัสดุ-อุปกรณ์
2. รายการคานวณหัวภาระรวม 0.45 4.80
3. การเลือกขนาดปั๊ มคอนกรี ต 0.45 4.80
4. วิธีการ-ขั้นตอนการติดตั้ง 0.45 4.20
5. ก าร วิ เค ร าะ ห์ ค ว าม เสี่ ย ง ใ น ก าร 0.45 4.80
ปฏิบตั ิงานและการป้องกัน
6. การย้ายตาแหน่ง-รื้ อถอน 0.55 4.40
ภำพที่ 4 : ปั๊มคอนกรี ตแบบลากจูง ZOOMLION รุ่ น
ตำรำงที่ 5 ผลการประเมินภายหลังการติดตั้งใช้งาน HBT105.21.264S
ประเด็นในการประเมิน S.D.
1. ปั๊ มคอนกรี ตทางานได้ตาม 0.45 4.20
วัตถุประสงค์การออกแบบ
2. มีความปลอดภัยในการทางาน 0.45 4.80
3. การรั่วไหลตกหล่นของคอนกรี ต 0.55 4.40
4. งานติดตั้งแล้วเสร็ จภายในระยะเวลาที่ 0.45 4.20
กาหนด
5. ความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานปั๊ม 0.45 4.80
คอนกรี ต ภำพที่ 5 : กราฟสมรรนะปั๊มคอนกรี ตแบบลากจูง ZOOMLION รุ่ น
HBT105.21.264S

www.ncteched.org 24 พฤศจิกายน 2559


NCTechEd09TME14 194 คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

7. สรุ ปและอภิปรำยผลกำรวิจัย ภายหลังการติ ดตั้งแล้วเสร็ จสั กระยะเวลา 1-6 เดื อน ทั้งนี้ เพื่อ
ผลการวิ จัย การออกแบบระบบล าเลี ย งขนถ่ ายคอนกรี ต ทราบผลลัพธ์อย่างแท้จริ ง ส่ วนในโอกาสต่อๆ ไปควรวิจยั การ
สาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งพบว่าพบว่าปั๊ มคอนกรี ตแบบลาก ออกแบบอื่น เช่น ลิฟท์ขนส่ งวัสดุชว่ั คราว แขนบูมยิงคอนกรี ต
จู ง (Trailerable Concrete Pump : TCP) มี ค่ าเฉลี่ ยสู งที่ สุ ดอยู่ที่ (Concrete Placing Boom) ฯลฯ
3.75 และมี ค่าส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.07 และผลการ
9. เอกสำรอ้ ำงอิง
ออกแบบปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูงมี ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่
[1] กระทรวงมหาดไทย, 2522. “พระราชบัญ ญัติควบคุ มอาคาร พ.ศ.
ในเกณฑ์ เหมาะสมมากทุ ก ประเด็น โดยผลการค านวณหา
2522.” กรุ งเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย.
ค่าหัวภาระรวม (Total Head Loss) มี ค่า 696 เมตร หรื อ 194.8 [2] จตุ ร งค์ ลัง กาพิ น ธุ์ , รุ่ ง เรื่ อ ง กาลศิ ริ ศิ ล ป์ , 2554. “การออกและ
bar และจากข้อมูลผูผ้ ลิตปั๊ มคอนกรี ต ZOOMLION ควรเลือก พัฒนาเครื่ องตัดวางรายต้นพันธ์มนั สาปะหลัง.” ปทุมธานี : ภาควิชา
ข น าด ปั๊ ม ค อ น ก รี ต ที่ รุ่ น HBT105.21.264S ซึ่ งส าม าร ถ วิ ศ วกรรมการเกษตร คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
ตอบสนองการท างาน ณ ต าแหน่ ง ความสู ง มากที่ สุ ด ของ เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
[3] โชคชัย อลงกรณ์ ท ัก ษิ ณ , 2549. “การใช้ ป้ ั นจั่น และเครนอย่า ง
โครงการ ส่ วนผลการประเมิ นภายหลังการติ ดตั้งใช้งานจาก
ปลอดภัย.” เทคนิคไฟฟ้า-เครื่ องกล-อุตสาหการ, 23 (268), 151-52.
ผูเ้ กี่ ยวข้องของโครงการก่อสร้ างอาคารคอนโดมิ เนี ยม 26 ชั้น
[4] โชคชัย อลงกรณ์ ท ัก ษิ ณ , 2549. “การใช้ร ถยกอย่า งปลอดภัย .”
จ านวน 5 ท่ าน พบว่ามี ค่ าเฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ใ นเกณฑ์ เทคนิคไฟฟ้า-เครื่ องกล-อุตสาหการ, 23 (269), 153-155.
เหมาะสมมากทุ ก ประเด็น ทั้งนี้ เนื่ อ งจากผูเ้ ชี่ ยวชาญในการ [5] โชคชัย อลงกรณ์ ท ัก ษิ ณ , 2548. “คู่ มื อ การฝึ กอบรมเรื่ อ งความ
ประเมิ น ในขั้น ตอนต่ างๆ เป็ นผู ม้ ี ค วามรู ้ ค วามสามารถและ ปลอดภัยสาหรับปั๊ มคอนกรี ต.” กรุ งเทพฯ : บริ ษทั เทอมอล แอนด์
ประสบการณ์ ในการทางานนั้นๆ เป็ นอย่างดี จึ งทาให้ผลการ ทรานส์มิชชัน่ แมชชีน.
[6] โชคชัย อลงกรณ์ทกั ษิณ , 2550. “อุบตั ิเหตุที่เกิ ดจากการใช้งานรถ
ออกแบบปั๊ มคอนกรี ตแบบลากจูงและผลการประเมินภายหลัง
เค รน .” MECHANICAL TECHNOLOGY MAGAZINE, 6 (76),
การติดตั้งใช้งานมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสม
81-83.
มากทุกประเด็น ส่ วนประสิ ทธิ ภาพหรื อสมรรถนะการทางาน [7] ดุลยโชติ ชลศึกษ์, 2555. “การออกแบบระบบท่อทางวิศวกรรม.”
ของปั๊ ม คอนกรี ตจะขึ้ นอยู่ กับ ช่ ว งจัง หวะความสู งในการ กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ก่อสร้าง ซึ่ งจะสู งมากขึ้นเรื่ อยๆ ดังนั้นหากสามารถออกแบบ
[8] นิ พ นธ์ ลัก ขณาอดิ ศ ร, 2554. “ปั๊ ม คอนกรี ต .” TPA news, 171
ให้โครงการสามารถใช้งานปั๊ มคอนกรี ต 2 รุ่ น โดยแบ่งความสู ง
(March 2011), 43-44.
โครงการออกเป็ น 2 ช่ วงความสู ง อัน จะท าให้ ป๊ั ม คอนกรี ต [9] มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, 2550. “การบริ หารงานอาชี วอนา
สามารถทางานได้ดียง่ิ ขึ้น มั ย แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย . ” ก รุ ง เ ท พ ฯ :
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.
8. ข้ อเสนอแนะ [10] วิฑู รย์ สิ มะโชคดี , วีรพงษ์ เฉลิ มจิ ระรัตน์ , 2543. “วิศวกรรมและ
ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน สามารถที่ การบริ ห ารความปลอดภัย ในโรงงาน.” กรุ งเทพฯ : ส านัก พิ ม พ์
จะเก็ บ เพิ่ ม ขึ้ น ได้อี ก หากมี ก ารจัด ท าและจัด เก็ บ ฐานข้อ มู ล ส.ส.ท.
[11] เวียง อากรชี , วิบูลย์ เทเพนทร์ , 2551. “ออกแบบเครื่ องบดทุ เรี ยน
ผูเ้ ชี่ยวชาญ ทั้งนี้ เนื่ องจากกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานลาเลียง
แห้ง.” กรุ งเทพฯ : กรมวิชาการเกษตร.
คอนกรี ตสาหรับงานก่อสร้างอาคารสู งค่อนข้างมีจานวนจากัด
[12] ส านั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ , 2559. “การประมวลข้ อ มู ล พื้ น ที่ ก าร
และหากมี การประสานงานที่ ดีระหว่างหน่ วยงานที่ ตน้ สั งกัด ก่อสร้าง ไตรมาสที่ 2 ปี 2559.” กรุ งเทพฯ : สานักงานสถิติแห่งชาติ.
ของกลุ่ ม ตัวอย่างกับ เครื อ ข่ ายของผูว้ ิจัย เพื่ อ ที่ จ ะได้จ านวน [13] American Concrete Pump Association, 2011. “Certified
Operator Study Guide : Guidelines for The Safe Operation
กลุ่มตัวอย่างในจานวนที่มากขึ้น อันจะทาให้งานวิจยั มีคุณภาพ of Concrete Pumps.” USA : American Concrete Pump
Association.
มากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ควรท าการติ ด ตามผลการออกแบบ [14] ASME, 2014. “ASME B.30.27-2014 : American National
Standard for Concrete Pump.” USA : ASME.

24 พฤศจิกายน 2559 www.ncteched.org


คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 195 NCTechEd09TME14
การประชุมวิชาการครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9
The 9th National Conference on Technical Education

[15] Bergeron, B. (editor), 2003. “Essentials of Knowledge


Management.” USA : John Wiley & Sons, Inc.
[16] CIFA, 2016. “Truck Mounted Concrete Boom Pump :
K42L.” Italy : CIFA.
[17] Cornwall Concrete Pump, 2016. “Static Concrete
Pumping Cornwall.” 7 มิ ถุ น า ย น 2559.
http://www.cornwallconcretepumping.co.uk.
[18] Dalkir, K, 2005. “Knowledge Management in Theory and
Practice". USA : Elsevier.
[19] Ilic, D, 2012. “Knowledge Transfer.” New York : Nova
Science Publishers, Inc.
[20] Putzmeister, 1994. “Operating Instructions." Germany :
Putzmeister.
[21] Putzmeister, 2014. “BSA SERIES.” Germany :
Putzmeister.
[22] SCHWING, 2015. “Operating Instructions : KVM 32
BPL 900 HDRM.” Germany : SCHWING.
[23] SCHWING, 2015. “SP 4800/SP 8800 Stationary Concrete
Pumps.” Germany : SCHWING.
[24] Yaqub M and other, 2005. “Development of Mix Design
for Pump Concrete Using Local Material.” Singapore :
CI-Premier PTE. LTD. and Singapore Concrete Institute.
[25] ZOOMLION, 2011. “Operation and Maintenance Manual
of Concrete Placing Boom (For both pipe column type and
special type). “ China : ZOOMLION.
[26] ZOOMLION, 2012. “Operation and Maintenance Manual
of Truck-mounted Concrete Pump. “ China :
ZOOMLION.
[27] ZOOMLION, 2013. “The Maintenance Manual of
Concrete Truck Mixer." China : ZOOMLION.
[28] ZOOMLION, 2014. “Spare Parts Manual of ZOOMLION
38X-5RZ Concrete Boom Pump. “ China : ZOOMLION.
[29] ZOOMLION, 2015. “Spare Parts Manual of ZOOMLION
40X-5RZ Concrete Boom Kit. “ China : ZOOMLION.
[30] ZOOMLION, 2016. “How to choose trailer pump for
customer." China : ZOOMLION.

www.ncteched.org 24 พฤศจิกายน 2559


NCTechEd09TME14 196 คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

View publication stats

You might also like