You are on page 1of 10

ประสิทธิภาพด้านความร้อนของวัสดุเปลือกอาคารแผ่นผนังดินเผา

Thermal Performance of Ventilated Facade Walls Made of


Terracotta
กิติพร สมวงศ์ชัย1 และ อรรจน์ เศรษฐบุตร2

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนและระยะเวลาในการคาย
ความร้อนของวัสดุเปลือกอาคาร แผ่นผนังดินเผาชนิดติดตั้งกับผนังภายนอกอาคารแบบมีช่องว่างอากาศ โดยศึกษา
ในแถบภูมอิ ากาศร้อนชืน้ ช่วงฤดูรอ้ นในประเทศไทย ด้วยการวิเคราะห์จากการใช้กล่องทดลองและติดตัง้ เครือ่ งมือตรวจ
วัดอุณหภูมิ ของผนังทดสอบที่มีลักษณะแตกต่างกันจ�ำนวน 2 ผนังทดสอบ ได้แก่ (1.) ผนังจ�ำลองเปรียบเสมือนผนัง
ภายนอกอาคารทั่วไป และ (2.) ผนังแผ่นดินเผาขนาด 30 x 30 x 1.8 ซม.ที่ยึดกับผนังภายในด้วยโครงเหล็ก บนผนัง
จ�ำลองเปรียบเสมือนผนังภายนอกอาคารทั่วไป หรือผนังทดสอบที่ 1 และมีช่องว่างอากาศกว้าง 10 ซม. โดยท�ำการ
ติดตั้งอุปกรณ์ในต�ำแหน่งต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศภายนอก อุณหภูมิผิวผนังทดสอบภายนอก อุณหภูมิอากาศของ
ช่องว่างอากาศภายในผนังทดสอบ อุณหภูมขิ องอากาศภายในกล่องทีป่ ล่อยออกมาผ่านทางพัดลมดูดอากาศ ด�ำเนินการ
ตรวจวัด ทุกๆ 10 นาที เป็นเวลาทั้งหมด 24 ชั่วโมง จากการวิเคราะห์ด้วยผลการทดลอง พบว่า ผนังแผ่นดินเผาชนิด
ทีต่ ดิ ตัง้ แบบมีชอ่ งว่างอากาศจะมีผลท�ำให้ผนังอาคารมีคา่ ความต้านทานความร้อนและมีประสิทธิภาพการป้องกันความ
ร้อนได้ดกี ว่า เมือเปรียบเทียบกับผนังอาคารทัว่ ไป ผลการศึกษาครัง้ นีจ้ ะน�ำไปสูแ่ นวทางในการเลือกวัสดุ โดยวัสดุแผ่น
ดินเผาจะเป็นทางเลือกหนึ่งในการออกแบบอาคารเพื่อประหยัดพลังงานและเหมาะสมกับการใช้งานเป็นผนังอาคาร
เพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคารต่อไปในอนาคต

ABSTRACT
This research aims to evaluate heat protection thermal performance and lag-time in
heat-dischanger of façade walls made of terracotta that construct to the exterior façade of the wall,
creating an air cavity between wall and slabs. In this paper studied in Thailand on hot summer climate.
The prototype walls were tested by using the test box and installed with temperature measuring
instrument in the different kind of wall test box include: (1.) normal exterior façade of the wall
(2.) the terracotta materials walls by using size 30x30x1.8 cm. was construct at steel frame, creating
10 mm. thickness of air cavity between wakk and slabs that installed the temperature measuring
instrument in positions include: exterior air temperature (inlet air), exterior surface wall temperature,
air cavity temperature, interior surface wall temperature and interior air temperature (outlet air). Then
1
นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: kswc04@hotmail.com
² รองศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

123
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

measure in collected every 10 minutes and wait about 24 hours. From the prototype materials were
tested by using the test wall box, the conclusing is as follows: ventilated façade wall made of
terracotta can help façade wall have R-Value and heat protection thermal performance better than
normal exterior wall façade. This research will propose the alternative way of using materials by
terracotta is an alternative in design for energy building and which is suitable for weather in Thailand.

ค�ำส�ำคัญ: ผนังระบายอากาศ ประสิทธิภาพด้านความร้อน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ผนังกันฝน


Keywords: Ventilated facade, Thermal Performance, energy efficiency, Rainscreen wall

บทน�ำ
จากการศึกษาสภาวะอากาศของประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. 2558 เป็นปีที่มีปริมาณฝนน้อยและต�่ำกว่า
ค่าปกติเกือบทุกเดือน ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศเฉลี่ยตามภาคต่างๆ ของประเทศไทยสูงกว่าค่าปกติเกือบทุกภาคและ
อุณหภูมิอากาศเฉลี่ยทั้งปีของประเทศไทยสูงกว่าค่าปกติ 0.8 ◦C และสูงกว่าปี พ.ศ. 2557 (ศูนย์ภูมิอากาศ
ส�ำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา, 2558) เป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เรือน
กระจก ในทางสถาปัตยกรรมไม่ว่าจะเป็นขั้นการก่อสร้างอาคาร กิจกรรมการก่อสร้าง การใช้งานอาคาร มีการใช้
พลังงานและปล่อยก๊าซเรือนกระจกทัง้ สิน้ สถาปนิกมีสว่ นช่วยในการลดสภาวะโลกร้อน ด้วยการสร้างอาคารทีล่ ดการ
ใช้พลังงานในอาคาร เช่น การใช้พลังงานสะอาด การออกแบบอาคารให้สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ การลดการใช้
ระบบปรับอากาศและการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม
ในการลดการใช้พลังงานในอาคาร Cristina Sanjuan, Maria Jose Suarez, Marcos Gonzalez, Jorge
Pistono, Eduardo Blanco (2011) ท�ำการวิจยั เกีย่ วกับประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารด้วยการใช้รปู แบบผนัง
สองชั้นที่มีช่องว่างอากาศ (Open Joint Ventilated Facades หรือ OJVF) พบว่า อุณหภูมิอากาศที่เกิดขึ้นภายใน
ช่องว่างอากาศผนังสองชัน้ มีชอ่ งว่างอากาศ เพิม่ ขึน้ ตามความสูงของผนัง ซึง่ แสดงให้เห็นว่า ภายในช่องว่างอากาศของ
ผนังระบายอากาศ มีการหมุนเวียนของอากาศค่อนข้างสูงและเมือ่ เปรียบเทียบกับผนังสองชัน้ ทีป่ ดิ สนิท จะมีอณ ุ หภูมิ
อากาศภายในช่องว่างอากาศสูงและคงที่ แสดงให้เห็นว่าไม่มีการหมุนเวียนของภายในช่องว่างอากาศ เกิดเป็นเกาะ
ความร้อนภายในช่องว่างอากาศ ดังนัน้ จึงสรุปได้วา่ ผนังสองชัน้ ทีม่ ชี อ่ งว่างอากาศจะช่วยลดปริมาณความร้อน (Heat
Flux) จากการไหลเวียนของอากาศ โดยอากาศพาความร้อนให้ลอยตัวขึ้นสูง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ
F. Stazi, F. Tomassoni, A. Vegliò, C. Di Perna (2011) ได้ท�ำการประเมินผลการทดลองการศึกษาประสิทธิภาพ
ในการระบายความร้อนที่เกิดขึ้นในอาคารจริงของผนังแผ่นดินเผาชนิดที่ติดตั้งแบบมีช่องว่างอากาศ ด้วยการติดตั้ง
เครื่องวัดอุณหภูมิที่ระยะความสูงที่ 6 ม.และ 12 ม. โดยพบว่าอุณหภูมิอากาศภายในช่องว่างอากาศของผนังที่ระยะ
ความสูง 12 ม. สูงกว่าระยะความสูงที่ 6 ม.ในช่วงระหว่าง 12:00-15:00 โดยที่อุณหภูมิภายในอาคารที่ระยะความสูง
ที่ 6 ม.และ 12 ม. มีค่าคงที่ จึงเป็นการสรุปได้เช่นเดียวกันกับงานวิจัยข้างต้น
ในงานวิจัยต่อมา C.Marinoscia, G.Semprinia, G.L. Morinia (2013) ได้ส�ำรวจลักษณะที่แตกต่างกันของ
ผนังสองชัน้ ทีม่ ชี อ่ งว่างอากาศ ทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมทางความร้อน พบว่า วัสดุผนังเปลือกอาคารทีม่ าจากวัสดุธรรมชาติ
เช่น หิน ดินเผา เป็นต้น เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการลดปริมาณความร้อน นอกจากนิ้ความกว้างของช่องอากาศระหว่าง
ผนังเปลือกอาคารกับผนังอาคารที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางความร้อนของอาคารควรมีค่าประมาณ 10-24 ซม. โดยที่
ความกว้างของช่องอากาศทีร่ ะยะ 10 ซม และ 24 ซม. ไม่มคี วามแตกต่างในการลดปริมาณความร้อนอย่างมีนยั ส�ำคัญ

124
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

ผู้ผลิตแผ่นดินเผา NBK North America (2016) กล่าวว่าผนังสองชัน้ มีชอ่ งว่างอากาศ เป็นที่รจู้ กั กันมานาน
ในกลุม่ สถาปนิกและน�ำมาใช้เป็นระบบเปลือกอาคาร จนเป็นทีพ่ งึ พอใจของลูกค้า วัสดุทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะตัวทัง้ รูปทรง สี
พื้นผิวและขนาด และยังเป็นวัสดุที่ทนต่อสภาพอากาศมากที่สุดชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ยังเป็นวัสดุที่มีกระบวนการผลิต
ซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจากการรีไซเคิลด้วยการน�ำวัสดุที่มีความแตกต่างจากวัสดุชนิดอื่น ได้แก่ เศษของผลึกหิน
ภูเขาไฟ แร่และส่วนผสมอื่นๆ ท�ำการอัดขึ้นรูปด้วยแรงดันสูง และอบแห้งที่อุณหภูมิต�่ำและเผาด้วยอุณหภูมิสูง
1,200 ◦C เป็นเหตุผลที่ท�ำให้วัสดุนี้มีสีสันหลากหลาย มีพื้นผิวธรรมชาติ และพื้นผิวให้เลือกมากมาย และเหมาะสม
กับการใช้ในภูมิอากาศร้อนชื้นในประเทศไทย
ดังนัน้ ในการวิจยั ครัง้ นีจ้ งึ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส�ำรวจและประเมินประสิทธิภาพการป้องกันความร้อนและระยะ
เวลาในการคายความร้อนของวัสดุเปลือกอาคารแผ่นผนังดินเผาชนิดติดตัง้ กับผนังภายนอกอาคารแบบมีชอ่ งว่างอากาศ
โดยท�ำการตรวจวัดอุณหภูมิอากาศภายในและอุณหภูมิผิวผนังของกล่องทดลองว่ามีประสิทธิภาพในการการป้องกัน
ความร้อนให้ภายในอาคารหรือไม่ หากพบว่ามีผลต่อการป้องกันความร้อนภายในอาคารก็สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลใน
การศึกษาค้นคว้าหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารต่อไป

วัตถุประสงค์ของบทความ
1. ศึกษาคุณสมบัติทางความร้อนของผนังอาคารที่ปิดผิวด้วยแผ่นผนังดินเผาแบบมีช่องว่างอากาศ
เพื่อประเมินประสิทธิภาพการป้องกันความร้อนและระยะเวลาในการคายความร้อนจากการใช้กล่องทดลอง
2. ศึกษาและประเมินหาค่าของคุณสมบัติเชิงความร้อนต่างๆ โดยเปรียบเทียบจากอุณหภูมิที่ได้จากการ
ทดลอง เพื่อวิเคราะห์ค่าการน�ำความร้อน และค่าการต้านทานความร้อน

วิธีการวิจัย
งานวิจยั นีเ้ ป็นงานวิจยั เชิงทดลองกับผนังทดสอบ ของแผ่นผนังดินเผาชนิดติดตัง้ กับผนังภายนอกอาคารแบบ
มีชอ่ งว่างอากาศ เพือ่ เปรียบเทียบประสิทธิภาพทางความร้อน โดยท�ำการศึกษาเกีย่ วกับทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานในอาคาร
รวมทั้งทฤษฏีต่างๆ ของผนังอาคารที่ส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงานในอาคาร หลังจากนั้นท�ำการคัดเลือกจากชิ้น
ตัวอย่างส�ำหรับน�ำมาใช้เป็นผนังทดสอบ โดยคัดเลือกจากวัสดุที่มีจ�ำนวนวัสดุเพียงพอในการน�ำมาใช้ทดสอบรวมทั้ง
ศึกษาข้อมูลเบือ้ งต้นของแผ่นผนังดินเผา ได้แก่ ลักษณะทางกายภาพและคุณสมบัตขิ องวัสดุ วิธแี ละขัน้ ตอนในการติด
ตัง้ และประเภทของอาคาร ในการทดลอง ท�ำการเก็บข้อมูลเฉพาะตัวแปรอุณหภูมดิ ว้ ยการติดตัง้ เครือ่ งมือวัดอุณหภูมิ
ทั้งหมด 5 จุด เพื่อวัดอุณหภูมิ ได้แก่ ข้อมูลอุณหภูมิอากาศภายนอก อุณหภูมิผิวผนังด้านนอก อุณหภูมิบริเวณช่อง
ว่างอากาศ อุณหภูมผิ วิ ผนังด้านใน และอุณหภูมอิ ากาศภายในกล่องทีป่ ล่อยออกมาผ่านทางพัดลมดูดอากาศ โดยบันทึก
ข้อมูลทุก 10 นาที เป็นเวลา 24 ชม. มีรายละเอียดดังนี้
ผนังทดสอบที่ 1 ผนังจ�ำลอง โดยใช้ วัสดุผนัง เป็นแผ่นสมาร์ทบอร์ดหนา 1 ซม.
ผนังทดสอบที่ 2 ผนังแผ่นดินเผาขนาด 30 x 30 x 1.8 ซม.จ�ำนวน 8 แผ่น ที่ยึดด้วยโครงเหล็ก บนแผ่น
สมาร์ทบอร์ดหนา 1 ซม. และมีช่องว่างอากาศกว้าง 10 ซม
หลังจากนั้น น�ำค่าอุณหภูมิที่ได้จากการทดลองมาค�ำนวณ ด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาค่าคุณสมบัติ
เชิงความร้อน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์การน�ำความร้อน (Thermal Conductivity, K-value) ค่าการต้านทานความร้อน

125
82 ทดสอบการประชุมโดยคั ดเลือกจากวั
วิชาการเทคโนโลยี อาคารด้สดุานพลั
ที่มีจงงานและสิ
านวนวั่งแวดล้
สดุเพีอมยงพอในการนครั้งที่ 4 (BTAC ามาใช้ ทดสอบรวมทั้งศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของแผ่นผนังดินเผา
2017)
83 ได้แก่ ลักษณะทางกายภาพและคุณสมบัติของวัสดุ วิธีและขั้นตอนในการติดตั้ง และประเภทของอาคาร ในการทดลอง ทาการ
84 เก็บข้อมูลเฉพาะตัวแปรอุณหภูมิด้วยการติดตั้งเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ทั้งหมด 5 จุด เพื่อวัดอุณหภูมิ ได้แก่ ข้อมูลอุณหภูมิ
85 อากาศภายนอก อุณหภูมิ ผิวผนังด้านนอก อุณหภูมิ บริเวณช่องว่างอากาศ อุณหภูมผิ ิวผนังด้านใน และอุณหภูมิอากาศภายใน
ของวัตถุ (Thermal Resistance, R) และจะได้ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวม (Heat Tranfer Coffricient,
86 กล่องที่ปล่อยออกมาผ่านทางพัดลมดูดอากาศ โดยบันทึกข้อมูลทุก 10 นาที เป็นเวลา 24 ชม. มีรายละเอียดดังนี้
U) ซึ่งอัตราส่วนจะผกผันกับค่าการต้านทานความร้อนรวม (R) มีสมการในการค�ำนวณ ดังนี้ (ASHRAE, 1989)
87 ผนังทดสอบที่ 1 ผนังจาลอง โดยใช้ วัสดุผนัง เป็นแผ่นสมาร์ทบอร์ดหนา 1 ซม.
88 Q่ 12=ผนั
ผนังทดสอบที UA(To-Ti) 30 x 30
งแผ่นดินเผาขนาด x 1.8 ซม.จานวน(1) 8 แผ่น ที่ยึดด้วยโครงเหล็ก บนแผ่นสมาร์ทบอร์ด
89 Q = CFM(1.08)(T
หนา 1 ซม. และมีช่องว่างอากาศกว้าง 10 ซม
2 outlet air-
T inlet air
) (2)
90 หลังจากนั ้น เมืน่อาค่Q1 าอุณ=หภูQ2
มิที่ได้จากการทดลองมาคานวณ ด้วยสมการทางคณิ (3) ตศาสตร์ เพื่อหาค่าคุณสมบัติเชิงความ
91 UA(To - Ti)
ร้อน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์การนาความร้อน (Thermal = CFM(1.08)(T T ) (4)
outlet air- inlet airConductivity, K-value) ค่าการต้านทานความร้อนของวัตถุ
92 (Thermal Resistance, R) และจะได้ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวม (Heat Tranfer Coffricient, U) ซึ่งอัตราส่วน
93 ตารางที
จะผกผั นกับค่่า1การต้
แสดงศั พท์เฉพาะทีอ่ในรวม
านทานความร้ ช้ในการค� (R) ำมีนวณสมการ
สมการในการคานวณ ดังนี้ (ASHRAE, 1989)
94 ศัพท์เฉพาะ Q1 = UA(To – Ti) (1)
95 Q ปริมาณความร้อนของรังสีดQ วงอาทิ
2 = CFM(1.08)(T
ต ย์ ท ผ
่ ี า
่ นเข้ า มาสู ก
่ ล่ อ – T
งทดลอง
outlet air (W)
inlet air) (2)
96 U สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้ Q1 = Q2งเปลือกอาคาร (W/m ◦C)
เมือ่อนรวมของผนั 2
(3)
97 A พื้นที่ของเปลือกอาคารที่ถ่ายเทความร้ UA(To - อTi) น (m 2
)
= CFM(1.08)(T outlet air – Tinlet air) (4)
98 To อุ ณ หภู ม พ
ิ น
้ ื ผิ ว เปลื
ตารางที่ 1 แสดงศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการคานวณสมการ อ กอาคารด้ า นที ส
่ ง
ู กว่ า (◦C)
Ti
ศัพท์เฉพาะ อุณหภูมิพื้นผิวเปลือกอาคารด้านที่ต่ากว่า (◦C) Ti อุณหภูมิพื้นผิวเปลือกอาคารด้านที่ต่ากว่า (◦C)
CFM ปริมาณการไหลของอากาศในกล่องทดลองที่เกิดจากพัดลมระบายอากาศที่ใช้ (m2/minute)
Q ปริมาณความร้อนของรังสีดวงอาทิตย์ที่ผ่านเข้ามาสู่กล่อง CFM ปริมาณการไหลของอากาศในกล่องทดลองที่เกิด
1.08 ค่าคงที่
ทดลอง (W) จากพัดลมระบายอากาศที่ใช้ (m2/minute)
Toutlet air อุณหภูมิที่วัด ณ ช่องว่างอากาศออก หรือ อุณหภูมิภายนอก (◦C)
U Tinletสัairม ประสิอุณ
ทธิหภู
์การถ่
มิทาี่วยเทความร้
ัด ณ ช่องว่อางอากาศเข้
นรวมของผนั งเปลือก
า (◦C) 1.08 ค่าคงที่
2
อาคาร (W/m ◦C)
Toutlet air อุณหภูมิที่วัด ณ ช่องว่างอากาศออก หรือ อุณหภูมิ
2
A พื้นที่ของเปลือกอาคารที่ถ่ายเทความร้อน (m ) ภายนอก(◦C)
เครื่องมือในการวิจัย
To อุณหภู1.
มิพื้นกล่
ผิวเปลื อกอาคารด้านที่สูงกว่า (◦C)
องทดลอง Tinlet air อุณหภูมิที่วัด ณ ช่องว่างอากาศเข้า(◦C)
99 กล่องทดลองเป็
เครื่องมือในการวิ จัย นรูปทรงสี่เหลี่ยมสูงขนาด 0.6 x 0.6 x 2.60 ม. ติดตั้งด้วยโครงเหล็ก สูงจากพื้น 20 ซม.
100 ผนังทั1.้ง 5 กล่
ด้าอนท�งทดลอง
ำจากโฟมโพลียูริเทน (PU FORM : Polyurethane Foam) หนา 2 นิ้ว เจาะช่องอากาศเข้า (inlet
101 air) และช่นอรูงอากาศออก
กล่องทดลองเป็ ปทรงสี่เหลี่ย(outlet
มสูงขนาดair)0.6โดยติ
x 0.6ดพัxดลมระบายอากาศที ่มีค่าปริมาณการไหลของอากาศ
2.60 ม. ติดตั้งด้วยโครงเหล็ ก สูงจากพื้น 20 ซม. ผนั(CFM)
งทั้ง 5 เท่ด้าานท
กับาจาก
102 18.67
โฟมโพลี CFM(PU(ft /minute)
ยูริเทน
3
ที่ช่องอากาศออกFoam)
FORM : Polyurethane ด้านหน้หนา
าของกล่
2 นิอ้วงเว้เจาะช่
นที่ว่าองส�งอากาศเข้
ำหรับติดาวัสดุ(inlet
ผนังทดสอบ ขนาด
air) และช่ 0.3 x
องอากาศออก
3
103 0.3 air)
(outlet x 2.4โดยติ
ม. ดพัดลมระบายอากาศที่มีค่าปริมาณการไหลของอากาศ (CFM) เท่ากับ 18.67 CFM (ft /minute) ทีช่ ่อง
104 อากาศออก ด้านหน้าของกล่องเว้นที่ว่างสาหรับติดวัสดุผนังทดสอบ ขนาด 0.3 x 0.3 x 2.4 ม.

105
106 ภาพที
ภาพที่ ่ 1:1 แสดงแผ่
แสดงแผ่นนผนั ผนังงทดสอบแผ่
ทดสอบแผ่นนดิดินนเผา
เผา การติ
การติดดตัตั้ง้ง และ
และ อุอุปปกรณ์
กรณ์ทที่ใี่ใช้ช้ใในการทดลอง
นการทดลอง
107 2. อุปกรณ์เก็บข้อมูลอุณหภูมิ
108 ใช้เครื2.
่องมือุอปเก็กรณ์
บข้อเมูก็ลบอุข้ณอหภู
มูลมอุิณ12-Channel
หภูมิ Temperature Recorder PCE-T 1200 จานวน 1 เครื่อง และสาย
109 Thermocouper
ใช้เครื่องมือเก็type
บข้อKมูลsensor
อุณหภูม10ิ 12-Channel
สาย เก็บข้อมูลTemperature
ทั้งหมด 5 จุดต่อRecorder
1 กล่องการทดสอบเพืPCE-T 1200่อวัดจ�อุำณ หภูม1ิ เครื่อง และ
นวน
110 ระเบีสาย
ยบวิThermocouper
ธีวิจัย type K sensor 10 สาย เก็บข้อมูลทั้งหมด 5 จุดต่อ 1 กล่องการทดสอบเพื่อวัดอุณหภูมิ
111 การศึกษาครั้งนี้กาหนดขอบเขตศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของผนังอาคารที่ปิดผิวด้วยแผ่นผนังดินเผาชนิดติดตั้งกับผนัง
112 ภายนอกอาคารแบบมีช่องว่างอากาศ โดยศึกษาเฉพาะปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทฤษฏีความร้อนจากรังสีอาทิตย์ที่ส่งผล
126
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาครัง้ นีก้ ำ� หนดขอบเขตศึกษาข้อมูลเบือ้ งต้นของผนังอาคารทีป่ ดิ ผิวด้วยแผ่นผนังดินเผาชนิดติดตัง้ กับ
ผนังภายนอกอาคารแบบมีช่องว่างอากาศ โดยศึกษาเฉพาะปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทฤษฏีความร้อนจากรังสี
อาทิตย์ที่ส่งผลกระทบต่อผนังอาคาร แผ่นผนังดินเผาที่น�ำมาศึกษามีตัวแปรควบคุมเป็นสีและความหนาของของผนัง
แผ่นผนังดินเผา ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มมากทีส่ ดุ และมีจำ� นวนวัสดุเพียงพอในการน�ำมาใช้ทดสอบ โดยศึกษาผลของประสิทธิภาพ
113 กระทบต่ทางด้อผนั งอาคารอนแผ่ได้นผนั
านความร้ แก่งดิข้นอเผาที
มูลอุณ่นหภู ามาศึ มิขกองอากาศภายนอก
ษามีตัวแปรควบคุมอุเป็ณนหภู สีแมละความหนาของของผนั
ิของผิวผนังอาคารภายนอก งแผ่นอุผนั
ณงหภู
ดินมเผา ซึ่งเป็นที่
ิบริเวณ
114
113 นิยมมากที
กระทบต่ า่สงอากาศอุ
ช่องว่อผนั ุดและมี
งอาคาร จานวนวั
ณแผ่ สิขดุองผิ
หภูนมผนั งเดิพีนยวเผาที
งพอในการน ่นามาศึกามาใช้
ผนังอาคารภายใน ษามีตและอุทัวดสอบ
แปรควบคุ
ณหภู โดยศึ
มมิขเป็กษาผลของประสิ
นสีและความหนาของของผนั
องอากาศภายในกล่ ทธิอภงทีาพทางด้
่ปล่อยออกมาผ่ างนความร้ อดินนเผา
แผ่นผนัางนทางพั ได้แดก่ซึลม่งข้เป็อนมูทีล่
115
114 อุนิณ หภูดูดมอากาศ
ยมมากที ิของอากาศภายนอก
่สุดและมี (อุณจหภู านวนวั สอุดุณเพีหภู
มิภายในอาคาร) มิของผิ
ยงพอในการน วผนัามาใช้
ค่าการถ่ งาอาคารภายนอก
ทดสอบอนโดยศึ
ยเทความร้ ค่อุาณการน�
กหภู มำิบความร้
ริเวณอนช่ค่อทางว่
ษาผลของประสิ ภาาพทางด้
งอากาศอุ
ธิการต้ านทานความร้ ณหภูมิขออองผิ
านความร้ นน ได้ วผนั
แก่งอาคารข้อมูล
116
115 ภายใน และอุ ณ หภู ม ข
ิ องอากาศภายในกล่ อ งที ป
่ ล่ อ ยออกมาผ่
อุณหภูมิของอากาศภายนอก อุณหภูมิของผิวผนังอาคารภายนอก อุณหภูมิบริเวณ ช่องว่างอากาศอุณหภูมิของผิวผนังอาคาร า นทางพั ด ลมดู ด อากาศ (อุ ณ หภู ม ภ
ิ ายในอาคาร) ค่ า การถ่ ายเท
117
116 ความร้
ภายในผลการวิอ น ค่
และอุณจหภูา การน าความร้ อ น ค่ า การต้ า นทานความร้ อ น
ัย มิข องอากาศภายในกล่องที่ปล่อยออกมาผ่านทางพัดลมดูดอากาศ (อุณหภูมิภายในอาคาร) ค่าการถ่ายเท
118
117 ผลการวิ
ความร้อน ค่าการนจ ย
ั บันทึาความร้
กข้อมูลออุนณหภู ค่าการต้
มิ ในวัานทานความร้
นที่ฟ้าโปร่ง ทีอ่มนีช่วงอุณหภูมิ 28.4 ◦C ถึง 36.7 ◦C ไม่มีปริมาณฝน เครื่องเก็บ
119
118 ผลการวิข้อมูลจอุัยณหภูมิดังกล่าวนี้สามารถเก็บ้าข้โปร่
บั น ทึ ก ข้ อ มู ล อุ ณ หภู ม ิ ในวั น ที ฟ
่ อมูลงอุทีณ่มหภู ีช่วมงอุิได้ณนหภู 24 ชั่ว◦Cโมง ถึสามารถวิ
านถึมงิ 28.4 ง 36.7 ◦C เคราะห์ไม่มขีป้อริมูมลาณฝน สรุปได้ดเครื
ังนี้ ่องเก็บข้อมูล
120
119 อุณหภูมิดบัังกล่ นทึาก1.
วนีข้อ้สมูามารถเก็
ลอุณหภูบมข้ิ อในวั
ผลจากการวั ดมูอุลนณ
อุณ
ทีหภู่ฟหภู มิผิไนัด้งนทดสอบของผนั
้ามโปร่ ทีานถึ
่มีชง่วงอุ
24ณชัหภู่วโมง สามารถวิ
มงิ ทดสอบที
28.4 ◦C่ 1เถึคราะห์ ผนัขง้อทดสอบที
กัง บ36.7 มูลสรุไม่ปมได้ีป่ 2ดริมังนีาณฝน
◦C ้ เครื่องเก็บข้อมูล
121
120 1.
อุณหภูมิดังกล่าผลการศึ ผลจากการวั
วนี้สามารถเก็ ด อุ ณ หภู ม ิ ผ นั ง ทดสอบของผนั ง ทดสอบที ่ 1 กั บ ผนั งทดสอบที ่ 2
กษาเรืบข้่อองอุมูณ ลอุหภูณหภู มิผมิวิไผนั ด้นงานถึ ง 24 ชั่วโมง สามารถวิ
ดังแสดงในภาพที ่ 2-4 เคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังนี้
122
121 1. ผลการศึ ผลจากการวั กษาเรืด่ออุงอุ ณณ หภูหภูมมิผิผนัิวงผนั ง ดังแสดงในภาพที
ทดสอบของผนั งทดสอบที ่ 2-4 ่ 1 กับผนังทดสอบที่ 2
122 ผลการศึกษาเรื่องอุณหภูมิผิวผนัง ดังแสดงในภาพที่ 2-4

123
124 ภาพทีภาพที ่ 2 แสดงการเปรี
่ 2 แสดงการเปรี ยบเทียยบเที ยบความสั
บความสั มพันมธ์รพัะหว่
นธ์ราะหว่
งอุณาหภู
งอุณมหภู มิอากาศภายนอกกั
ิอากาศภายนอกกั บอุณบหภู
อุณมหภู มผิ งิวภายนอก
ิผิวผนั ผนังภายนอก
123
124 ภาพที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอากาศภายนอกกับอุณหภูมผิ ิวผนังภายนอก

125
126 ภาพที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอากาศภายนอกกับอุณหภูมผิ ิวผนังภายใน
125
126 ภาพที่่ 33 แสดงการเปรี
ภาพที แสดงการเปรียยบเที
บเทียยบความสั
บความสัมมพัพันนธ์ธ์รระหว่
ะหว่าางอุ
งอุณณหภู
หภูมมิอิอากาศภายนอกกั
ากาศภายนอกกับบอุอุณ
ณหภู
หภูมมผิิผิวิวผนั
ผนังงภายใน
ภายใน

127
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

125
126 ภาพที่ 3 แสดงการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอากาศภายนอกกับอุณหภูมผิ ิวผนังภายใน

127
128 ภาพที่ 4ยแสดงการเปรี
ภาพที่ 4 แสดงการเปรี ยบเทียาบความแตกต่
บเทียบความแตกต่ งของอุณหภูมาิผงของอุิวผนังด้ณาหภู มผิ ิวผนั
นนอก-ด้ งด้านนอก ง–ต้ด้นาแบบกั
านในของผนั นใน บผนังแผ่นดิน
129 ของผนังต้นแบบกั บผนั่มีชงแผ่
เผาที ่องว่นาดิงอากาศ
นเผาที่มชี ่องว่างอากาศ

จากภาพที่ 2-3 พบว่าในช่วงเวลากลางวัน เมือ่ วัสดุผนังได้รบั ความร้อนจากการแผ่รงั สีอาทิตย์ ท�ำให้อณ ุ หภูมิ


ผิวผนังด้านนอกสูงขึ้น จากการดูดกลืนรังสีอาทิตย์ (Absorptance) และการถ่ายเทความร้อน (Heat transfer) เข้าสู่
ผิวผนัง ซึ่งมีผลโดยตรงกับผิวผนังภายนอกของวัสดุผนัง การติดตั้งแผ่นดินเผาบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่าง
อากาศ ส่งผลให้อุณหภูมิผิวผนังด้านนอกสูงกว่าแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case) ถึง 3.7 ◦C ในเวลา 11:00 AM
เนื่องจากแผ่นดินเผาเกิดการน�ำความร้อน และในขณะเดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบอุณหภูมิของผิวผนังด้านใน พบว่าใน
ช่วงเวลากลางวัน การติดตัง้ แผ่นดินเผาบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีชอ่ งว่างอากาศ ช่องว่างอากาศระหว่างผนังเปลือก
อาคารแผ่นดินเผากับผนังแผ่นสมาร์ทบอร์ดท�ำหน้าที่เป็นตัวป้องกันความร้อนด้วยการพาความร้อน (Convection)
ให้ลอยตัวขึน้ สูงท�ำให้อากาศร้อนออกไปยังอากาศภายนอกก่อนทีค่ วามร้อนจะเข้าสูภ่ ายในอาคาร จึงมีสว่ นช่วยในการ
ลดอุณหภูมผิ วิ ผนังด้านใน ส่งผลให้อณ ุ หภูมผิ วิ ผนังด้านในของแผ่นดินเผา มีอณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่าอุณหภูมผิ วิ ผนังด้านในของ
แผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case) ถึง 1.5 ◦C
ดังนัน้ ในช่วงกลางคืนวัสดุแผ่นดินเผาเริม่ คายความร้อนคืนสูท่ อ้ งฟ้า ท�ำให้อณุ หภูมผิ วิ ผนังด้านนอกเริม่ ต�ำ่ ลง
และลดต�่ำลงกว่าอุณหภูมิอากาศภายนอกประมาณ 2 ◦C ในช่วงเวลา 7:00 PM-02:00 AM จากแผนภูมิที่ 4.1 พบว่า
แผ่นดินเผาที่ติดตั้งบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศ มีความสามารถในการคายความร้อนได้ดี เนื่องจาก
อุณหภูมผิ วิ ผนังด้านนอกในช่วงเวลากลางวันค่อนข้างสูงและ ในช่วงเวลากลางคืนลดต�ำ่ ลงใกล้เคียงกับอุณหภูมผิ วิ ผนัง
ด้านนอกของแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case) แสดงให้เห็นว่า แผ่นดินเผาที่ติดตั้งบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่าง
อากาศมีการระบายความร้อนได้เร็วกว่าแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case)เช่นเดียวกับอุณหภูมิผิวผนังด้านใน พบว่า
ในช่วงกลางคืนอุณหภูมิผิวผนังด้านในของผนังแผ่นดินเผาใกล้เคียงกับอุณหภูมิผิวผนังด้านในของผนังต้นแบบ
ผลทีไ่ ด้สอดคล้องกับแผนภูมภิ าพที่ 4 ซึง่ แสดงการแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างของอุณหภูมผิ วิ ผนัง
ด้านนอก-ด้านใน พบว่าความแตกต่างของอุณหภูมผิ วิ ผนังด้านนอก-ในมากกว่าของผนังแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case)
ซึ่ ง ช่ ว ยลดอุ ณ หภูมิที่เข้ามาผ่านระบบผนังสู่ผิว ผนัง ด้ า นในถึ ง 9-11 ◦C แสดงว่ า แผ่ น ดิ น เผาที่ ติ ด ตั้ ง บนแผ่ น
สมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการลดความร้อนจากอุณหภูมิผิวผนังด้านนอกได้ดีกว่า
ของผนังแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case) ซึ่งลดอุณหภูมิได้น้อยกว่า

128
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

ผลการศึกษาเรื่องอุณหภูมิอากาศภายนอก-ภายใน ดังแสดงในแผนภูมิที่ 5
จากภาพที่ 5 ผลจากการวัดอุณหภูมิอากาศภายในกล่องทดลองพบว่า อุณหภูมิผิวผนังด้านในของวัสดุผนัง
ส่ ง ผลโดยตรงมายั ง อุ ณ หภู มิ อ ากาศภายในกล่ อ งทดลอง ในช่ ว งเวลากลางวั น การติ ด ตั้ ง แผ่ น ดิ น เผาบนแผ่ น
สมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศ การมีช่องว่างอากาศระหว่างผนังเปลือกอาคารแผ่นดินเผากับผนังแผ่นสมาร์ทบ
อร์ด ท�ำหน้าที่เป็นตัวป้องกันความร้อน ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศภายในกล่องของแผ่นผนังดินเผาที่ติดตั้งบนแผ่น
สมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศ ต�่ำกว่าของผนังแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base case) ประมาณ 0.7-2.7 ◦C และใน
ช่วงเวลากลางคืนมีการคายความร้อนของผนังอาคาร ท�ำให้อุณหภูมิอากาศภายในลดต�่ำลง และลดต�่ำลงกว่าอุณหภูมิ
อากาศภายนอก ประมาณ 1.5-2 ◦C ในช่วงเวลา 7:00 PM-01:00 AM ซึ่งผนังทดสอบทั้งสองได้ผลใกล้เคียงกัน
การติดตั้งแผ่นดินเผาบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศมีความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศเข้า
(อุณหภูมิอากาศภายนอก) กับอุณหภูมิอากาศออก (อุณหภูมิอากาศภายใน) ต�่ำกว่าของผนังแผ่นสมาร์ทบอร์ด (base
case) แสดงให้เห็นว่า การติดตั้งแผ่นดินเผาบนแผ่นสมาร์ทบอร์ดแบบมีช่องว่างอากาศมีส่วนช่วยให้อุณหภูมิอากาศ
ภายในเย็นลงกว่า โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางวัน ดังแผนภูมทิ ี่ 4.7 ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของอุณหภูมอิ ากาศ
เข้า-อากาศออก (Delta-T)

164
165 ภาพที่่ 55 แสดงการเปรี
ภาพที แสดงการเปรียยบเที
บเทียยบอุ
บอุณณหภู
หภูมมอิิอากาศออก
ากาศออก (Outlet
(Outlet air)
air) กักับบอุอุณ
ณหภู
หภูมมิอิอากาศภายนอก
ากาศภายนอก
164
165 ภาพที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบอุณหภูมอิ ากาศออก (Outlet air) กับอุณหภูมิอากาศภายนอก

166
167 ภาพที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศเข้า (Inlet air) – อากาศออก (Outlet air)
166
168 ผลจากการค านวณสมการทางคณิ
167 ภาพที
ภาพที่ 6่ 6แสดงการเปรี
แสดงการเปรียยบเที
บเทียตยบความแตกต่
ศาสตร์ างของอุณหภูมิอากาศเข้า (Inlet air) – อากาศออก (Outlet air)
บความแตกต่ างของอุงทดสอบต่
ณหภูมิอากาศเข้
169
168 ตารางที่ 2 แสดงสรุ
ผลจากการค ปค่าความต้านทานความร้
านวณสมการทางคณิ ตศาสตร์อนรวมของผนั างๆที่ได้าจ(Inlet air)-อากาศออก (Outlet air)
ากการทดลอง
2
ผนังทดสอบ
169 ตารางที่ 2 แสดงสรุปค่าความต้ านทานความร้อนรวมของผนัค่งาทดสอบต่
ความต้านทานความร้อนรวม (m .k/W) ของผนังทดสอบต่างๆ
างๆที่ได้จากการทดลอง
ผนังทดสอบที่ 1 ผนังทดสอบที่ 2
ผนังทดสอบ ค่าความต้านทานความร้อนรวม (m2.k/W) ของผนังทดสอบต่างๆ 129
อุณหภูมิผิวผนังเปลือกอาคารด้านที่สูงกว่า (To - ◦F) 109 (42.5 ◦C) 113 (45.2 ◦C)
ผนังทดสอบที่ 1 ผนังทดสอบที่ 2
อุณหภูมิผิวผนังเปลือกอาคารด้านที่ต่ากว่า (Ti - ◦F) 97 (36 ◦C) 95 (34.8 ◦C)
อุณหภูมิผิวผนังเปลือกอาคารด้านที่สูงกว่า (To - ◦F) 109 (42.5 ◦C) 113 (45.2 ◦C)
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

ผลจากการค�ำนวณสมการทางคณิตศาสตร์
ตารางที่ 2 แสดงสรุปค่าความต้านทานความร้อนรวมของผนังทดสอบต่างๆ ที่ได้จากการทดลอง
ผนังทดสอบ ค่าความต้านทานความร้อนรวม (m2.k/W) ของผนังทดสอบต่างๆ
ผนังทดสอบที่ 1 ผนังทดสอบที่ 2
อุณหภูมิผิวผนังเปลือกอาคารด้านที่สูงกว่า (To - ◦F) 109 (42.5 ◦C) 113 (45.2 ◦C)
อุณหภูมิผิวผนังเปลือกอาคารด้านที่ต่ากว่า (Ti - ◦F) 97 (36 ◦C) 95 (34.8 ◦C)
อุณหภูมิที่วัด ณ ช่องว่างอากาศเข้า (Tinlet air - ◦F) 97 (36.3 ◦C) 97 (36.3 ◦C)
อุณหภูมิที่วัด ณ อากาศออก (Toutlet air - ◦F) 100 (37.5 ◦C) 96 (36.2 ◦C)
To - Ti 12 18
Toutlet air - Tinlet air 3 1
U (W/m2◦C) 5.25 1.16
RT (m2.k/W) 0.19 0.86

จากตารางที่ 2 พบว่าผนังแผ่นดินเผามีคณ
ุ สมบัตเิ ป็นผนังกันความร้อน ท�ำให้ผนังอาคารมีคา่ ความต้านทาน
ความร้อนสูงขึ้นจากเดิม สามารถสรุปค่าความต้านทานความร้อนรวมของผนังทดสอบ

สรุป และข้อเสนอแนะ
จากการวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า สอดคล้องกับงานวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องผนังแผ่นดินเผาชนิดที่
ติดตั้งแบบมีช่องว่างอากาศของ F. Stazi, F. Tomassoni, A. Vegliò, C. Di Perna (2011) สามารถสรุปได้ดังนี้
1. ผนังแผ่นดินเผายังช่วยหน่วงความร้อนที่เข้ามา ส่งผลให้อุณหภูมิที่ผิวผนังด้านในและอุณหภูมิภายใน
อาคารลดลงกว่าแบบผนังต้นแบบที่ไม่ติดผนังแผ่นดินเผาชนิดที่ติดตั้งแบบมีช่องว่างอากาศ
2. วัสดุแผ่นดินเผาเริม่ คายความร้อนคืนสูท่ อ้ งฟ้าในช่วงกลางคืน ท�ำให้อณ
ุ หภูมทิ ผี่ วิ ด้านนอกของผนังแผ่น
ดินเผาเริ่มลดลง แต่ยังไม่มีผลมากกับอุณหภูมิที่ผิวผนังด้านในและอุณหภูมิภายในอาคาร
3. ช่องว่างอากาศ (air cavity) ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการต้านทานความร้อนด้วยการพาความร้อนออก
ไปยังภายนอกก่อนที่ความร้อนจะเข้าสู่อาคาร ท�ำให้ลดอุณหภูมิอากาศภายในอาคารได้ดียิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในเวลากลางวัน
4. การใช้ผนังแผ่นดินเผาเป็นเปลือกอาคารแบบมีชอ่ งว่างอากาศ เป็นระบบการติดตัง้ แบบมีชอ่ งว่างอากาศ
ระหว่างแผ่น (open joint) ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการต้านทานความร้อนด้วยการพาความร้อนออกไปภายนอก
ด้วยช่องว่างอากาศ (air cavity)
ดังนั้นการใช้ผนังแผ่นดินเผาเป็นเปลือกอาคารแบบมีช่องว่างอากาศจึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการออกแบบ
อาคารเพื่อประหยัดพลังงานและเหมาะสมกับการใช้งานเป็นผนังอาคารเพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคารต่อไปใน
อนาคต
เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับการท�ำวิจัยต่อไปจึงควรท�ำการเปรียบเทียบการใช้ผนังแผ่นดินเผาแบบมีช่องว่าง
อากาศกับผนังประเภทอื่นๆ เช่น ผนังก่ออิฐฉาบปูน ผนังกระจกแบบมีช่องว่างอากาศ ซึ่งรวมถึงสีและความหนาของ
ผนังแผ่นดินเผาที่แตกต่างออกไป นอกจากนี้ในการศึกษาครั้งต่อไปควรมีการวัดความชื้นซึ่งมีผลต่ออุณหภูมิด้วย

130
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

กิตติกรรมประกาศ
คณะวิจยั ขอแสดงความขอบคุณบริษทั แอฟริคสั จ�ำกัด ทีก่ รุณาอนุเคราะห์เครือ่ งมือวัดอุณหภูมิ และอุปกรณ์
เซนเซอร์ (12-Channel Temperature Recorder PCE-T 1200 และสาย type K sensor) เพื่อใช้ในการท�ำวิจัยใน
ครัง้ นี้ และขอแสดงความขอบคุณ บริษทั บุญถาวรเซรามิค จ�ำกัด ทีอ่ นุเคราะห์ขอ้ มูลของวัสดุทนี่ ำ� มาใช้ในการทดสอบ

ประวัติผู้เขียนบทความ
ชื่อ-สกุล : กิติพร สมวงศ์ชัย
ประวัติการศึกษา : ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
ประวัติการท�ำงาน พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน : ดีไซเนอร์ พีไอเออินทีเรีย จ�ำกัด
พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2557 : สถาปนิก บริษัท โอเพ่นสเปช จ�ำกัด
พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 : สถาปนิก บริษัท trendesign1989 จ�ำกัด
พ.ศ. 2552 : สถาปนิก บริษัท aplusadesign จ�ำกัด
หมายเลขโทรศัพท์ : 089-981-1929
E-mail address : kswc04@hotmail.com

เอกสารอ้างอิง
จิรเดช เทพพิพธิ . (2555). “เปรียบเทียบประสิทธิผลของค่าสัมประสิทธิใ์ นกระจกและแผงบังแดด”. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิติรัตน์ ลิมป์ปิยพันธ์. (2555). “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านความร้อนของผนังไม้จริงตัดขวาง”. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรัฐ ข้องม่วง. (2559). “ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของหลังคาอาคารสีขาวที่เคลือบสีเทอร์โมโครมิก”.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
วิกรม จ�ำนงค์จติ ต์. (2501). “ประสิทธิผลของการออกแบบการระบายอากาศช่องใต้หลังคาเพือ่ ป้องกันการถ่ายเทความ
ร้อนจากหลังคา”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ศูนย์ภูมิอากาศ ส�ำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา. (2558) สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560
จาก https://www.tmd.go.th/climate/climate.php?FileID=5
อภิชญา อธิคมบัณฑิตกุล. (2556). “การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพวัสดุทมี่ สี มั ประสิทธิ์ การแผ่รงั สีตำ�่ และฉนวน
กั น ความร้ อ นหลั ง คาทั่ ว ไป”. วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าสถาปั ต ยกรรมศาสตร์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
C. Marinoscia , G. Semprinia , G.L. Morinia. (2013). “Experimental analysis of the summer thermal
performances of anaturally ventilated rainscreen facade building”. Solar Energy 2014 (72):
280-287

131
การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (BTAC 2017)

Cristina Sanjuan, Maria Jose Suarez, Marcos Gonzalez, Jorge Pistono, Eduardo Blanco. (2011).
“Energy performance of an open-joint ventilated facade compared with a conventional
sealed cavity façade”. Solar Energy 2011 (85): 1851-1863.
F. Stazi, F. Tomassoni, A. Vegliò, C. Di Perna. (2011). “Experimental evaluation of ventilated walls
with an external clay cladding”. Renewable Energy 2011 (36): 3373-3385
NBK North America, a Hunter Douglas Company. (2559) 21 Fabruary 2560 From www.nbkterracotta.
com/en-US/home.jsp

132

You might also like