You are on page 1of 41

ผลงานเพื่อประกอบการสัมภาษณ์เลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร

สาขาวิศวกรรมโยธา

ของ นายณัฏฐ รักษา


เลขทะเบียน ภย. 71757

โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
999 หมู 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
ประเทศไทย 10540
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 2 of 41

คํานํา

รายงานฉบับนี้ทําขึ้นเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเปน
สามัญวิศวกร ของ นายณั ฏฐ รักษา เลขทะเบียน ภย. 71757 เนื้อหาภายในจะเกี่ยวของกับการ
ทํางานตําแหนงวิศวกรโครงการ ซึ่งรับผิดชอบดูแลงานในสวนงานปรับปรุงคุณภาพดิน (Ground
Improvement) โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซี่งจะกลาวถึงวิธีการ
บริหารงานโครงการและขอบเขตงานที่ไดรับมอบหมายงานผูบังคับบัญชาระดับสามัญวิศวกรใน
ขอบเขตงานผูรับ จาง บริษั ท ถนอมวงศบริการ ทั้งนี้หากมี ความผิดพลาดประการใดเกี่ยวกั บ
เนื้อหาผูจัดทําตองขออภัย ณ ที่นี้ดวย
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 3 of 41

สารบัญ
1. ที่ตั้งโครงการและรายละเอียดโครงการ .........................................................................................4
1.1. ที่ตั้งโครงการ ..............................................................................................................................4
1.2. รายละเอียดโครงการ.................................................................................................................. 5
2. ลักษณะงาน............................................................................................................................... 6
2.1. งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน ................................................................................ 6
2.2. งานกอสราง RAPID EXIT TAXIWAY และทางขับเชื่อม.................................................................... 7
2.3. งานกอสราง PERIMETER TAXIWAY............................................................................................. 7
2.4. งานกอสราง TAXIWAY D EXTENSION ......................................................................................... 7
2.5. งานผิวทางของทางวิง่ เสนที่ 3 และทางขับตางๆ ............................................................................. 8
3. วัตถุประสงคของโครงการ .......................................................................................................... 10
4. บทบาทความรับผิดชอบของผูเลื่อนระดับในฐานะเปนวิศวกรที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบตั ิงาน ............ 11
5. ปญหาดานวิศวกรรมโยธาทีเ่ กิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน................................................................... 11
6. ตัวอยางผลงานและวิธกี ารกอสรางทีไ่ ดดําเนินการในโครงการ ....................................................... 12
6.1. ผลงานงานปรับปรุงคุณภาพดินโดยวิธี VACUUM CONSOLIDATION METHOD (VCM)..................... 12
6.2. ผลงานติดตั้งเครื่องมือและตรวจวัดพฤติกรรม GEOTECHNICAL INSTRUMENT AND SOIL
MONITORING ..................................................................................................................................26
7. แนวทางการแกปญหาขณะปฏิบัติงาน ........................................................................................ 35
7.1. ปญหาเนื่องจากความลาชาในการกอสราง (DELAY PROGRESS) เมื่อเทียบกับแผนงาน (BASELINE
SCHEDULE) .................................................................................................................................... 35
7.2. ปญหาคุณภาพของวัสดุไมเปนตาม SPECIFICATION และรายการประกอบแบบ ............................. 38
8. ขอเดนของการปรับปรุงฐานรากดินเหนียวออนดวยวิธี VCM เปรียบเทียบกับวิธี PCCM...................40
9. ประโยชนทไี่ ดรบั จากการดําเนินงานโครงการ .............................................................................. 41
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 4 of 41

1. ที่ตั้งโครงการและรายละเอียดโครงการ

1.1. ที่ตั้งโครงการ

โครงการก อ สรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุ วรรณภู มิ ตั้ งอยู ภายในพื้ นที่ ของท าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

โดยมีพื้นที่กอสรางโครงการอยูบริเวณทางทิศตะวันตกของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ขนานกับแนว
คลองลาดกระบัง

รูปภาพที่ 1 ตําแหนงที่ตั้งโครงการ
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 5 of 41

1.2. รายละเอียดโครงการ

ผูวาจาง บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)

ที่ปรึกษา กลุมบริษัทวิศวกรที่ปรึกษาและควบคุมงาน AEC Consortium

ผูร ับจาง บริษัท กิจการรวมคา ทีเอ็น จํากัด

(ถนอมวงศบริการ และเนาวรัตนพัฒนาการ)

เลขที่สัญญา 8CI10-631001 ลงวันที่ ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563

ระยะเวลา 28 กันยายน 2563 – 13 สิงหาคม 256 (1150 วัน) – สวนงานที่ 1

มูลคาสัญญา 9,713 ลานบาท

รูปภาพที่ 2 สวนงานกอสรางอาคารเทียบเครื่องบินหลังที่ 1และสวนตอเชื่อมอุโมงคดานทิศใต


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 6 of 41

2. ลักษณะงาน

2.1. งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน

งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ความยาว 4,000 เมตร กวาง 60 เมตร ทางดานตะวันตกขนานกับระบบ


ทางวิ่งเสนปจจุบัน (ทางวิ่งเสนที่ 1) โดยทางวิ่งเสนที่ 3 จะใชสําหรับการบินรอนลงเปนหลัก สวนทาง
วิ่งเสนปจจุบันจะใชสําหรับการบินขึ้น ทั้งนี้ ทางขับขนาน (Parallel Taxiway) จะอยูขนานกับทางวิ่งเสน
ที่ 3 โดยจะมีทางขับออกดวนเชื่อมตอถึงกัน

รูปภาพที่ 3 ทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 7 of 41

2.2. งานกอสราง RAPID EXIT TAXIWAY และทางขับเชื่อม

งานกอสราง Rapid Exit Taxiway หรือทางขับออกดวน จะมี 7 เสน เพื่อใหอากาศยานที่รอนลงบนทาง


วิ่งเสนที่ 3 ไมตองเสียเวลาอยูบนทางวิ่งนาน และสามารถเคลื่อนตัวออกจากทางวิ่งเขาสูทางขนานได
รวดเร็ว ซึ่งจะชวยใหสามารถรองรับจํานวนเที่ยวบินไดมากขึ้น

2.3. งานกอสราง PERIMETER TAXIWAY

งานกอสราง Perimeter Taxiway ตอจากทางขับขนานไปทางทิศใต โดยเชื่อมระหวาง Taxiway F และ


Taxiway D เพื่อใชเป นทางขับใหอากาศยานสามารถขับเคลื่อนไปยังลานจอดไดสะดวก โดยไมตอง
เคลื่อนตัดผานทางวิ่งเสนปจจุบันดานตะวันตก (ทางวิ่งเสนที่ 1)

รูปภาพที่ 4 อาคาร DVOR เดิมในสวนของพื้นที่ Perimeter Taxiway กอนดําเนินการรื้อยาย

2.4. งานกอสราง TAXIWAY D EXTENSION

การกอสราง Taxiway D Extension เปนการตอขยายทางขับเดิม เพื่ออํานวยความสะดวกใหอากาศ


ยานสามารถขับเคลื่อนออกจากทางวิ่งไปยังลานจอดไดโดยตรง
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 8 of 41

รูปภาพที่ 5 งานกอสรางชั้น Subbase บริเวณพื้นที่ D Extension 1

2.5. งานผิวทางของทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับตางๆ

การกอสรางผิวทางของทางวิ่งและทางขับ แบงเปน 2 รูปแบบ

• Flexible Pavement ผิวทางแอสฟลต สําหรับทางวิ่งและทางขับทั่วไป

รูปภาพที่ 6 งานปูผิวทางแอสฟลต สําหรับทางวิ่งและทางขับ


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 9 of 41

• Rigid Pavement ผิวทางแบบคอนกรีต ผิวทางชนิดนี้จะสามารถรองรับน้ําหนักและแรงเฉือนได


ดี โดยจะก อ สร างที่ บ ริ เวณจุ ด จอดรอก อ นเข า ทางวิ่ ง (Holding Position) บนทางขั บ ขนาน
เพื่อใหบริเวณดังกลาวมีความคงทนมากยิ่งขึ้น และกอสรางบริเวณ Taxiway D Extension-1

รูปภาพที่ 7 งานกอสรางชั้น Rigid pavement บริเวณพื้นที่ D Extension 1


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 10 of 41

3. วัตถุประสงคของโครงการ

ปจจุบัน ทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีทางวิ่งจํานวน 2 เสน คือ ทางวิ่งที่ 1 (01L/19R) อยูทางทิศตะวันตก


ของท าอากาศยานสุ ว รรณภู มิ และทางวิ่งที่ 2 (01R/19L) อยู ท างทิ ศตะวั นออกของท าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ โดยมีระยะหางกันประมาณ 2,200 เมตร อากาศยานสามารถบินขึ้น-ลงไดพรอมกันทั้ง 2
ทางวิ่ง ซึ่งบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด ไดประเมินขีดความสามารถของทางวิ่งทั้งสอง
เสนทางแลววา สามารถรองรับปริมาณจราจรทางอากาศได 68 เที่ยวบินตอชั่วโมง

อยางไรก็ตาม จากการที่ทาอากาศยานสุ วรรณภู มิมีความจําเปนตอ งปด ซอ มทางวิ่งทิศตะวันออก


(01R/19L) ในชวงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2555 พบวามีผลกระทบตอขีดความสามารถของทางวิ่ง
โดยลดลงเหลือเพียง 34 เที่ยวบินตอชั่วโมง ในขณะที่ในชั่วโมงเรงดวนมีจํานวนเที่ยวบินขึ้น-ลงมากถึง
50 เที่ยวบินตอชั่วโมง สงผลใหเกิดความลาชาของเที่ยวบินทั้งขาเขาและขาออก ทําใหสิ้นเปลืองน้ํามัน
เชื้อเพลิง ผูโดยสารเสียเวลาในการเดินทางมากขึ้น ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน บริษัท ทาอากาศยาน
ไทย จํากัด (มหาชน) จึงมีโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 เพื่อรองรับปริมาณจราจรทางอากาศที่มี
แนวโนมขยายเที่ยวบินเพิ่มขึ้นในอนาคต และเพื่อรองรับปริมาณจราจรในกรณีที่มีการปดซอมทางวิ่ง
เสนที่ 1 และเสนที่ 2 ซึ่งการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 จะทําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิรองรับปริมาณ
จราจรไดเพิ่มขึ้น เปน 94 เที่ยวบินตอชั่วโมง และในกรณีทางวิ่งทางขับสมบูรณและสภาพอากาศปกติ
ดี จะมีเที่ยวบินเฉลี่ยวันละ 800-1,000 เที่ยวบิน ซึ่งมีกําหนดการกอสรางแลวเสร็จในป พ.ศ.2566
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 11 of 41

4. บทบาทความรับผิดชอบของผูเลื่อนระดับในฐานะเปนวิศวกรที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน

ตํ าแหน ง : วิศ วกรโครงการ ในส ว นงานปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพดิ น ดู แ ลการกํ ากั บ การปฏิ บั ติ ข อง
ผูรับเหมาชวงบริษัท Ceteau และ STS

ระยะเวลาปฎิบัติงาน เริ่ม กันยายน 2563 แลวเสร็จ สิงหาคม 2565

ผูขอเลื่อนประเภทวิศวกรไดปฏิบัติงานตามกฎกระทรวง กําหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 โดยไดรับมอบหมายใหปฏิบตั ิงานผลงานดีเดนลําดับที่ 1 ในสวนงาน
ปรับปรุงคุณภาพดินแบบ Vacuum Consolidation Method (VCM) และงานตรวจติดตั้งเครื่องมือและ
ตรวจวัดพฤติกรรม Geotechnical Instrument and Soil Monitoring

หนาที่

1. ผูขอเลื่อนประเภทวิศวกรทําหนาที่ ควบคุมและประสานงานกอสรางใหเปนตามรายการประกอบ
แบบและตรงตามขอกําหนดในสัญญา ภายใตการกํากับดูแลของสามัญวิศวกร

2. ผูข อเลื่ อ นประเภทวิศ วกรทํ าหน าวิศวกรควบคุ ม ใหเป น ไปตามขอ กํ าหนดในสัญ ญาโครงการ
รวมทั้งประสานงานกับผูรับเหมาชวง ผูควบคุมงานและผูวาจางในสวนงานปรับปรุงคุณ ภาพดิน
(Ground Improvement) ภายใตการกํากับดูแลของสามัญวิศวกร

5. ปญหาดานวิศวกรรมโยธาที่เกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน

ปญหาดานเกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน สามารถแยกเปนขอไดดังนี้

1. ความลาชาในการกอ สราง (Delay Progress) เมื่อ เทีย บกั บ กรอบเวลาดํ าเนิ นการตามที่ ระบุ ใน
สัญญา

2. ปญหาคุณภาพของวัสดุไมเปนตาม SPECIFICATION และรายการประกอบแบบ


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 12 of 41

6. ตัวอยางผลงานและวิธีการกอสรางที่ไดดําเนินการในโครงการ

6.1. ผลงานงานปรับปรุงคุณภาพดินโดยวิธี VACUUM CONSOLIDATION METHOD (VCM)

ขาพเจาไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานควบคุมและประสานงานกอสราง งานปรับปรุงคุณภาพดินทางวิ่ง
เสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการพัฒนาทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ประกอบดวยงานตาง ๆ
ดังตอไปนี้

• งานปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพดิ น ด ว ยวิ ธี Vacuum Consolidation Method (VCM) พื้ น ที่ ป ระมาณ
805,863 ตารางเมตร
• งานปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพดิ น ด ว ยวิ ธี PVD Conventional Consolidation Method (PCCM) พื้ น ที่
ประมาณ 33,803 ตารางเมตร

รูปภาพที่ 7 แผนผังและขอบเขตงานปรับปรุงคุณภาพดิน Package A (NTP1)


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 13 of 41

1. เริ่มจากทําการเขาเคลียรพื้นที่ (Clearing & Grubbing) และทําการ Earth Excavation and Removal


จนถึงระดับที่จะทําการกอสรางชั้น Sand Blanket แลว

รูปภาพที่ 8 งาน Clearing & Grubbing

2. ทําการตรวจเช็คระดับใหอยูที่ระดับ ±0.00 ตามที่กําหนดในแบบกอสราง แลวจึงปู Filter Fabric


Geotextile จากนั้ น ทํ าการถมวั ส ดุ ล งบน Filter Fabric Geotextile (1st Layer) โดยถมวั ส ดุ ชั้น แรก
ความหนาไมเกิน 50 cm. และถมวัสดุชั้นตอไปที่ความหนาแตละชั้นไมเกิน 30 cm.

รูปภาพที่ 9 การใชรถเกรดเกลี่ยวัสดุ Sand Blanket


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 14 of 41

ใชรถแทรคเตอรหรือเครื่องจักรที่เหมาะสม (Grader) ตีแผ คลุกเคลา วัสดุใหทั่ว และใชรถน้ําพรม


น้ํ า ให ทั บ บริ เ วณ ที่ ทํ า การถมวั ส ดุ โดยให ไ ด ผ ลทดสอบ optimum moisture content ± 3%
โดยประมาณ

จากนั้นทําการบดอัดทุกชั้นดวยรถบด (Vibrating Roller) หรือเครื่องจักรที่เหมาะสม บดอัดดวย


จํานวนรอบที่บันทึกจากการทําแปลงทดลอง (Test Section) โดยใหไดความแนนสม่ําเสมอ ≥ 95%
(AASHTO T 180) และทําการทดสอบหาคาความหนาแนนและคาความชื้นดินและวัสดุมวลรวมใน
สนามดวย Sand-Cone Method หรือ Nuclear Test Method ทําการทดสอบความแนนของชั้นวัสดุ
ตอพื้นที่ 2,500 m2 โดยจะตองมีคาเฉลี่ยของการทดสอบอยางนอย 4 ของการทดสอบในแตละ
ครั้ง โดยความหนาแนนตองไมนอยกวา 18 kN/m3

รูปภาพที่ 10 แสดงรูปตัดการทํา Sand Blanket


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 15 of 41

รูปภาพที่ 11 แผนผังการทํางานปรับปรุงคุณภาพดินโดยวิธี VACUUM CONSOLIDATION METHOD (VCM)


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 16 of 41

3. งานติดตั้งแถบระบายนาในแนวดิ่ง (Prefabricated Vertical Drain, PVD) เพื่อเรงระบายนาออก ทํา


ใหเกิดการทรุดตัวโดยระยะหางสําหรับติดตั้งแผน PVD จะมีหางระยะ 1.0 x 1.0 m ตามขอกําหนด
ของโครงการ

รูปภาพที่ 12 ระยะหางสําหรับติดตั้งแผน PVD


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 17 of 41

รูปภาพที่ 13 การติดตั้งแผนระบายน้ําแนวดิ่ง PVD ในสนาม

ทั้งนี้ตามขอกําหนดในสัญ ญา ผูออกแบบไดกําหนดใหความลึกระยะติดตั้งแผน PVD (Depth of


PVD’s) ติดตั้งจนถึงระยะ -10 m จากระดับอางอิง

รูปภาพที่ 14 อุปกรณ PVD Rig


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 18 of 41

รูปภาพที่ 15 ความลึกระยะติดตั้งแผน PVD ตามแบบสัญญา

4. งานติดตั้งแถบระบายน้ําในแนวนอน Horizontal Drains (PHD) วางทาบในแนวนอนบนจุด PVD ที่


ติดตั้ง โดยที่แถบระบายน้ําแตละอันจะเชื่อมตอกับ PVD โดยการพันทอระบายน้ําแนวตั้งรอบๆ
และล็อคดวยสายรัดหรือลวดเย็บกระดาษ
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 19 of 41

รูปภาพที่ 16 การติดตั้งแถบระบายน้ําในแนวนอน Horizontal Drains (PHD) ในสนาม

5. Sub tank จะติดตั้งในพื้นที่ปรับปรุง 2,500 ตร.ม. ตอแปลง และตําแหนงของ Sub Tank จะอางอิง
ตามแบบกอ สราง การติดตั้ง Sub tank สามารถทําไดพ รอมกับ การจั ดวาง Corrugated Filtered
Pipe ถังยอยจะทําหนาทีส่ ูบน้ําและอากาศที่อยูในชองวางของดินออกไป

รูปภาพที่ 17 การติดตั้ง Sub Tank ในสนาม

6. งานติ ด ตั้ ง ท อ Corrugated Filtered Pipe โดยมี ระยะห า ง 40 ม. สํ าหรั บ ท อ หลั ก และ 20.0 ม.
สําหรับทอบายพาส โดยทอตองฝงอยูในทรายลึกอยางนอย 0.30 เมตร ตัวกรองจะตองหุมดวยผา
ใยสังเคราะหเพื่อปองเศษอนุภาคทําใหเกิดการอุดตัน
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 20 of 41

รูปภาพที่ 18 การติดตั้งทอ Corrugated Filtered Pipe ในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 21 of 41

รูปภาพที่ 19 การติดตั้งทอ Corrugated Filtered Pipe ตามแบบสัญญา


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 22 of 41

7. ติด ตั้งแผน Filter Fabric Geotextile (2nd Layer) จากนั้นทํ าการการปูแผน Geomembrane ปด ทับ
ชั้นดินที่ตองการปรับปรุง แลวตอทอเขาปม สุญ ญากาศ โดยแผน Geomembrane จะตองมีการ
Seal ขอบโดยการขุดรองเพื่อฝงชายแผนลงไปใน ดิน เพื่อไมใหมีการรั่วของระบบสุญญากาศ เมื่อ
ระบบได ทํ า การติ ด ตั้ ง อย า งสมบู ร ณ ใต แ ผ น Geomembrane จะมี แรงดั น ที่ ต่ํ า กว า แรงดั น
บรรยากาศ ทําใหแรงดันบรรยากาศจะกดทับเหนือแผน Geomembrane ยิ่งแรงดัน สุญญากาศยิ่ง
มาก (ติดลบมาก) แรงกดทับจากแรงดันบรรยากาศก็จะยิ่งมากตาม

รูปภาพที่ 20 ทําการเขื่อมแผน Geomembrane ในสนาม

รูปภาพที่ 21 ตรวจงานปูแผน Geomembrane ในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 23 of 41

8. ทําการปูแผน Geotextile Filter Fabric Geotextile (3rd Layer) แลวจึงดําเนินการ Pre-Loading โดย
การถมวั ส ดุ Surcharge (หิ น คลุ ก ) เพื่ อ เป น การเพิ่ ม Pre-consolidation pressure ให สู งขึ้ น แล ว
unload ใหาหนั
น ก กดทั บ สุด ทายนอยกวาคานั้น ทั้งนี้เพื่อใหชั้นดินมีสภาพอยูในชวงที่เป น Over
consolidated จากการออกแบบของผูออกแบบกําหนดถม Surcharge สูง 80 cm สําหรับบริเวณ
Runway และถม Surcharge สูง 100 cm สําหรับบริเวณ Perimeter

รูปภาพที่ 22 ดําเนินการ Pre-Loading โดยการถมวัสดุ Surcharge (หินคลุก)


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 24 of 41

จากนั้นทําการบดอัดทุกชั้นดวยรถบด และทําการทดสอบหาคาความหนาแนนและคาความชื้นดิน
และวัส ดุ มวลรวมในสนามดวยวิธี Sand-Cone Method หรือ Nuclear Test Method เพื่อทดสอบ
ความแนนของชั้นวัสดุ

รูปภาพที่ 23 การทดสอบความหนาแนน Surcharge Fill ในสนามโดยวิธี Sand Cone

9. ทํ าการติ ด ตั้ ง Vacuum ป ม ในสนาม และควบคุ ม แรงดั น สู ญ ญากาศในแต ล ะโซนจะอยู ในชว ง
ประมาณ 70-90 kPa

รูปภาพที่ 24 การติดตั้ง Vacuum ปมในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 25 of 41

รูปภาพที่ 25 อุปกรณสําหรับงาน Vacuum Consolidation


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 26 of 41

6.2. ผลงานติดตั้งเครื่องมือและตรวจวัดพฤติกรรม GEOTECHNICAL INSTRUMENT AND SOIL


MONITORING

การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด พฤติ ก รรมดิ น สนาม Geotechnical Instrument จะประกอบด ว ยอุ ป กรณ
เครื่องมือตรวจวัดดังตอไปนี้

1. Surface Settlement Plate

รูปภาพที่ 26 การติดตั้ง Settlement Plate ในสนาม

2. Inclinometer System

รูปภาพที่ 27 การติดตั้ง Settlement Plate ปมในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 27 of 41

รูปภาพที่ 28 การติดตั้ง Inclinometer ในสนาม

รูปภาพที่ 29 การตรวจวัดคา Inclinometer ในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 28 of 41

3. Total Pressure Cell

รูปภาพที่ 30 เครืองมือวัด Vibrating Wire Earth Pressure Cells ในสนาม


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 29 of 41

4. Vibrating Wire Piezometer (bored type)

รูปภาพที่ 31 เครื่องมือวัดแรงดันน้ํา Piezometer ชนิด Bored Type

5. Vibrating Wire Piezometer (pushed type)

รูปภาพที่ 32 เครื่องมือวัดแรงดันน้ํา Piezometer ชนิด Pushed Type

6. Observation Wells

รูปภาพที่ 33 อุปกรณ Slope Indicator & water level indicator


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 30 of 41

7. Extensometer

รูปภาพที่ 34 การอานคาเครื่องมือ Extensometer ในสนาม

การติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมดินสําหรับงานปรับปรุงคุณภาพดิน บริเวณดานทิศเหนือและทิศใต
ของโครงการ สามารถสรุปจํานวนและประเภทของเครื่องมือวัดที่ใชในการปรับปรุงคุณภาพดินในแตละ
โซน ไดดังตอไปนี้
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 31 of 41

ตารางที่ 1 จํานวนและประเภทของเครื่องมือวัดที่ติดตั้งในแตละโซน

รูปภาพที่ 35 รูปแบบการติดตั้ง GI Instrument Typical A


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 32 of 41

รูปภาพที่ 36 รูปแบบการติดตั้ง GI Instrument Typical B

ในส วนของผลการตรวจวั ด พฤติ ก รรมดิน ในสนามสําหรับ งานปรับ ปรุงคุณ ภาพดิ น แบบ VCM จากค า
Vacuum Pressure Gauge สามารถวัดคาแรงดันสุญญากาศในแตละโซนจะอยูในชวงประมาณ 70-90 kPa
ในส ว นของค า แรงดั น น้ํ า ส ว นเกิ น (Excess Pore Pressure) ระหว า งกระบ วนก ารอั ด ตั ว คายน้ํ า
(Consolidation) สามารถอ า นค า ได จ ากอุ ป กรณ Piezometers ซึ่ ง ผลของการวิ เ คราะห แ ละกราฟ
ความสัมพันธระหวางแรงดันดินสวนเกินกับระยะเวลา

จากขอมูลการทรุดตัวในแนวดิ่งโดยเครื่องมือ Settlement Plate คาการทรุดตัวในแตละชั้นดินแตละโซน จะ


ถูกนํามาใชเพื่อประกอบการพิจารณาในการวิเคราะหคา Degree of Consolidation จะพบวาหลังจากถม
Surcharge Fill มาแลว 5 เดือน

จะมี ค า Degree of consolidation ซึ่ ง คํ า นวณจากวิ ธี Asaoka และ Hyperbolic มากกว า 90% ผ า นตาม
ขอกําหนดของโครงการทุกโซน
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 33 of 41

รูปภาพที่ 37 แผนผังตําแหนงที่มีการปรับปรุงคุณภาพดิน บริเวณ Zone 19-1

รูปภาพที่ 38 ความสัมพันธระหวาง Vacuum Pressure และ Surcharge Load บริเวณ Zone 19-1
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 34 of 41

รูปภาพที่ 39 คาการทรุดตัวเทียบกับเวลา สําหรับโซน 19-1

ตารางที่ 2 ผลการคํานวณ Degree of Consolidation Zone 19-1 โดยวิธี Asaoka และ Hyperbolic
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 35 of 41

7. แนวทางการแกปญหาขณะปฏิบตั ิงาน

7.1. ปญหาเนื่องจากความลาชาในการกอสราง (DELAY PROGRESS) เมื่อเทียบกับแผนงาน


(BASELINE SCHEDULE)

สรุปปญหาและความลาชาในการดําเนินการของมีสาเหตุมาจาก 3 สาเหตุหลักซึ่งจะประกอบไปดวย
เครื่องจักรและแรงงานไมพอเพียง, ขอจํากัดของการปฎิบัติงานในเขตการบิน หรือพื้นที่ Airside และ
ขอกําจัดเรื่องหาจัดหาวัสดุ เชน Surcharge และ Sand Blanket

ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ไดมีสวนรวมในสถานะตัวแทนฝายผูร ับจางไดดําเนินการประสานงาน


กับผูควบคุมงานและผูวาจางเพื่อวิเคราะหสาเหตุความลาชาเพื่อนํามาวิเคราะหหาผลกระทบที่มีตอ
Key Date, Milestone และวันที่แลวตามที่ระบุในสัญญา

รูปภาพที่ 40 รวมประชุมกับผูวาจางและผูควบคุมงาน เพื่อแกปญหาเกี่ยวกับความลาชาของแผนงาน

จากการวิเคราะหสาเหตุความลาชามีสาเหตุมาจากเครื่องจักรและแรงงานไมพอเพียงในชวงตนของ
งานกอสรางโครงการ ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการไดรับมอบใหมีสวนรวมในการดําเนินจัดทํา
Workshop กับทางที่ปรึกษาและผูวาจาง เพื่อดําเนินการจัดทําแผน Recovery Plan ในสวนของแผน
เครื่องมือเครื่องจักรและบุคลากร ซึ่งทําใหผูรับจางสามารถสงมอบงานไดตามกรอบเวลาที่ระบุใน
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 36 of 41

สัญญา รวมทั้งไดมีสวนรวมในการตรวจประเมินและการติดตามเสี่ยงอื่นๆ (Risk Assessment) ที่สง


กระทบใหโครงการลาชา และไมบรรลุวัตถุประสงคตาม KPI ของโครงการ

รูปภาพที่ 41 ดําเนินการจัดทําแผน Recovery Plan รวมกับทางทีป่ รึกษาควบคุมงาน


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 37 of 41

รูปภาพที่ 42 ดําเนินการจัดทําแผนยอยในสวนของงาน Ground Improvement


งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 38 of 41

7.2. ปญหาคุณภาพของวัสดุไมเปนตาม SPECIFICATION และรายการประกอบแบบ

เนื่องจากการดําเนินปรับปรุงคุณภาพดิน กิจกรรมบางสวนเกี่ยวของกับการจัดการวัสดุ Raw


Materials ทีเ่ กี่ยวของกับวัสดุงานดิน เชน วัสดุชั้น Sand Blanket สําหรับชั้นระบายน้ํา และ วัสดุถม
(หินคลุก) สําหรับงาน Surcharge Fill เปนตน ซึ่งจะตองมีการจัดหาแหลงวัสดุ ในหลายๆ แหลงจาก
ภายนอกโครงการ ซึ่งจากการตรวจสอบจากตัวขาพเจาและวิศวกรควบคุมงานสนามพบวา พบวา
คุณภาพวัสดุไมเปนไปตามขอกําหนดของโครงการตัวอยางเชน ขนาด Gradation และ Physical
Properties

ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ไดมีสวนรวมในการแกปญหาตั้งแตขั้นตอนพิจารณาขออนุมัติเอกสาร
โดยขาพเจาไดรับมอบหมายใหเปนผูด ําเนินการและดําเนินจัดทําเอกสารการขออนุมัติวัสดุ (Material
Approve) หมวดงานโยธา เพื่อนําเสนอใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (WIC) เห็นชอบและอนุมัติ
ปญหาในเรื่องของวัสดุที่ไมเปนตามขอกําหนด Specification ของโครงการ ขาพเจาไดดําเนินการได
นําเสนอวิธีการแกไขปญหาตั้งแตเริ่มตนจนจบโครงการ เริ่มจากกระบวนการสรรหาแหลงวัสดุโดย
กําหนดใหวิศวกรที่ปรึกษาเขารวมเก็บตัวอยางวัสดุกอนนําสงทดสอบ รวมไปถึงกําหนดความถี่
(Frequency Test) ทุกๆ ระยะ โดยใหระบุและนําเสนออยูในเอกสาร Inspection Test Plan (ITP) เพื่อ
ควบคุมคุณภาพวัสดุกอนนํามาใชงาน การทดสอบวัสดุที่ใชในโครงการ จะตองกระทําโดยสถาบัน
ทดสอบทดสอบที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ทั้งนี้สถานะรายการวัสดุที่กําหนดใหมี Control Test จะถูกนําเสนอในวาระการประชุมรายเดือน


(Monthly Meeting) ซึ่งจะถูกติดตามโดยผูวาจาง เพื่อใหสอดคลองกับแผนประกันคุณภาพโครงการ

ในสวนของปญหาเรื่องเอกสารรายการประกอบมีความไมชัดเจน ตัวอยางรายละเอียดและคุณสมบัติ
วัสดุ ที่ระบุในขอกําหนดโครงการ (Project Specification) ไมตรงตามมาตรฐาน เชน ASTM และ
ASME สงผลใหไมสามารถดําเนินการกอสรางได ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ภายใตการกํากับ
ของผูบังคับบัญชาระดับสามัญวิศวกร ซึ่งขาพเจาไดรับมอบหมายหนาที่ใหดําเนินการประสานงานกับ
ทางผูออกแบบ ผูควบคุมงาน และผูรับจาง ดําเนินการหาสรุปความไมสอดคลองเชิงเทคนิคเกี่ยวกับ
งาน โดยจัดทําเปนเอกสารถามตอบ Request for Information (RFI) ซึ่งจะรวบรวมปญหาเชิงเทคนิค
ทางวิศวกรรมเชน เรื่องแบบขัดแยง และคุณสมบัติวัสดุขอ กําหนดไมตรงตามสัญญา เพื่อสอบถามไป
ทางผูออกแบบเพื่อพิจารณาขอขัดแยงเชิงเทคนิคทางวิศวกรรม พรอมทั้งจัดประชุมหารือขอสรุปใน
รูปแบบ Workshop และวาระติดตามในการประชุมรายสัปดาห
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 39 of 41

รูปภาพที่ 43 ดําเนินการเกี่ยวกับการสงตัวอยางวัสดุเพื่อทดสอบสถาบันกลาง
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 40 of 41

8. ขอเดนของการปรับปรุงฐานรากดินเหนียวออนดวยวิธี VCM เปรียบเทียบกับวิธี PCCM

1. ประหยัดคาดินถม โดยเมื่อเกิดแรงดันสุญญากาศภายใตแผน Geomembrane แรงดันบรรยากาศก็จะ


กดทับแผน Geomembrane เหมือนการเพิ่มน้ําหนักดินถมกดทับเพื่อใหน้ําระบายออกจากดิน เพียงแต
ในกรณีนี้นํา้ หนักกดทับที่ไดมาโดยไมตองซื้อดินมาถม ยิ่งความดันสุญญากาศยิ่งมากก็ยิ่งเหมือน
น้ําหนักกดทับมีคามากตามขึ้นมา เชนหากความดันสุญญากาศเทากับ -70 kPa ก็จะเทียบเทากับดิน
ถมบดอัดแนนสูง 3.5 เมตร (สมมุตคิ ิด soil density = 20 kN/m3) ซึ่งในความเปนจริงหากจะตองเอา
ดินมาถมสูงถึง 3.6\5 เมตรก็คงจะมีคาใชจายพอสมควร

2. ลดระยะเวลาการปรับปรุงดินฐานราก โดยในกรณีการ Preload ปกติเราก็คงจะไมสามารถถมดินเพียง


ครั้งเดียวใหสูง 3.5 เมตรได เพราะชัน้ ดินฐานรากที่เปนดินเหนียวออนจะรับแรงไมไหวและพิบัติลง
ดังนั้นการถมดินจึงจะตองถมเปนขั้นๆไป โดยแตละขั้นตองรอใหดินฐานรากยุบตัวคายน้ําออกมา
เพื่อใหดินมีกําลังรับแรงที่จะสูงพอที่จะถมดินชั้นถัดไปได นี่คือเหตุผลที่การถมดินกดทับเพื่อเรงการ
ทรุดตัวแบบปกติถึงไดใชเวลานาน แตหากเปรียบเทียบกับระบบ VCM น้ําหนักกดทับที่เทียบเทากับ
การถมดินสูงสามารถเกิดขึ้นไดเพียงครั้งเดียวโดยการเปดปมสุญญากาศ

3. ลดระยะเวลาการกอสราง โดยในขณะที่อยูระหวางการเปดปมและรอดินทรุดตัว เราสามารถถมดิน


เหนือแผน Geomembrane เพื่อกอสรางโครงสรางดานบนไดไปในเวลาเดียวกัน เชนในขณะที่ดินฐาน
รากกําลังถูกปรับปรุงอยู เราสามารถทําการบดอัดกอสรางชั้นโครงสรางถนนดานบนไปไดในเวลา
เดียวกัน เมื่อดินฐานรากถูก ปรับปรุงเรียบรอยงานดินสวนบนก็จะเสร็จพรอมกัน ทั้งนี้เราสามารถ
คํานวณใหการทรุดตัวของจากการปรับปรุงดินฐานรากใหทรุดลงมาใกลเคียงกับระดับสุดทายที่จะใช
งานตอ

4. ลดผลกระทบจากการไหลของดินออกไปกระทบพื้นที่ขางเคียง โดยหากเปนการถมดินเพื่อ Preload


ปกติ ดินที่ถมสูงอาจจะไปกดดินเหนียวออนใหเคลื่อนตัวออกไปยังพื้นทีขางเคียงและสรางความ
เสียหายใหกับอาคารสิ่งปลูกสรางขางเคียงได แตในกรณี VCM ชั้นดินเหนียวในพื้นที่ที่ปรับปรุงจะหด
ตัวเขา เนื่องจากเปนแรงดูด ผลกระทบจากการเคลื่อนตัวออกของดินจึงไมมี
งานปรับคุณภาพดินโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยวิธี VACUUM
CONSOLIDATION METHOD (VCM)
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 Page 41 of 41

9. ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการ

ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการสามารถสรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ไดรับประสบการณการวางแผนเพื่อควบคุมโครงการใหเปนไปตามสัญญาและกรอบเวลา

2. ไดรับประสบการณการควบคุมคุณภาพของวัสดุกอนเริ่มงานและขณะปฏิบัติงานใหเปนไปตาม
ขอกําหนดโครงการ

3. ไดรับประสบการณ ในการประสานงานกับหนวยงานภายในและภายนอก เชน ทาอากาศยานสุวรรณ


ภูมิ (ทสภ) และ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท)

4. ไดรับประสบการณ เกี่ยวกับงานปรับปรุงคุณภาพดินแบบ VACUUM CONSOLIDATION METHOD


(VCM)

5. ไดรับประสบการณ เกี่ยวกับเทคนิคการตรวจวัดพฤติกรรมการดิน และคาติดตั้งอุปกรณตรวจวัดใน


สนาม รวมทั้งการแปลผลเครื่องมือที่ไดจากการตรวจวัด

6. ไดรับประสบการณการควบคุมคุณภาพของวัสดุกอนเริ่มงานและขณะปฏิบัติงานใหเปนไปตาม
ขอกําหนดโครงการ

7. ไดรับประสบการณ ในการตรวจประเมินและติดตามความเสี่ยง (Risk Management) เพื่อใหโครงการ


บรรลุวัตถุประสงคตาม KPI

8. ไดประโยชนและประสบการณจากการดําเนินงานตางๆที่รับผิดชอบดวยความอดทนและความ
พากเพียร และสามารถบรรลุเปาหมายไดตามกาหนดที่วางไว

You might also like