You are on page 1of 80

โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สารบัญ

สารบัญ

บทที่ 1 บทนํา .........................................................................................................................................1-1


1.1 ความเปนมา ......................................................................................................................1-1
1.2 วัตถุประสงค ......................................................................................................................1-2
1.3 ขอบเขตในการศึกษาและแนวทางการดําเนินงาน .................................................................1-2
1.4 โครงสรางของรายงาน.........................................................................................................1-3
บทที่ 2 การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน................................................................................................2-1
2.1 ภาพรวมของเขตการเดินรถที่ 4............................................................................................2-1
2.2 กองเดินรถที่ 1 เขตการเดินรถที่ 4 .......................................................................................2-6
2.3 ประเด็นปญหา .................................................................................................................2-12
บทที่ 3 มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ...........................................................................3-1
3.1 มาตรการในปจจุบัน............................................................................................................3-1
3.1.1 มาตรการสงเสริมที่เปนแผนยุทธศาสตรในการบริหารกิจการ ...................................3-1
3.1.1.1 มาตรการโครงการธนาคารความดีโดยการสรางแรงจูงใจ .......................3-1
3.1.1.2 มาตรการพัฒ นารูป แบบการบริก ารใหเกิดความหลากหลายและ
สรางความพึงพอใจแกผูใชบริการ.........................................................3-2
3.1.1.3 มาตรการป อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ แ ละความปลอดภั ย ของรถโดยสาร
ประจําทาง..........................................................................................3-2
3.1.1.4 มาตรการระบบการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance)...................3-3
3.1.1.5 มาตรการบริหารงานแบบกาวกระโดด (Breakthrough).........................3-4
3.1.2 การจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพ ..............................................................................3-4
3.2 ขอเสนอแนะในระยะสั้น ......................................................................................................3-6
3.2.1 นําระบบควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) มาประยุกตใช .............................3-6
3.2.2 วางแผนยุทธศาสตรของตนเอง..............................................................................3-6
3.2.3 จัดตั้งหนวยงานบริการลูกคา (Customer Services Relation) ................................3-7
3.3 ขอเสนอแนะในระยะยาว.....................................................................................................3-7
3.3.1 นําระบบประเมินผลมาใช .....................................................................................3-7
3.3.2 นําระบบมาตรฐานอุตสาหกรรม (ISO 9000) มาใชกับองคกร..................................3-8
3.3.3 นําระบบขอมูลสารสนเทศมาประยุกตใช ................................................................3-9
3.3.4 การพัฒนาและฝกอบรมบุคลากร ........................................................................3-10

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก ก รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สารบัญ
บทที่ 4 รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ.......................................................4-1
4.1 ความเปนมา ......................................................................................................................4-1
4.2 หลักการและเงื่อนไขในสัญญา ............................................................................................4-2
4.2.1 สิ่งที่จะวาจาง (What to tender?)..........................................................................4-2
4.2.2 สิ่งที่จัดไวให .........................................................................................................4-2
4.2.3 การบังคับใชสัญญาและการใหสิ่งจูงใจ..................................................................4-3
4.2.4 หลักเกณฑในการคัดเลือก ....................................................................................4-3
4.2.5 เงื่อนไขที่สําคัญอื่นๆ .............................................................................................4-4
4.3 การประยุกตใช ...................................................................................................................4-4
4.3.1 ตนทุนในการเดินรถ..............................................................................................4-4
4.3.2 จํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่วาจาง..........................................................................4-4
4.3.3 จํานวนผูใชบริการ ................................................................................................4-5
4.3.4 มาตรฐานการใหบริการ ........................................................................................4-5
4.4 ขอสังเกต ...........................................................................................................................4-6

ภาคผนวก ก ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป........................................................................ ก-1


ภาคผนวก ข การคํานวณตนทุนในการเดินรถ .......................................................................................... ข-1
ภาคผนวก ค รางเอกสารเชิญชวน............................................................................................................. ค-1
ภาคผนวก ง รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ .....................................................................................ง-1

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก ข รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สารบัญตาราง

สารบัญตาราง

ตารางที่ 2-1 เสนทางเดินรถและอูจอดรถจําแนกตามกองเดินรถของเขตการเดินรถที่ 4.....................................2-2


ตารางที่ 2-2 รายละเอียดอูจอดรถ เขตการเดินรถที่ 4.....................................................................................2-3
ตารางที่ 2-3 อัตรากําลังพนักงาน เขตการเดินรถที่ 4......................................................................................2-5
ตารางที่ 2-4 รายละเอียดเสนทางตาง ๆ ของกองเดินรถที่ 1............................................................................2-6
ตารางที่ 2-5 คาใชจายในการเดินรถตอป ......................................................................................................2-8
ตารางที่ 2-6 จํานวนคัน-กิโลเมตรบริการตอป ................................................................................................2-9
ตารางที่ 2-7 จํานวนผูใชบริการตอป .............................................................................................................2-9
ตารางที่ 2-8 อัตรากําลังพนักงาน กองเดินรถที่ 1 (อูคลองเตย) .....................................................................2-11
ตารางที่ 2-9 รถโดยสารสายอื่นที่วิ่งทับเสนทางกองเดินรถกองที่ 1 ................................................................2-12
ตารางที่ 3-1 ตัวชี้วัดการประเมินผล..............................................................................................................3-5

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก ค รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สารบัญรูป

สารบัญรูป

รูปที่ 2-1 ผังโครงสรางองคกรเขตการเดินรถที่ 4........................................................................................2-4


รูปที่ 2-2 เสนทางเดินรถทั้ง 6 เสนทาง ของกองเดินรถที่ 1 ......................................................................2-10
รูปที่ 2-3 แผนผังที่ตั้งกองเดินรถที่ 1 (อูคลองเตย)...................................................................................2-11

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก ง รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


บทที่ 1

บทนํา
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 1
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บทนํา

บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเปนมา

รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง (Pilot Project Report) เปนสวนหนึ่งของขอกําหนดการศึกษา (Terms of


Reference) โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (BMTA
Route Planning and Scheduling Project) งานที่ 5 แผนดําเนินการในการพัฒนาการใหบริการรถโดยสารประจํา
ทาง (Task 5: Implementation Plan of Bus Service Development) งานยอยที่ 5.4 การจัดทําแผนดําเนินการ
สําหรับกรณีนํารอง (Work Item 5.4: Development of Implementation Plan for a Pilot Case) ซึ่งระบุใหที่ปรึกษา
ใชขอมูลที่ไดจากการจัดลําดับความสําคัญและวิเคราะหความออนไหวในงานยอยที่ 5.2 (Prioritization and
Sensitivity Tests) และเลือกแผนงาน/โครงการที่มีลําดับความสําคัญสูง นํามาพัฒนาจัดทํารายละเอียดแผนการ
ดําเนินการ เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําแผนดังกลาวไปปฏิบัติได โดยแผนงานและโครงการดังกลาว
จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับการศึกษากอนดําเนินการตอไป

จากการนําเสนอในรายงานขั้นกลาง (ฉบับแกไข) ที่ปรึกษาไดเสนอวา ในอนาคต ขสมก. จะตองแบงแยกบทบาท


ออกจากกันอยางชัดเจนระหวางผูบริหารและควบคุมสัญญา (Contract Manager) และผูใหบริการ (Operator) โดย
เขตการเดินรถตาง ๆ นั้น จะมีหนาที่หลักในการเปนผูใหบริการตามแนวคิดการเดินรถเชิงพาณิชย (Commercial Bus
Operation) ภายใตสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ (Performance-based Contract) ซึ่งจะมีการนํามาใชใน
อนาคต เมื่อประกอบกับขอเสนอแนะที่เสนอใหเขตการเดินรถตาง ๆ ของ ขสมก. เปนกลไกในการปรับและจัดสรร
เสนทางในชวงการปรับเปลี่ยน (Change Management Process) กอนที่จะมีการนําสัญญาการใหบริการเชิง
คุณภาพมาใชอยางเต็มรูปแบบตอไป

ประกอบกับที่ปรึกษาไดพบปะพูดคุยกับเจาหนาที่เขตการเดินรถตาง ๆ และผูบริหารของ ขสมก. แลวพบวาจะเปน


ประโยชนอยางยิ่ง หากจะมีการจัดทําแผนดําเนินการในรายละเอียดสําหรับการเตรียมการใหเขตการเดินรถตางๆ ของ
ขสมก. มีความพรอมในการใหบริการตามแนวคิดการเดินรถเชิงพาณิชย ซึ่งจากการสัมภาษณผูบริหารเขตการเดินรถ
ตาง ๆ ประกอบกับการวิเคราะหขอมูลผลการดําเนินการและดานการเงินแลว ที่ปรึกษาจึงเสนอใหจัดทํา “แผน
ดํ า เนิ น การในการให บ ริ ก ารเชิ ง พาณิ ช ย ข องเขตการเดิ น รถที่ 4 องค ก ารขนส ง มวลชนกรุ ง เทพ
(Implementation Plan of Commercial Bus Services on BMTA Bus Zone 4)” มาจัดทําเปนโครงการนํารอง
ตอไป

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 1-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 1
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บทนํา
ที่ปรึกษาไดเสนอเรื่องดังกลาวใหคณะกรรมการกํากับการศึกษาโครงการฯ พิจารณาในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2547
เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2547 [ระเบียบวาระที่ 4.3 การคัดเลือกแผนงานและโครงการ เพื่อนํามาจัดทําแผนดําเนินการ
ในรายละเอียดเปนโครงการนํารอง (Pilot Project Report)] และที่ประชุมไดมีมติเห็นชอบใหดําเนินการ ดัง
รายละเอียดในรายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับการศึกษาโครงการฯ ครั้งที่ 2/2547 ซึ่งไดรับความเห็นชอบใน
คราวประชุมครั้งที่ 3/2547 เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2547

1.2 วัตถุประสงค

วัตถุประสงคหลักของการจัดทําแผนดําเนินการในโครงการนํารอง มีดังตอไปนี้

ƒ ปรับโครงสรางการบริหารจัดการภายใตกรอบแนวคิดการเดินรถเชิงพาณิชย
ƒ พัฒนาระบบ กระบวนการทํางาน และวิธีปฏิบัติงานใหสอดคลองกับแนวคิดใหม และมีประสิทธิภาพ
ƒ เพิ่มรายได และลดคาใชจาย
ƒ รางเอกสารเชิญชวน (Letter of Invitation) และรางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ (Performance-
based Contracts) เปนกรณีตัวอยาง (อูคลองเตย) เพื่อใหหนวยงานที่จะมาบริหารจัดการสัญญาจะ
ไดประยุกตใชเปนแนวทางในการสรรหาผูใหบริการรถโดยสารประจําทางในชวงระยะเวลาปรับเปลี่ยน
ตอไป

1.3 ขอบเขตในการศึกษาและแนวทางการดําเนินงาน

ขอบเขตในการศึกษา จะประกอบดวย การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐานของเขตการเดินรถที่ 4 เชน จํานวนเสนทาง


จํานวนรถประจําการ ประเภทของรถ อูจอดรถ เที่ยววิ่ง กิโลเมตรทําการ การใชน้ํามันเชื้อเพลิง จํานวนผูโดยสาร
รายได และโครงสรางอัตรากําลังพนักงาน จากนั้นจะทบทวนขอมูลการเดินรถในรายละเอียดสําหรับอูคลองเตย
เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการรางเอกสารเชิญชวน (Letter of Invitation) และรางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
(Performance-based Contracts) ตามลําดับ

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 1-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 1
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บทนํา

1.4 โครงสรางของรายงาน

โครงสรางของรายงานฉบับนี้แบงออกเปน 4 บท และ 4 ภาคผนวก ซึ่งประกอบดวย

ƒ บทที่ 1 บทนํา แสดงความเปนมา วัตถุประสงค และขอบเขตในการศึกษา


ƒ บทที่ 2 การทบทวนขอมูลพื้นฐาน ศึกษาทบทวนขอมูลตาง ๆ ของเขตการเดินรถที่ 4 โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งกองเดินรถที่ 1 อูคลองเตย
ƒ บทที่ 3 ขอเสนอในการปรับโครงสราง เสนอแนะแนวทางในการปรับโครงสรางเขตการเดินรถที่ 4
ƒ บทที่ 4 รางเอกสารเชิญชวนและเอกสารการใหบริการเชิงคุณภาพ แสดงแนวคิดและเงื่อนไขในการ
สรรหาผูใหบริการรถโดยสารประจําทาง ในอนาคต
ƒ ภาคผนวก ก ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป
ƒ ภาคผนวก ข การคํานวณตนทุนในการเดินรถ
ƒ ภาคผนวก ค รางเอกสารเชิญชวน
ƒ ภาคผนวก ง รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 1-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


บทที่ 2

การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน

บทที่ 2
การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
2.1 ภาพรวมของเขตการเดินรถที่ 4

การศึกษานี้ ที่ปรึกษาไดเลือกเขตการเดินรถที่ 4 เปนตัวอยางในโครงการนํารอง เนื่องจากเขตการเดินรถที่ 4 เปนเขต


ที่มีผลการดําเนินการดีที่สุด กลาวคือมีการขาดทุนนอยกวาเขตอื่น เนื่องจากเปนเขตที่มีระยะทางการเดินรถไมยาว
มากนัก โดยมีระยะทางในการใหบริการเฉลี่ย 15 – 18 กิโลเมตร อีกทั้งยังใหบริการรองรับรูปแบบการเดินทางที่มี
ลักษณะเขาสูเขตเมืองชั้นในเปนสวนใหญ นอกจากนี้ เขตการเดินรถที่ 4 ยังไดนําระบบมาตรฐาน ISO 9000 มา
ประยุกตใชในการปรับปรุงองคกรในทุก ๆ ดาน ยกเวนระบบบัญชี รวมทั้งรถโดยสารประจําทางในเขตการเดินรถที่ 4
ยังผานการรับรองมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพการใหบริการ ISO 9001: 2000 ครบทุกสาย

จากการศึกษาทบทวนสภาพปจจุบันดานการบริหารจัดการเดินรถของเขตการเดินรถที่ 4 พบวา เขตการเดินรถที่ 4


ประกอบดวย กองเดินรถ (กดร.) ทั้งหมด 3 กอง ทําการเดินรถหมวด 1 ทั้งรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู (รถเย็น) และ
รถโดยสารธรรมดา (รถรอน) รวมทั้งสิ้น 13 เสนทาง โดยมีอูจอดรถทั้งหมด 3 อู ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-1 และ
ตารางที่ 2-2

จากตารางดังกลาวจะเห็นไดวา กองเดินรถที่ 1 (กดร. 14) ประกอบการเดินรถมากที่สุดถึง 6 เสนทาง มีจํานวนรถ


ประจําการรวมทั้งสิ้น 210 คัน คิดเปนรอยละ 51 ของจํานวนรถประจําการทั้งหมดในเขตการเดินรถที่ 4 สวนกองเดิน
รถที่ 2 (กดร. 24) และกองเดินรถที่ 3 (กดร. 34) ประกอบการเดินรถจํานวน 4 และ 3 เสนทาง ตามลําดับ โดยมีรถ
ประจําการทั้งสิ้น 107 และ 92 คัน ตามลําดับ

เขตการเดินรถที่ 4 มีโครงสรางองคกร ดังแสดงในรูปที่ 2-1 ขณะที่ดานโครงสรางอัตรากําลัง มีจํานวนพนักงานดัง


แสดงในตารางที่ 2-3 ซึ่งจากตารางดังกลาวแสดงใหเห็นวา สัดสวนของอัตรากําลังในตําแหนงพนักงานขับรถและ
พนักงานเก็บคาโดยสารตอจํานวนรถโดยสาร มีคาประมาณ 1.97 และ 1.98 ตามลําดับ

เนื้อหาในบทนี้จะแสดงและทบทวนขอมูลพื้นฐานตาง ๆ ณ ปจจุบันของเขตการเดินรถที่ 4 ทั้งหมด โดยเฉพาะอยาง


ยิ่ง ขอมูลของกองการเดินรถที่ 1 (อูคลองเตย)

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
ตารางที่ 2-1
เสนทางเดินรถและอูจอดรถจําแนกตามกองเดินรถของเขตการเดินรถที่ 4

ระยะทาง จํานวนรถประจําการ
กดร. สาย ชื่อเสนทางเดินรถ อูจอดรถ ตอเที่ยว ครีมแดง ครีมแดง Euro II Euro II รวม
(กม.) H 12 ม. F 12 ม. รุน 797 รุน 500
4 ทาเรือคลองเตย - ทาน้ําภาษีเจริญ 16.0 20 0 17 0 37
13 หวยขวาง - คลองเตย 14.0 0 28 0 0 28
47 กรมศุลกากร - กรมที่ดิน 15.5 28 0 0 0 28
14 72 ทาเรือคลองเตย - เทเวศร อูคลองเตย 18.0 24 0 7 0 31
136 อูคลองเตย - หมอชิตใหม 21.5 0 20 20 0 40
205 กรมศุลกากร - ถนนรัชดาภิเษก (ตอนลาง) 16.5 14 15 0 0 29
ตลาดคลองเตย - ถนนตก (เสริม) 12.5 0 0 0 17 17
กดร. 14 รวม 6 เสนทาง 86 63 44 17 210
1 ถนนตก - ทาเตียน 11.0 26 0 0 0 26
62 สาธุประดิษฐ - อนุสาวรียชัยฯ 15.5 11 0 12 4 27
24 อูสาธุประดิษฐ
77 อูสาธุประดิษฐ - หมอชิต 2 27.0 20 0 12 4 36
180 อูสาธุประดิษฐ - ราม 2 26.5 18 0 0 0 18
กดร. 24 รวม 4 เสนทาง 75 0 24 8 107
12 หวยขวาง - กระทรวงพาณิชย 15.0 0 22 0 13 35
34 137 วงกลมรามคําแหง - ถนนรัชดาภิเษก อูพระราม 9 26.0 0 20 17 2 39
179 อูพระราม 9 - สะพานพระราม 7 17.5 0 18 0 0 18
กดร. 34 รวม 3 เสนทาง 0 60 17 15 92
เขต 4 รวม 13 เสนทาง 161 123 85 40 409
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
ตารางที่ 2-2
รายละเอียดอูจอดรถ เขตการเดินรถที่ 4
พื้นที่
อัตราคาเชา อัตราคาเชาตอ
ชื่ออู สถานที่ตั้ง อาคารที่ทําการและสิ่งปลูกสรางอื่นๆ อัตราคาเชาตอป
ไร งาน ตร.ว. ตร.ม. ตอเดือน ปตอ ตร.ม.

คลองเตย 148 ถ.สุนทรโกษา เขตคลองเตย กทม. 12 2 5.52 20,022.08 อาคารที่ทําการ 2 ชั้นเขต 4, กดร. 14 และ 75,083.00 900,996.00 45.00
อาคารสิ่งปลูกสรางอื่นๆ
สาธุประดิษฐ ถ.รัชดา ใตทางดวนใกลแยกสาธุประดิษฐ 8 50.00 13,000.00 อาคารที่ทําการชั้นเดียว กดร. 24 และอาคาร 237,250.00 2,847,000.00 219.00
สิ่งปลูกสรางอื่นๆ
พระราม 9 ถ.เทิดพระเกียรติ์ แขวงหวยขวาง 3 1 - 5,200.00 อาคารที่ทําการชั้นเดียว กดร. 34 และอาคาร 123,370.00 1,480,440.00 284.70
เขตหวยขวาง กทม. สิ่งปลูกสรางอื่นๆ

รวม 23 3 55.52 38,222.08 435,703.00 5,228,436.00 548.70

เฉลี่ยพื้นที่ใชประโยชน (ตร.ม.)
ความสามารถ
เขต กดร. ชื่ออู อาคารทําการ รถจอดประจําการ สาย กิจกรรม หมายเหตุ
โรงซอม ลานจอด ในการเก็บรถ
และอื่นๆ
1 คลองเตย 4,080.51 4,941.57 11,000.00 185 210 4 (Euro), 13, 47, 72 (Euro), เชาจาก กทร. หมดสัญญาแลว 31 ธ.ค.
136 (Euro), 205 (Euro) 45
2 สาธุประดิษฐ 4,640.00 - 8,360.00 130 107 1, 62 (Euro), 77 (Euro), 180 (ท.30) เชาจาก กทพ. หมดสัญญา 22 เม.ย.
4 47
3 พระราม 9 1,680.00 - 3,520.00 70 92 12 (ธรรมดา & ยูโร), มีสถานีบริการน้ํามัน และลางรถ นายชัยยุทธ สามเพชรเจริญ หน.กดร.
137 (ธรรมดา & ยูโร), 34 อัตราคาเชา ณ ปงบประมาณ 47
179 (ป.25ค) (ขึ้นปละ 5%)
รวม 10,400.51 4,941.57 22,880.00 385 409 รวม 13 สาย ผจก. เขตเดินรถ นายวิรัตน มี อูคลองเตยเดินรถ Euro II มีกําไรทุก
Euro II 125 คัน ความเห็นวานโยบายรัฐมีผลตอ ขส สาย รายไดเฉลี่ย/คัน/วัน 6,000 บาท
มก. อยางมาก ทั้งเขตขาดทุน EBITDA ประมาณ 15
ลานบาท/เดือน
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
รูปที่ 2-1
ผังโครงสรางองคกรเขตการเดินรถที่ 4

ผูอํานวยการเขต

ผูช วยผูอ ํานวยการเขต


สวนอุบัติเหตุ สวนตรวจการ

กองบริหารงานเขต กองบัญชีและการเงิน กองเดินรถที่ 1 กองเดินรถที่ 2 กองเดินรถที่ 3

สวนแผนงาน สวนการเงิน สวนธุรการและ สวนธุรการและ สวนธุรการและ


ระบบขอมูล ระบบขอมูล ระบบขอมูล

สวนบริการ สวนตรวจสอบ
สายการเดินรถที่ สายการเดินรถที่ สายการเดินรถที่
4, 13, 47, 72, 136, 205 1, 62, 77, 180 12, 137, 179

สวนบริหารงานบุคคล สวนบัญชีและงบประมาณ

ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
ตารางที่ 2-3
อัตรากําลังพนักงาน เขตการเดินรถที่ 4

ลําดับ ชื่อตําแหนง จํานวน


1 ผูอํานวยการ 1
2 ผูชวยผูอํานวยการ 1
3 หัวหนากอง 5
4 หัวหนาสวน 11
5 หัวหนาหมวดหรือหัวหนางาน 19
6 พนักงานประจําสํานักงาน 59
7 พนักงานการเงินคาโดยสาร 21
8 พนักงานบัญชีคาโดยสาร 20
9 พนักงานวิทยุ 8
10 พนักงานพิมพดีด 4
11 พนักงานทําความสะอาด 6
12 ยามรักษาการ 4
13 พนักงานเติมน้ํามัน 13
14 นักการ 4
15 ชาง 1
16 พนักงานธุรการเดินรถ 8
17 ผูจัดการสาย 6
18 ผูชวยผูอํานวยการ 6
19 นายทาประจําทาปลอยรถ 57
20 นายทาอู 10
21 นายตรวจ 52
22 สายตรวจพิเศษ -
23 พนักงานขับรถสํานักงาน 13
24 พนักงานขับรถชาย 784
25 พนักงานขับรถหญิ ง 22
26 พนักงานเก็บคาโดยสารชาย 216
27 พนักงานเก็บคาโดยสารหญิ ง 592
28 พนักงานอื่นๆ (ระบุตําแหนง) -
รวม 1,943

ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน

2.2 กองเดินรถที่ 1 เขตการเดินรถที่ 4

ในการศึกษานี้ ที่ปรึกษาไดคัดเลือกกองเดินรถ 1 กอง จากกองเดินรถทั้งหมด 3 กอง ของเขตการเดินรถที่ 4 คือ กอง


เดินรถที่ 1 (กดร. 14) ซึ่งตั้งอยูที่อูคลองเตย เปนกรณีศึกษา เนื่องจากกองเดินรถที่ 1 เขต 4 มีจํานวนสายและ
กิจกรรมที่มากกวากองเดินรถที่เหลืออื่นๆ ทั้งหมด ดังนั้น ในหัวขอนี้ ที่ปรึกษาจะทําการทบทวนผลการเดินรถที่เนน
เฉพาะเสนทางของกองเดินรถที่ 1 เพื่อที่จะใชเปนขอมูลนําเขาใน “รางเอกสารเชิญชวน” และ “รางสัญญาการ
ใหบริการเชิงคุณภาพ” ตอไป

เสนทางเดินรถของกองเดินรถที่ 1 ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-4

ตารางที่ 2-4
รายละเอียดเสนทางตาง ๆ ของกองเดินรถที่ 1

สาย ตนทาง - ปลายทาง เที่ยวไป เที่ยวกลับ


4 ทาเรือคลองเตย - ทาน้ําภาษีเจริญ เริ่มตนที่อูคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฏร ทาน้ําภาษีเจริญ ไปตามถนนเทอดไท เลี้ยว
ทาเรือคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฎร ขวาถนนอินทรพิทักษ วงเวียนใหญ เลี้ยว
เลี้ยวซายถนนสุนทรโกษา เลี้ยวซายไปตาม ซายถนนประชาธิปก สะพานสมเด็จพระ
ถนนพระราม 4 เลี้ยวซายถนนตรีมิตร เลี้ยว ปกเกลา ถนนจักรเพชร ถนนมหาไชย เลี้ยว
ขวาถนนเยาวราช เลี้ยวซายถนนจักรวรรดิ์ ขวาถนนเจริญกรุง เลี้ยวซายถนนมิตรพันธ
สะพานสมเด็จพระปกเกลา ถนนประชาธิปก วงเวียน 22 กรกฎา เลี้ยวซายถนนไมตรีจิต
วงเวียนใหญ ถนนอินทรพิทักษ เลี้ยวซายถนน เลี้ยวซายถนนพระราม 4 เลี้ยวขวาถนน
เทอดไท สุดเสนทางทาน้ําภาษีเจริญ สุนทรโกษา เลี้ยวขวาถนนเกษมราษฎร
ผานทาเรือคลองเตย ไปตามถนนเกษม
ราษฎร ผานทาเรือคลองเตย ไปตามถนน
เกษมราษฎร สุดเสนทางอูคลองเตย
13 หวยขวาง - อูคลองเตย เริ่มตนที่อูคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฏร อาคารสงเคราะหหวยขวาง ตลาดสดหวย
เลี้ยวขวาถนนสุนทรโกษา เลี้ยวซายไปตาม ขวาง ถนนประชาสงเคราะห เลี้ยวขวาถนน
ถนนพระราม 4 เลี้ยวขวาถนนวิทยุ สวนลุมพินี ดินแดง เลี้ยวซายถนนราชปรารภ ประตูน้ํา
เลี้ยวซายถนนเพลินจิต เลี้ยวขวาถนนราชดําริ ถนนราชดําริ ราชประสงค เลี้ยวซายถนน
ประตูน้ํา ถนนราชปรารภ เลี้ยวขวาถนนดินแดง สารสิน สวนลุมพินี เลี้ยวขวาถนนวิทยุ
เลี้ยวซายถนนประชาสงเคราะห ตลาดสดหวย เลี้ยวซายถนนพระราม 4 เลี้ยวขวาถนน
ขวาง สุดเสนทางอาคารสงเคราะหหวยขวาง สุนทรโกษา ตลาดคลองเตย สุดเสนทางอู
คลองเตย

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน

สาย ตนทาง - ปลายทาง เที่ยวไป เที่ยวกลับ


47 กรมศุลกากร - กรมที่ดิน เริ่มที่ทาเรือคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฏร กรมที่ดิน เลี้ยวซายไปตามถนนสนามไชย
เลี้ยวซายถนนสุนทรโกษา เลี้ยวซายไปตาม เลี้ยวขวาถนนหนาพระลาน เลี้ยวซายถนน
ถนนพระราม 4 เลี้ยวขวาถนนพญาไท เลี้ยว ราชดําเนินใน ถนนราชดําเนินกลาง เลี้ยว
ซายถนนพระราม 1 (สนามศุภชลาศัย) เลี้ยว ขวาถนนจักรพรรดิพงษ เลี้ยวซายถนนบํารุง
ซายถนนกรุงเกษม เลี้ยวขวาถนนหลวง เลี้ยว เมือง ถนนพระราม 1 ไปตามเสนทางเดิม
ขวาถนนวรจักร ถนนจักรพรรดิพงษ เลี้ยวซาย สุดเสนทางที่ทาเรือคลองเตย
ถนนหลานหลวง ถนนราชดําเนินกลาง ถนน
ราชดําเนินใน เลี้ยวขวาถนนหนาพระลาน
สนามหลวง เลี้ยวซายถนนมหาราช ถนนราชินี
สุดเสนทางกรมที่ดิน
72 ทาเรือคลองเตย - เทเวศร เริ่มที่ทาเรือคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฏร เทเวศร ไปตามถนนพิษณุโลก เลี้ยวซาย
เลี้ยวขวาถนนอาจณรงค ถนนกลวยน้ําไท ถนนราชสีมา เลี้ยวขวาถนนศรีอยุธยา
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซอยสุขุมวิท 42 เลี้ยวซาย เลี้ยวขวาถนนราชปรารภ เลี้ยวซายถนน
ถนนสุขุมวิท เลี้ยวขวาถนนเอกมัย เลี้ยวซาย เพชรบุรี เลี้ยวขวาถนนเอกมัย เลี้ยวขวา
ถนนเพชรบุรี เลี้ยวขวาถนนราชปรารภ เลี้ยวซาย ถนนสุขุมวิท เลี้ยวซายซอยสุขุมวิท 40 เลี้ยว
ถนนศรีอยุธยา วังสวนผักกาด เลี้ยวซายถนน ซายถนนพระราม 4 เลี้ยวขวาถนนกลวย
สามเสน เลี้ยวซายถนนพิษณุโลก วัดเบญจมฯ น้ําไท มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เลี้ยวขวาถนน
สุดเสนทางเทเวศน อาจณรงค เลี้ยวซายถนนเกษมราษฎร
สุดเสนทางที่ทาเรือคลองเตย
136 อูคลองเตย - หมอชิตใหม เริ่มที่อูคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฎร เลี้ยว หมอชิตใหม ไปตามถนนกําแพงเพชร 2 เลี้ยว
ขวาถนนสุนทรโกษา ตลาดคลองเตย เลี้ยวขวา ซายถนนกําแพงเพชร ถนนพหลโยธิน เลี้ยว
ถนนพระราม 4 เลี้ยวซายถนนรัชดาภิเษก แยก ขวาไปตามถนนรัชดาภิเษก ผานแยกลาด
สุขุมวิท แยกอโศก แยก อ.ส.ม.ท. แยกสุทธิสาร พราว แยกสุทธิสาร แยกพระราม 9 แยกอโศก
แยกลาดพราว แยกรัชโยธิน เลี้ยวซายถนน แยกสุขุมวิท ตลาดคลองเตย เลี้ยวซายถนน
พหลโยธิน เลี้ยวขวาถนนกําแพงเพชร ยานสินคา สุนทรโกษา สุดเสนทางอูคลองเตย
พหลโยธิน ตลาดนัดสวนจตุจักร ถนนกําแพงเพชร
เลี้ยวซายถนนกําแพงเพชร 2 สุดเสนทางหมอชิตใหม
205 กรมศุลกากร - ถนนรัชดาภิเษก (ตอนลาง) เริ่มตนที่อูคลองเตย ไปตามถนนเกษมราษฏร เลี้ยว เดอะมอลลทาพระ ไปตามถนนรัชดาภิเษก
ขวาถนนสุนทรโกษา เลี้ยวซายถนนพระราม 3 ขึ้น ถนนมไหสวรรย ขึ้นสะพานกรุงเทพ ถนน
สะพานกรุงเทพ ถนนมไหสวรรย ถนนรัชดาภิเษก พระราม 3 เลี้ยวขวาถนนสุนทรโกษา สุดเสน
สุดเสนทางเดอะมอลลทาพระ ทางอูคลองเตย
ที่มา : เขตการเดินรถที่ 4 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2547

นอกจากนี้ ผลจากการศึกษาทบทวนขางตน ยังสามารถนําไปใชเปนขอมูลในการวางแผนกําหนดระดับการใหบริการ


ขั้นต่ํา (Minimum Service Level) ของเสนทางเดินรถแตละสาย และคํานวณตนทุนการใหบริการ เพื่อที่จะใชเปน
หลักเกณฑในการคัดเลือกผูประกอบการภายใตสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ ตอไป

การทบทวนผลการเดินรถของกองเดินรถที่ 1 เขตการเดินรถที่ 4 ประกอบดวย เสนทางรถโดยสารประจําทาง 6


เสนทาง คือ สาย 72 13 136 205 47 และ 4 มีจํานวนรถโดยสาร (รถธรรมดาและรถปรับอากาศ) รวมทั้งสิ้น
จํานวน 210 คัน โดยรายละเอียดของเสนทางและที่ตั้งของอูจอดรถ ดังแสดงในรูปที่ 2-2 และรูปที่ 2-3 ตามลําดับ

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-7 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
ในสวนของผลการดําเนินงาน ที่ปรึกษาไดทําการทบทวนยอนหลัง 3 ป ประกอบดวย คาใชจายในการเดินรถ
จํานวนคัน-กิโลเมตรบริการ และจํานวนผูใชบริการ ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-5 ตารางที่ 2.6 และตารางที่ 2-7
ตามลําดับ

ตารางที่ 2-5
คาใชจายในการเดินรถตอป

ตนทุนการเดินรถ (บาท) รถธรรมดา รถปรับอากาศ


ประจําป 2545 ( ต.ค. 44 - ก.ย. 45 ) 500,718,342.26 221,008,294.03
ประจําป 2546 ( ต.ค. 45 - ก.ย. 46 ) 465,602,582.55 307,676,329.55
ประจําป 2547 ( ต.ค. 46 - มิ.ย. 47 ) 325,452,103.69 282,964,550.06
ที่มา : เขตการเดินรถที่ 4

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-8 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
ตารางที่ 2-6
จํานวนคัน-กิโลเมตรบริการตอป

เสนทาง รวม
จํานวน คัน-กิโลเมตรบริการ
4 4U 13 47 72 72U 136 136U 205 205U รถธรรมดา รถปรับอากาศ
ประจําป 2545 ( ต.ค. 44 - ก.ย. 45 ) 1,115,769 1,370,969 1,462,933 1,466,646 1,400,423 732,049 1,318,659 1,658,780 3,135,909 216,097 9,900,339 3,977,895
ประจําป 2546 ( ต.ค. 45 - ก.ย. 46 ) 1,207,825 1,344,194 1,470,188 1,520,678 1,451,136 733,363 1,230,481 1,656,860 2,207,650 1,273,632 9,087,958 5,008,049
ประจําป 2547 ( ต.ค. 46 - มิ.ย. 47 ) 801,079 941,373 1,032,896 1,043,185 1,028,988 460,007 813,436 1,319,910 1,443,481 1,061,081 6,163,065 3,782,371
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4

ตารางที่ 2-7
จํานวนผูใชบริการตอป

เสนทาง รวม
จํานวนผูใชบริการ
4 4U 13 47 72 72U 136 136U 205 205U รถธรรมดา รถปรับอากาศ
ประจําป 2545 ( ต.ค. 44 - ก.ย. 45 ) 6,096,360 4,221,629 7,781,294 8,509,355 7,285,486 1,794,124 5,796,366 4,178,761 12,956,995 395,988 48,425,856 10,590,502
ประจําป 2546 ( ต.ค. 45 - ก.ย. 46 ) 5,561,611 3,223,981 7,413,935 7,668,496 6,320,907 1,445,450 5,000,504 3,785,759 8,234,247 2,531,168 40,199,700 10,986,358
ประจําป 2547 ( ต.ค. 46 - มิ.ย. 47 ) 3,879,332 2,238,242 5,660,234 5,638,380 4,649,981 959,412 3,268,450 2,955,368 5,398,767 2,262,906 28,495,144 8,415,928
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-9 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
รูปที่ 2-2
เสนทางเดินรถทั้ง 6 เสนทาง ของกองเดินรถที่ 1
ม ณ ลโย ธ
ถ.ดวง ถ.งา
ซ.พห

าวดีร วดีร
ถ.ติว
ถ.ทาน้ํา-นนท ม

ชื่น
บุรี 1 วงศ


.ศิริช ย
ั ว

ถ.วิภ
ถ.บ

ถ.ประชา
ซ าน
างก

ซ.ลาดพราว 53 (ซ.โชคชัย

ยธิน
ร วย-

. วิภ

หลโ
บาง

วาง

อก ถ

ถ.พ
งคส
ัวท

ถ.ประชาราษฎร
อง

ร2
ถ.ว

ขา-อ
ซ.สตรีวิทย

งเพช
ถ.บ ถ.พิบูล

ท าง เ
า งบ สงครา


ัวท ม

ชร 1
ถ.กําแ
ม อง- ถ.ล

พงเพ
นอ ตล าด
ิ่งช พรา
จงถ

ถ.ประชาราษฎร สาย 1
ัน ถ.ประช ว

กําแ
วย-

า ราษฎร ซง โ
กร
ทรนอ

ิตร 29

ซ. ยุวกนิต ถ.
 สาย 2
ัย รวมม
. โช ค ช
รวย-ไ

ถ.กําแพงเพชร ซ
ถ.ทห สาย 136

านุร
ถ.บาง

า ร

ิ วง ศ 75 (ภ ถ.ประดิพ
ัท ธ ซ. ลาดพราว 64

ังสิต

ซ.จรัลส

วด-ี ร
มเส
ถ.ส


ถ.ส

ัย

ถ.นค

ถ.วิภ
ชกั พระ

ถ.พิช
เด็จ

ถ.ประชาสงเคราะห

รชัย
ถ.ขา

ถ.ราช ซ.พหลโ
พร

วิถี ศรี ยธิน 2 (ซ


ะป

.ส
นเก

ายลม)
ลา

สาย 13 ถ.ประชาอุท
ร
ินท

ถ.วิส

ถ.ศร ถ.โย สาย 72 ิศ


ีอยุธย

อม

 า ธี
ุทธิก

พงษ ถ.ด
รุณ

ถ.ราง ิน
5 ักร
ถ. อ

วงศ 3 สาย 47
ษัตร

ถ.จ น ้ํา แ ดง รอย


สนิท วง
ถ.หลานหล ัลซ
ิย

ถ.พรานนก

า ช ิตี้แอ ถ.พระ
ถ.สนามชัย

ห าร ถ.บํารุงเมือง ถ ราม 9
นือ

.พระร วิน
ถ.ม ิว
3(ซ.นานาเห
ถ.พญาไท

ซ.จรัลสนิทวงศ 22 าม 1
9
ถ.ราชดําริ

ซ.สุขุมวิท 3
ือปา

ถ.วิทยุ

ถ.เพชรบ
ถ.ว

ุรี
ถ. เ ส

ถ.มหานคร

ทวงศ 13
ังเ

ันธ
ดิม

ชาธิป
ถ.จรัลสนิทวงศ

าภิเษก
ิตรพ

ซ.สุขุมวิท

ถ.ส

ถ.พระโขนง-คลองตัน
ซ.สุขุมวิท 63 (ซ.เอกมัย
ถ.สมเ ถ.สารสิน
ถ.ประ

ถ.ม

ด ็จเจาพ ุขุมว
ถ.รัชด

ระยา ถ.ส พ
่ ี ร ะย า ิท

ถ.เพชรเกษม .สีล
ถ.นเรศ

ัถ ถ
ถ.เจริญร ถ.สุรวงศ ถ.พร
ะ รา
ซ .ส ว

ถ.สาธรใต มที่ 4
ื่อ

นพล
นราธ
นค

ไมมีช

ถ.อาจ
ริญ

ณร


ถ.พร

ง ค
ถ. เ จ

าสราช

สาย 4 รุง ถ.จันทร


ถ.ปาก

ิญก
ะราม


นค ร

ถ .เ จ


ถ.วุฒ

ี่ 3

้ําเกา
ินทร
ถ.สาธ

ถ.เอก
ช ัย

ากาศ

ุประด

ซ. ส
ต

ุขุ
ือ - ใ
ถ.สุขส

ิษฐ

สาย 205
เหน

ัสดิ์

ุร-ี ปา
ดิ์ 27

ท ่ ี 2 (ธนบ
ซ.สุขสวัส

ม ถ.สรรพ
ระรา
ถ.พ
ุทธบูช

ถ.เพชรหึงษ

ซ.สุ
ถ.นครเขื่อนขันธ

ถ.ปูเจาส ถ.เทพ
มิงพราย าร

ที่มา: ขสมก. และกรมการขนสงทางบก

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-10 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน
รูปที่ 2-3
แผนผังที่ตงั้ กองเดินรถที่ 1 (อูค ลองเตย)

หองสุขา ที่ทําการ กดร.14


สหภาพ ศูนยซอม หองสุขา
สหภาพ การเงิน เช็คตั๋ว กดร.14
แรงงาน ปมน้าํ มัน มิตซูบิชิ
แรงงาน ตรวจการ
ประตู
ปอมยาม
จายงาน การเงิน เช็คตั๋ว
กดร.14

แผนผังสังเขป เขตการเดินรถที่ 4
ถนนสุนทรโกษา

อาคารสํานักงาน
เขตการเดินรถที่ 4 อาคาร
สวัสดิการ
ศูนยซอมฮีโน
หองประชุม

ประตู
185

136

205

ประตู
13
47

72
4
ปอมยาม สถานพยาบาล ทาปลอยรถ
แยกกรมศุลกากร ถนนเกษมราษฎร
ปอมตํารวจ
ถนนอาจณรงค

กรมศุลกากร โรงพยาบาลทาเรือ อาคารทวิช

ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4

ตารางที่ 2-8
อัตรากําลังพนักงาน กองเดินรถที่ 1 (อูคลองเตย)

ตําแหนง สาย 4 สาย 13 สาย 47 สาย 72 สาย 136 สาย 205 รวม (คน)
พนักงานขับรถโดยสาร 79 52 49 60 82 92 414
พนักงานเก็บคาโดยสาร 82 53 51 59 79 88 412
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547

จากตารางที่ 2-8 จะเห็นไดวาอัตราสวนของจํานวนพนักงานขับรถและพนักงานเก็บคาโดยสารตอจํานวนรถโดยสาร


ในกองการเดินรถที่ 1 มีคาเทากับ 1.97 และ 1.96 ตามลําดับ โดยมีคาใกลเคียงกับภาพรวมของเขตการเดินรถ 4 ซึ่ง
แสดงใหเห็นวามีการจัดสรรทรัพยากรบุคคลไดอยางเหมาะสมและมีน้ําหนักเฉลี่ยใกลเคียงกันทั้งเขต

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-11 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐาน

2.3 ประเด็นปญหา

จากตารางที่ 2-1 พบวาอูคลองเตยมีขนาดของอูไมเพียงพอในการรองรับรถโดยสารทั้งหมดที่เขามาใชอู โดยมีรถ


โดยสารเกินความจุ 25 คัน นอกจากนี้ ยังพบอีกวา มีรถโดยสารในเสนทางอื่นทั้งขององคการฯ และรถเอกชนรวม
บริการ มีเสนทางที่วิ่งทับซอนกับเสนทางของกองเดินรถที่ 1 เปนจํานวนหลายสาย รวมทั้งเขามาใชพื้นที่รวมกับอู
คลองเตย ดังแสดงในตารางที่ 2-9 สรางปญหาใหกับอู ซึ่งเดิมทีมีขนาดความจุรองรับไมเพียงพอ

รถสายอื่นที่มาใชและจอดที่อูคลองเตย ไดแก รถขององคการฯ สาย 185 และรถเอกชนรวมบริการ สาย 74 และ 74


มินิบัส

นอกจากปญหาการวิ่งทับเสนทางของรถโดยสารดังที่กลาวมาแลว ในปจจุบันยังไดรับผลกระทบจากรูปแบบการ
เดินทางโดยรถไฟฟาใตดิน เนื่องจากมีเสนทางทับซอนกับรถโดยสารประจําทาง โดยเฉพาะอยางยิ่งสาย 136 ซึ่งวิ่ง
บนถนนรัชดาภิเษกเปนหลัก และในชั่วโมงเรงดวนมีสภาพการจราจรที่ติดขัดเปนอยางมาก ผูโดยสารจึงเลือกที่จะ
เดินทางโดยการใชบริการรถไฟฟาใตดิน สงผลกระทบตอรายไดและจํานวนผูโดยสารอยางมีนัยสําคัญ

ตารางที่ 2-9
รถโดยสารสายอื่นที่วิ่งทับเสนทางกองเดินรถกองที่ 1

เสนทางอื่นที่ทับเสนทางเดินรถ ตั้งแต 5 กิโลเมตร ขึ้นไป


สาย ชื่อเสนทาง
เสนทางองคการฯ รถเอกชนรวมบริการ
4 กรมศุลกากร - ทาน้ําภาษีเจริญ สาย 7, 21, 25 สาย 46, 85, 109, 159, 172, 507, 529
13 หวยขวาง - คลองเตย สาย 36, 54, 73, 73ก., 204 สาย 98, 157, 163, 164
47 กรมศุลกากร - กรมที่ดิน สาย 15, 60 สาย 44
72 ทาเรือคลองเตย - เทเวศร สาย 23, 60, 511 สาย 58, 113
136 อูคลองเตย - หมอชิตใหม สาย 26, 185, 206, 73ก., 134ก.,154 สาย 28, 38, 108, 172, 529
205 กรมศุลกากร - ถนนรัชดาภิเษก (ตอนลาง) - สาย 89, 35
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4

การทบทวนสภาพขอมูลปจจุบันของกองเดินรถที่ 1 เขตการเดินรถที่ 4 (อูคลองเตย) ในประเด็นดานรูปแบบการ


ดําเนินงาน การใหบริการ ขนาดและที่ตั้งของอูจอดรถ อัตรากําลังพนักงาน และสภาพปญหาตาง ๆ จะนําไปใชใน
การวิเคราะหและประเมินตนทุนในการประกอบการเดินรถ จากนั้นจะนําไปเปนขอมูลประกอบการราง “เอกสารเชิญ
ชวน” และ “สัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ” ตอไป

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 2-12 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


บทที่ 3

มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ

บทที่ 3
มาตรการทีใ่ ชอยูในปจจุบันและ
ขอเสนอแนะ
3.1 มาตรการในปจจุบัน

ปจจุบัน ขสมก. ไดมีการนํามาตรการสงเสริมตางๆ ที่เปนแผนยุทธศาสตรในการบริหารกิจการมาใช รวมทั้งการ


จัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพหลัก (Key Performance Index: KPI) ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

3.1.1 มาตรการสงเสริมที่เปนแผนยุทธศาสตรในการบริหารกิจการ

ปจจุ บัน ขสมก. ไดนํ า มาตรการสง เสริ มตา งๆ ที่เ ปนแผนยุ ท ธศาสตรใ นการบริ ห ารกิ จ การมาประยุ ก ต ใ ช โดย
ประกอบดวย

3.1.1.1 มาตรการโครงการธนาคารความดีโดยการสรางแรงจูงใจ

ใหพนักงานเปลี่ยนแปลงทัศนคติดวยการปฏิบัติหนาที่ที่ดีตามโครงการธนาคารความดี ซึ่งเปนการสรางคุณธรรมให
เกิดขึ้นอยางยั่งยืน และเกิดความพึงพอใจแกผูใชบริการ ตามแนวทางปฏิบัติและผลตอบแทน

แนวทางปฏิบัติในการสรางความดี ผลตอบแทนที่ไดรับ
1. บริ ก ารประชาชนให ไ ด รั บ ความพึ ง พอใจ ด ว ย - ไดรับเกียรติบัตรธนาคารความดีประจําเดือน
มาตรฐานคุณภาพการบริการ “สะอาด มารยาทดี
สะดวก ปลอดภัย และประหยัด”
2. การหารายไดตามเปาหมายที่กําหนด - ไดรับการพิจารณาเลื่อนขั้นพิเศษประจําป
3. ปฏิบัติหนาที่อยางสม่ําเสมอ - เมื่อกระทําความผิด โดยมีโทษไมถึงขั้นไลออก สามารถนํา
ผลที่ไดรับจากธนาคารความดี มารวมพิจารณาเพื่อเปนเหตุ
บรรเทาโทษ
4. ไมมีเรื่องรองเรียน หรืออุบัติเหตุ - ไดรับคัดเลือกเปนพนักงานดีเดนขององคการฯ
5. อุทศิ ตนเพื่อทําประโยชนแกหนวยงานหรือสังคม

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.1.1.2 มาตรการพัฒนารูปแบบการบริการใหเกิดความหลากหลายและสรางความพึงพอใจแกผูใชบริการ

รูปแบบการบริการ แนวคิดในการพัฒนา
1. การจัดรถใหบริการแกสถานศึกษา - เพื่ อ สนั บ สนุ น การสร า งวิ นั ย ความปลอดภั ย แก เ ด็ ก และเยาวชน
รวมทั้งการแกไขปญหาจราจร
2. การใชเครื่องเก็บตั๋วอัตโนมัติ - เพื่อจัดระเบียบการขึ้ นรถโดยสารสาธารณะ และลดต นทุนในการ
ดําเนินงาน
3. การจัดรถบริการพิเศษ เชน รถสงเสริม - เพื่อใหบริการตรงกับความตองการที่หลากหลายของผูใชบริการ และ
การทองเที่ยว รถชุมชน (Car Pool) เพิ่มรายไดใหกับองคกร
เปนตน
4. การจัดรูปแบบใหเกิดความสะดวก - เพื่อจัดทําแผนที่เสนทางบริเวณปายรถโดยสารประจําทาง
5. การจัดรูปแบบการรั บขอแนะนํา จาก - เพื่อ จัด นายตรวจรั บ ข อ คิ ด เห็น ทัน ทีเ มื่ อ ลงจากรถโดยสาร และใช
ประชาชนเพื่อปรับปรุงการใหบริการ สถานีวิทยุรวมดวยชวยกัน

3.1.1.3 มาตรการปองกันอุบัติเหตุและความปลอดภัยของรถโดยสารประจําทาง

มาตรการในการดําเนินการ แนวทางปฏิบัติ
1. การรณรงคปองกันอุบัติเหตุ - สรางกระบวนการควบคุม ตรวจสอบและประเมินผูเหมาซอม เพื่อจัด
รถใหมีสภาพที่มั่นคงและแข็งแรง
- สรางจิตสํานึกแกพนักงานประจํารถใหมีความรับผิดชอบ โดยมีรางวัล
เมื่อกระทําความดีและลงโทษเมื่อกระทําผิด
- ประชาสัมพันธใหพนักงานรับทราบเขาใจ และถือปฏิบัติอยางตอเนื่อง
2. การสร า งความปลอดภั ย บนรถ - ติดสัญญาณเตือนภัยบนรถโดยสารในเสนทางที่มีความเสี่ยงสูง
โดยสาร - อบรมใหพนักงานประจํารถเขาใจวิธีปฏิบัติ กรณีเกิดเหตุผิดปกติบน
รถโดยสาร

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.1.1.4 มาตรการระบบการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance)

หลัก Good Governance แนวทางปฏิบัติ


1. หลักคุณธรรม - นําระบบบริห ารทรัพ ยากรมนุ ษ ย ตั้ ง แตการสรรหา คั ดเลือ ก บรรลุ
แตงตั้งตามความสามารถ
2. หลักนิติธรรม - นําระเบียบขอบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวของมาใชอยางทั่วถึงและเปน
ธรรมทั่วทั้งองคการ
3. หลักการมีสวนรวม - ใหมีการบริหารงานที่เกิดขึ้นในลักษณะ 2 ทิศทาง คือ บนลงลาง (Top
Down) และลางขึ้นบน (Bottom Up)
4. หลักความรับผิดชอบในหนาที่ - สรางการบริหารงานใหพนักงานมีความรูความสามารถที่จะรับผิดชอบ
ในหนาที่อยางสมบูรณ และพนักงานที่เปลี่ยนหนาที่ตองผานขั้นตอน
การอบรมพัฒนา เพื่อเปลี่ยนตําแหนงหนาที่
5. หลักความโปรงใส - สรางระบบการบริหารใหเกิดการรวมคิด รวมทํา รวมรับผิดชอบ และ
สื่อสารใหเกิดความเขาใจทั่วทั้งองคการ
6. หลักการบริหาร อยางมีประสิทธิภาพ - กําหนดใหมีการทํางานอยางมีระบบ โดยการวางแผนงาน นําแผนไป
ปฏิบัติ ตรวจสอบ ประเมินผล และมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง
7. หลักการกระจายอํานาจ - ใหกระจายอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบตามโครงสราง องคกรใน
ระดับ ฝายเขต กอง สาย จนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการในระบบศูนย
กําไร (Profit Center)

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.1.1.5 มาตรการบริหารงานแบบกาวกระโดด (Breakthrough)

โดยการบริหารงานเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการทํางานอยางรวดเร็ว จากการบริหารแบบราชการสูการบริหารงาน
เชิงธุรกิจ

หลักการบริหารจัดการ แนวทางปฏิบัติ
1. โครงสราง ปรับโครงสรางใหเหมาะสม โดยแยกเปน
- ดานนโยบายกําหนดกํากับดูแลและสนับสนุน กําหนดเปนฝายบริหาร
ฝายเดินรถองคการฯ และฝายอํานวยการ เพื่อใหเกิดความคลองตัวใน
การปฏิบัติงาน
- ดานปฏิบัติการ กําหนดเปนเชิงธุรกิจ บริหารในรูปแบบศูนยกําไร
2. บุคลากร - พั ฒ นาบุ ค ลากร โดยสร า งวั ฒ นธรรมในองค ก รให พ นั ก งานมี วิ นั ย
ความรับผิดชอบตอองคกร
3. เทคนิคการบริหาร - นําเทคนิคการบริหารใหเกิดคุณภาพ และความรวดเร็วมาบริหารงาน
เชน ISO 9001:2000 เปนตน
4. ความรู ข อ มู ล ข า ว สา ร แ ล ะ ก า ร - พัฒนาระบบสารสนเทศ (MIS) เพื่อใหฐานขอมูลถูกตองทันสมัย และ
ประชาสัมพันธเชิงรุก สามารถใชในการตัดสินใจการบริหาร
5. เปาหมายการบริหาร - กําหนดเปาหมายในการบริหารงานและประเมินผลตามโครงสราง
องคกรในระดับ ฝาย เขต กอง และสาย

3.1.2 การจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพ

ปจจุบัน ขสมก. ไดมีการจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (Key Performance Index: KPI) โดยประกอบดวย 3 ดานหลัก


ไดแก ดานการเงิน คุณภาพของพนักงาน และคุณภาพของบริการ โดยผลการประเมินตาง ๆ อยูในรูปแบบการให
ระดับคะแนน วิธี การเฉลี่ยถวงน้ําหนัก และรอยละของความแตกตาง เพื่อนําไปหาจุดบกพรองที่จะนําไปแกไ ข
ปรับปรุงตอไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในตารางที่ 3-1

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
ตารางที่ 3-1
ตัวชี้วัดการประเมินผล

รายการ คะแนนเต็ม
ประสิทธิภาพทางการเงิน 25
1. กําไร (ขาดทุน) EBITDA (บาท) 10
2. คาใชจายรวม (บาท) 5
3. รายไดคาโดยสารตอวัน (บาท) 5
4. รายไดจําหนายตั๋วคูปอง (บาท) 5
ดานการผลิต 35
5. รถออกวิ่ง (คัน) 5
5.1. % รถออกวิ่งตอรถประจําการ 5
6. เที่ยววิ่ง 5
7. กิโลเมตรบริการตอคันตอวัน (รถประจําการ) 5
8. อัตราการใชน้ํามันเชื้อเพลิง (กม./ลิตร)
8.1. รถธรรมดา 5
8.2. รถปรับอากาศ 5
8.3. รถกาซ (NGV) 5
9. จํานวนผูใชบริการ (คน) 5
9.1. จํานวนใบตั๋วคูปอง (บนรถ)
คุณภาพของพนักงาน 15
10. % พนักงานขับรถมาทํางาน 5
11. % พนักงานเก็บคาโดยสารมาทํางาน 5
12. % เปลี่ยนกะบาย (ไมรวมกะสวาง) 5
คุณภาพของบริการ 25
13. รถเสียถายผูโดยสาร ตอ 1 ลาน กิโลเมตรบริการ 5
14. อบ. ฝายผิด ตอ 1 ลาน กิโลเมตรบริการ 10
15. % เรื่องรองเรียนตอรถออกวิ่ง 5
16. เรื่องชมเชย 5
รวม 100
ที่มา: ขสมก. เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ

3.2 ขอเสนอแนะในระยะสั้น

จากการศึกษาทบทวนขอมูล ประกอบกับการสังเกตการณ และการสัมภาษณผูบริหารเขตการเดินรถที่ 4 ที่ปรึกษา


ไดมีขอเสนอแนะในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงานและการใหบริการ ดังตอไปนี้

3.2.1 นําระบบควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) มาประยุกตใช

การนําระบบควบคุมคุณภาพที่พนักงานมีสวนรวมมาประยุกตใช ซึ่งอาจจัดตั้งคณะกรรมการผูแทน/ ตัวแทนสายการ


เดินรถของตนเอง เพื่อตรวจสอบ กํากับ ติดตามและประเมินผลสายของตัวเองใหมีประสิทธิที่ดีขึ้น และมีการ
ตอบสนองตอความตองการแกผูโดยสารในทุก ๆ ดานใหไดมากที่สุด

3.2.2 วางแผนยุทธศาสตรของตนเอง

เนื่องจากการประกอบการเดินรถตามแนวคิดใหม เขตการเดินรถของ ขสมก. และผูประกอบการเอกชนรวมบริการ


จะตองแขงขันเพื่อใหไดสิทธิ์ในการประกอบการ ดังนั้น เขตการเดินรถของ ขสมก. ตาง ๆ จึงจําเปนที่จะตองมีแผน
ยุทธศาสตรของตนเอง เพื่อรูจุดออน จุดแข็ง และโอกาสในการทําธุรกิจของตน เสมือนเปนบริษัทของตนเองที่ตอง
บริหารจัดการองคกรใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ยกตัวอยางเชน

ƒ การปรับปรุงแผนการเดินรถ ประกอบดวย การปรับปรุงเสนทาง การจัดเวลาการเดินรถในและนอก


ชวงเวลาเรงดวน การขจัดกิโลเมตรสูญเปลา การจัดการอูจอดรถ เปนตน
ƒ การลดคาใชจายในการบริหาร ประกอบดวย การใชเครื่องจัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติ การปรับลด
พนักงานตอจํานวนรถ และการงดรับพนักงานทดแทนผูเกษียณ อายุ การเจรจาเพื่อปรับปรุงเงื่อนไข
การเหมาซอม เปนตน
ƒ การนําหลักการตลาดมาประยุกตใช ประกอบดวย การหารายไดจากการโฆษณา การปรับอัตราคา
โดยสาร และการใหเชาพื้นที่อูจอดรถ เปนตน
ƒ มีการบูรณาการรถโดยสารประจําทางกับระบบขนสงมวลชนระบบอื่น ๆ เขาดวยกันเพื่อใหผูใชบริการ
ไดรับประโยชนสูงสุด

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.2.3 จัดตั้งหนวยงานบริการลูกคา (Customer Services Relation)

มีการจัดตั้งแผนกบริการลูกคาหรือลูกคาสัมพันธ เพื่อทําหนาที่ดังตอไปนี้

ƒ สํารวจและประเมินความตองการของผูใชบริการ
ƒ ใหขอมูลขาวสารแกผูใชบริการ
ƒ รับเรื่องรองเรียนและคําแนะนําจากผูใชบริการ
ƒ ฯลฯ

แผนกบริการดั งกลา วมีค วามสํา คัญ ตามแนวคิด การประกอบการแบบใหม โดยสมควรมี การโยกย า ยบุ ค ลากร
สวนเกินที่อยูในหนวยงานอื่น เชน การบริหารและอํานวยการ มายังหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นใหมนี้ พรอมทั้งใหการ
ฝกอบรมเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติและวิธีการทํางานใหเหมาะสมกับหนวยงานใหมดังกลาว

3.3 ขอเสนอแนะในระยะยาว

3.3.1 นําระบบประเมินผลมาใช

ในระยะยาวจะตองมีการนําระบบประเมินผลมาประยุกตใช เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดไว โดยใน


เบื้องตนระบบประเมินผลควรครอบคลุมใน 4 ดานหลัก ดังตอไปนี้

ƒ การประเมินผลทางดานการบริหาร เชน การเงิน คาใชจาย กําไรขาดทุน เปนตน


ƒ การประเมินผลทางดานบุคลากร เชน อัตราการมาทํางาน การควบคุมการมาทํางาน เปนตน
ƒ การประเมินผลประสิทธิภาพในการเดินรถ เชน จํานวนผูโดยสาร จํานวนเที่ยววิ่ง จํานวนกิโลเมตร
บริการ อัตราการใชน้ํามันเชื้อเพลิง การซอมบํารุง เปนตน
ƒ การประเมินผลประสิทธิภาพการใหบริการ เชน ความปลอดภัย ความพึงพอใจของผูใชบริการ การ
รอง เรียน เปนตน

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-7 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.3.2 นําระบบมาตรฐานอุตสาหกรรม (ISO 9000) มาใชกบั องคกร

ปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหองคกรประสบความสําเร็จทางธุรกิจ ก็คือ "คุณภาพ" ของสินคาหรือการใหบริการ ซึ่ง


เปนระดับของคุณลักษณะเฉพาะที่แฝงอยูในสินคาหรือบริการที่สามารถตอบสนองตอความตองการของลูกคา เพื่อ
สรางความพึงพอใจใหแกลูกคา องคกรใดก็ตาม หากสามารถผลิตสินคาหรือการใหบริการที่มีคุณภาพสอดคลองกับ
ความตองการของลูกคา และมีความมุงมั่นที่จะทําใหมีคุณภาพเหนือความคาดหวังของลูกคาได องคกรนั้นยอม
ประสบความสําเร็จในการเพิ่มสวนแบงการตลาดและมีผลกําไรสูงสุด ซึ่งการใชระบบการบริหารงานคุณภาพที่ใชกัน
อยางกวางขวางและไดรับการยอมรับทั่วโลก ก็คือ อนุกรมมาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ซึ่ง
ประกอบดวยมาตรฐาน ISO 9000 : 2000, ISO 9001 : 2000 และ ISO 9004 : 2000 การนําระบบการบริหารงาน
คุณภาพตามอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ไปใชอยางแพรหลายจะเปนประโยชนแกทุกฝายที่เกี่ยวของ ดังนี้

ƒ องคกร
– การจัดการองคกร การบริหารงาน ตลอดจนการใหบริการมีระบบและมีประสิทธิภาพ
– การบริการ เปนที่พึงพอใจของลูกคา หรือผูรับบริการและไดรับการยอมรับ
– กอใหเกิดภาพลักษณที่ดีแกองคกร
– ประหยัดคาใชจายในระยะยาว

ƒ พนักงานภายในองคกร
– มีการทํางานเปนระบบ
– เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน
– พนักงานมีจิตสํานึกในเรื่องของคุณภาพมากขึ้น
– มีวินัยในการทํางาน
– พั ฒ นาการทํ า งานเป น ที ม หรื อ เป น กลุ ม มี ก ารประสานงานที่ ดี และสามารถพั ฒ นาตนเอง
ตลอดจนเกิดทัศนคติที่ดีตอการทํางาน

ƒ ผูใชบริการ
– มั่นใจในการบริการ วามีคุณภาพตามที่ตองการ
– สะดวกประหยัดเวลาและคาใชจาย โดยไมตองตรวจสอบคุณภาพซ้ํา
– ไดรับการคุมครองดานคุณภาพความปลอดภัย และการใชงาน

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-8 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
การนําระบบมาตรฐานอุตสาหกรรมมาใชในที่นี้ ไมไดหมายถึงการนํามาประยุกตใชเปนรายเสนทางในปจจุบัน แต
เปนการนํามาประยุกตใชกับองคกร (เขตการเดินรถ) ทั้งหมด เพื่อทําใหเกิดประสิทธิภาพในกระบวนการทํางานและ
การใหบริการอยางสูงสุด ซึ่งในปจจุบัน ขสมก. ไดปรับปรุงคุณภาพรถโดยสารประจําทางจนไดรับมาตรฐานสากล
ISO 9001 : 2000 จํานวน 58 สาย โดยมาตรการมุงเนนดานคุณภาพการบริการมีหลักการในการปฏิบัติ ดังนี้

มาตรฐานคุณภาพบริการ แนวทางปฏิบัติ
1. ความสะอาด - รถโดยสารประจําทางตองสะอาดทั้งภายในและภายนอก พนักงานประจํา
รถตองแตงกายสะอาดและถูกระเบียบที่กําหนด อูจอดรถและสถานที่ทํางาน
ตองสะอาดมีสภาพแวดลอมที่ดี
2. มารยาทดี - พนัก งานประจํารถต อ งแสดงกิริย ามารยาทที่ สุภ าพ ออ นนอ ม ยิ้ม แย ม
แจมใส กลาววาจาที่สุภาพในการบริการ
3. สะดวก - พนักงานประจํารถตองประชาสัมพันธปายหยุดรับ-สงผูโดยสาร
- องคการฯ ตองจัดรถใหเหมาะสมกับผูใชบริการในแตละเสนทาง ทั้งใน
เวลาเรงดวน และนอกเวลาเรงดวน เพื่อไมใหผูใชรอนาน หรือรถขาดระยะ
(เวนแตสภาพการจราจรเสนนั้น ๆ จะติดขัด หรือเปนผลจากสภาพอากาศที่
ไมเอื้อ อํานวย ซึ่งไมสามารถควบคุมได)
4. ปลอดภัย - พนักงานขับรถ ตองปฏิบัติตามกฎจราจร จอดรับ-สงผูโดยสารที่ปาย และ
ปดประตูทุกครั้งเมื่อนํารถออกจากปาย
- พนักงานเก็บคาโดยสาร ตองดูแลผูโดยสารขึ้น-ลงใหเรียบรอย
5. ประหยัด - พนักงานประจํารถตองมีจิตสํานึกในการใชทรัพยากร ใหเกิดประสิทธิภาพ

จากขอกําหนดดังกลาว หากรถโดยสารสายใดที่ผานการรับรองแลวมีมาตรฐานการใหบริการต่ําลง มีการรองเรียน


จากผูโดยสาร หรือมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นในกรณีที่พนักงานขับรถเปนฝายผิดรถโดยสารสายนั้น จะตองถูกออกจากการ
รับรอง โดยสวนหนึ่งเกิดจากความรวมมือของผูโดยสารในการตรวจสอบคุณภาพการใหบริการ

3.3.3 นําระบบขอมูลสารสนเทศมาประยุกตใช

ในระยะยาวจะตองมีการนําระบบขอมูลสารสนเทศมาประยุกตใชอยางกวางขวาง ทั้งในดานการบริหารจัดการ
ภายในองคกร การใหขอมูลขาวสารแกผูใชบริการ การบริหารจัดการเดินรถ และระบบตั๋วโดยสาร เนื่องจากการนํา
ระบบขอมูลสารสนเทศมาใชจะทําใหสามารถลดตนทุนในการดําเนินงานในระยะยาว ทําใหมีการปรับปรุงการ
ใหบริการดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-9 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มาตรการที่ใชอยูในปจจุบันและขอเสนอแนะ
3.3.4 การพัฒนาและฝกอบรมบุคลากร

จะตองมีการสราง พัฒนา และฝกอบรมบุคลากรอยางจริงจัง โดยเฉพาะในดานการบริการลูกคา ลูกคาสัมพันธ


ระบบขอมูลสารสนเทศ และการใชคอมพิวเตอร เพราะการประกอบการตามแนวคิดใหมจะตองมีการปรับปรุงและ
พัฒนา เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใชบริการไดตลอดเวลา กระบวนการและเวลาในการ
ตอบสนองจึงเปนสิ่งสําคัญ ที่ผานมา ขสมก. และผูประกอบการอื่นๆ อาจจะคุนเคยและมีการมุงเนนทางดานอุปทาน
(ดานการเดินรถ) มากกวาดานอุปสงค (ความตองการของผูใชบริการ) ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองมีการสรางและ
พัฒนาวัฒนธรรมและแนวคิดในการทํางานเสียใหม โดยการโยกยายสับเปลี่ยนและฝกอบรมบุคลากรที่มีอยูใหเกิด
ประโยชนสูงสุด

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 3-10 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


บทที่ 4

รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

บทที่ 4
รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการ
ใหบริการเชิงคุณภาพ
4.1 ความเปนมา

จากหลักการที่เสนอแนะในรายงานฉบับสมบูรณ (Final Report) บทที่ 14 สัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ


(Performance-based Contract) บทที่ 15 การประมูลแขงขันแบบเปดเผย (Competitive Tendering) และที่ศึกษา
ทบทวนในรายงานฉบับนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาทบทวนขอมูลพื้นฐานของเขตการเดินรถที่ 4 และอูคลองเตย
เพื่อนํามาเปนขอมูลนําเขาใน “รางเอกสารเชิญชวน” และ “รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ” เพื่อเปน “ตุกตา”
หรือตัวอยางสําหรับผูที่จะตองรับผิดชอบในการนําสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพไปสูการปฏิบัติ ตอไป

กอนที่จะนําเสนอหลักการและเงื่อนไขสําคัญใน “ราง” ทั้งสองดังกลาว ที่ปรึกษาตองการมุงเนนถึงประเด็นสําคัญที่


ควรคํานึงถึงกอนนําไปดําเนินการ กลาวคือ แทจริงแลว “ราง” ดังกลาวจัดทําไวในกรณีที่มีการนําสัญญาการ
ใหบริการเชิงคุณภาพไปเปดประมูลแขงขันอยางเต็มรูปแบบ อยางไรก็ตาม เนื่องจากในระยะเวลาอันใกลนี้ ยังมิได
เปดใหมีการประมูลแขงขัน เนื่องจากเงื่อนไขและองคประกอบหลายๆ อยางยังไมมีความพรอม ดังนั้น ในชวง
ระยะเวลาปรับเปลี่ยนจึงเปนการจับผูประกอบการรายเดิมที่ใหบริการอยู มาเซ็นสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพกับ
รัฐ (โดย “สํานักรถโดยสารประจําทาง (Bus Transit Agency)” ที่จะจัดตั้งขึ้นมาใหม) โดยการปรับลดบางเงื่อนไขใน
สัญญาที่ “ราง” นี้ออก

การเรียกผูประกอบการมาลงนามสัญญา จะตองมีการเจรจาตอรองเกี่ยวกับเงื่อนไขดาน “คาใชจายในการวาจางเดิน


รถตอคัน-กิโลเมตร” และ “จํานวนคัน-กิโลเมตร” ที่จะวาจางใหเดินรถ พรอมทั้งเงื่อนไขเฉพาะตัวอื่นๆ (หากมี) กับ
ผูประกอบการรายนั้น

เพื่อใหเหมาะสมกับชวงระยะเวลาการปรับเปลี่ยน ที่ปรึกษาจึงไดกําหนดเงื่อนไขใน “รางเอกสารเชิญชวน” และ


“รางสัญญาวาจางใหบริการรถโดยสารประจําทางเชิงคุณภาพ” โดยประยุกตใชขอมูลจากเขตการเดินที่ 4 กองเดิน
รถที่ 1 (อูคลองเตย) เปนกรณีตัวอยาง ดังรายละเอียดตอไปนี้

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

4.2 หลักการและเงื่อนไขในสัญญา

4.2.1 สิ่งที่จะวาจาง (What to tender?)

การคัดเลือกผูประกอบการมาใหบริการรถโดยสารประจําทางเชิงคุณภาพ จะมีการดําเนินการเปนรายอู เนื่องจาก


การดําเนินการดังกลาว จะทําใหผูวาจาง (สํานักรถโดยสารประจําทาง) มีอิสระในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ยกเลิก
หรือเพิ่มเสนทางเดินรถได โดยการประมูลจะกําหนดเปน “จํานวนคัน-กิโลเมตรตอป” ที่จะวาจางตออูจอดรถหนึ่งๆ
เทานั้น

ในเบื้องตน เสนทาง และขอกําหนดเสนทางตางๆ ยังคงเปนไปตามที่ผูประกอบการดําเนินการอยู แตหลังจากนั้น


ผูวาจาง (สํานักรถโดยสารประจําทาง) จะสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ยกเลิก หรือเพิ่มเติมได โดยมีเงื่อนไขวา
“จํานวนคัน-กิโลเมตรตอป” ที่วาจางทั้งหมด จะตองไมนอยไปกวาเดิม

4.2.2 สิ่งที่จัดไวให

เนื่องจากในระยะปรับเปลี่ยน เราตองการใหผูประกอบการเตรียมตัวเพื่อใหมีความพรอมในการนําสัญญาการ
ใหบ ริ ก ารเชิง คุ ณ ภาพอย า งเต็ม รูป แบบมาใช โดยผา นกระบวนการประมู ล แข ง ขั น แบบเป ด เผย ซึ่ง ระยะเวลา
ปรับเปลี่ยนดังกลาว อาจจะมีระยะเวลา 2-3 ป ดังนั้น จึงไมสมควรที่จะตองระบุใหผูประกอบการตองมีการลงทุนหรือ
พัฒนาสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก หรือจัดหายานพาหนะ เพิ่มเติม เพราะหากผูประกอบการตองมีการ
ลงทุน ในขณะที่ระยะเวลาของสัญญาก็สั้น จะทําให “คาใชจายในการเดินรถตอคัน-กิโลเมตร” สูงขึ้นอยางหลีกเลี่ยง
มิได

ในชวงระยะปรับเปลี่ยนนี้ ที่ปรึกษาเสนอใหรัฐโดยสํานักรถโดยสารประจําทาง มีหนาที่จัดหาอูจอดรถ สิ่งอํานวย


ความสะดวก ยานพาหนะ และโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ ใหแกผูประกอบการไปกอน โดยผูประกอบการมีหนาที่ตอง
จายคาเชาใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ และคาใชจายที่เกี่ยวของตางๆ หรือกลาวงายๆ รัฐ
โดยสํานักรถโดยสารประจําทาง ใหเอกชนเชาอูจอดรถ สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะ เพื่อใชในการ
ประกอบการ

ในระยะตอไป จะตองมีการกําหนดเงื่อนไขใหผูประกอบการสามารถยื่นขอเสนอในการพัฒนาสาธารณูปโภคและสิ่ง
อํานวยความสะดวก เชน อูจอดรถ ได สวนยานพาหนะที่ใชในการใหบริการ จะมีการยกเลิกรถโดยสารธรรมดา
ออกไป สวนรถโดยสารปรับอากาศก็จะตองมีมาตรฐานการปลดปลอยมลพิษ อยางนอยเทียบเทามาตรฐานยุโรป
ระดับที่ 2 (Euro II) หรือที่จะประกาศใชโดยหนวยงานที่รับผิดชอบในอนาคต ดังนั้น ในระยะยาวเราควรกําหนดให
ผูประกอบการจัดหายานพาหนะมาใชในการประกอบการเอง แตสาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก
เชน อูจอดรถ ชองทางรถโดยสารประจําทาง รัฐควรเปนผูจัดหาหรือสนับสนุน โดยผูประกอบการสามารถยื่น

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ขอเสนอในการปรับปรุงหรือพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จัดหาไวใหเพิ่มเติม เชน การ
นําระบบขอมูลสารสนเทศมาใชในการบริหารการเดินรถ หรือการใหขอมูลขาวสารแกผูใชบริการ เปนตน

4.2.3 การบังคับใชสัญญาและการใหสิ่งจูงใจ

ในการประกอบการแบบเดิม ผูประกอบการถูกควบคุมผานกลไกการตรวจสอบจากกรมการขนสงทางบก (สวนตรวจ


การ) โดยผูประกอบการตองใหบริการตามเงื่อนไขขอกําหนดเสนทางที่ระบุไวในใบอนุญาตประกอบการ ผลเสียของ
การประกอบการแบบเดิมนี้ คือ การไมสามารถตอบสนองตอการเปลี่ ยนแปลงได อยางทันเวลา เพราะตองใช
กระบวนการในการพิจารณาคอนขางนาน

การประกอบการตามแนวคิดใหม เงื่อนไขในขอกําหนดเสนทางดังกลาวจะมีการระบุไวในเอกสารแนบทายสัญญา
แทน ทําใหสามารถที่จะปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแกไขไดในภายหลัง (ตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาหลัก)
พรอมทั้งยังมีการกําหนดเงื่อนไขอื่นๆ เชน มาตรฐานในการใหบริการ การติดตามตรวจสอบ และหลักเกณฑในการ
ประเมินผล เปนตน

เพื่ อ ให การบั ง คั บ ใชสั ญ ญาเป น ไปอย า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ จึง จํา เปน ต อ งมีเ งื่ อ นไขบทปรั บ และการใหสิ่ ง จู ง ใจแก
ผู ป ระกอบการ โดยบทปรั บ และการให สิ่ ง จู ง ใจดั ง กล า ว จะต อ งมี ห ลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารที่ แ น ชั ด และมี ผ ลให
ผูประกอบการปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการที่ดียิ่งๆ ขึ้น ตอไป

4.2.4 หลักเกณฑในการคัดเลือก

ในระยะยาวเมื่อมีการนําสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพเขามาใชอยางเต็มรูปแบบแลว เมื่อผูแขงขันผานขอกําหนด
คุณสมบัติเบื้องตน และขอกําหนดคุณสมบัติเฉพาะแลว หลักเกณฑในการคัดเลือกจะพิจารณาจากขอเสนอดาน
การเงิน หรือ “คาใชจายในการเดินรถตอคัน-กิโลเมตร” เพียงอยางเดียว โดยผูแขงขันที่เสนอ “คาใชจายในการเดินรถ
ตอคัน-กิโลเมตร” ต่ําสุด จะเปนผูชนะการประมูล (โดยมีเงื่อนไขวาอัตราดังกลาวจะตองไมมากกวาอัตราขั้นสูงที่
กําหนดไว)

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
4.2.5 เงื่อนไขทีส่ ําคัญอื่นๆ

เงื่อนไขที่สําคัญอื่นๆ ซึ่งที่ปรึกษาไดพิจารณาระบุไวใน “ราง” ทั้งสองดังกลาวแลว โดยหลักๆ ประกอบดวย

ƒ หลักประกันสัญญา
ƒ การประกันภัย
ƒ การรับผิดชอบตอลูกจาง แรงงงาน และบุคลากรของผูรับจาง
ƒ การยกเลิกสัญญา
ƒ การสงวนสิทธิ

4.3 การประยุกตใช

ที่ปรึกษาไดราง “เอกสารเชิญชวน” และ “สัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ” สําหรับการประมูลหรือเจรจา เพื่อ


คัดเลือกหาผูใหบริการรถโดยสารประจําทางเชิงคุณภาพ (อูคลองเตย) ดังรายละเอียดในภาคผนวก ค และ
ภาคผนวก ง ตามลําดับ โดยขอมูลนําเขาที่สําคัญในการพิจารณา ประกอบดวย

4.3.1 ตนทุนในการเดินรถ

ตนทุนในการเดินรถ ในรูปจํานวนเงินตอคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ จําแนกตามประเภทของรถโดยสาร เปนสิ่งสําคัญ


มาก เนื่องจาก “ผูวาจาง” หรือ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” จะตองทราบตนทุนคราวๆ ในการเดินรถ เพื่อใชเปน
ฐานในการเจรจากับผูประกอบการเดิมในชวงปรับเปลี่ยน หรือใชในการกําหนดอัตราเพดานขั้นสูง ในกรณีที่มีการ
ประมูลแขงขันอยางเต็มรูปแบบในอนาคต

ในรายงานฉบั บ นี้ ที่ ป รึ ก ษาได ศึ ก ษาทบทวนต น ทุ น ในการเดิ น รถสํ า หรั บ หลายๆ ภาพการพั ฒ นา (Scenarios)
ประกอบดวย “ตนทุนจากโครงสรางปจจุบัน” และ “ตนทุนกรณีที่มีการปรับโครงสรางแลว” ดังรายละเอียดใน
ภาคผนวก ข

4.3.2 จํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่วาจาง

จํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการตอป ที่จะวาจางใหเดินรถ สําหรับอูคลองเตย เทากับ xx,xxx,xxx (xxxxxxx) คัน-


กิโลเมตรตอป

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
4.3.3 จํานวนผูใชบริการ

สําหรับจํานวนผูใชบริการรถโดยสารประจําทางที่ใหบริการจากอูคลองเตยตอป มีจํานวนดังในตารางที่ 2-7

4.3.4 มาตรฐานการใหบริการ

ในเบื้องตน เสนทางที่ใหบริการจะประกอบดวย 6 เสนทาง ตามขอกําหนดเสนทางเดิม ดังนี้

ƒ สาย 4 ทาเรือคลองเตย – ทาน้ําภาษีเจริญ ระยะทาง 16 กิโลเมตร


ƒ สาย 13 หวยขวาง – คลองเตย ระยะทาง 14 กิโลเมตร
ƒ สาย 47 กรมศุลกากร – กรมที่ดิน ระยะทาง 15.5 กิโลเมตร
ƒ สาย 72 ทาเรือคลองเตย – เทเวศร ระยะทาง 18 กิโลเมตร
ƒ สาย 136 อูคลองเตย – หมอชิตใหม ระยะทาง 21.5 กิโลเมตร
ƒ สาย 205 กรมศุลกากร – ถนนรัชดาภิเษก (ตอนลาง) ระยะทาง 16.5 กิโลเมตร

โดย “สํานักรถโดยสารประจําทาง” สงวนสิทธิ์ที่จะจัดสรรจํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการตามเสนทางดังกลาวใน


อนาคตตามความเหมาะสมและจํา เปน เพื่อ ใหสอดคลอ งและตอบสนองตอ ความต อ งการในการเดิน ทางและ
สถานการณที่อาจเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต เชน อาจจะมีการตัดหรือปรับเสนทาง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการ
ใหบริการ การยกเลิกหรือการเพิ่มเสนทางใหม เปนตน โดยมีเงื่อนไขวาจํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่วาจางทั้งหมด
จะตองไมนอยไปกวาที่ระบุไว และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกลาวตองไมมีผลในการทําใหผูไดรับการคัดเลือก
จะตองลงทุนเพิ่มเติม เชน การจัดหา/ บรรจุรถโดยสารเพิ่ม หรือตองลงทุนในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ
เพิ่มเติม

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวนและสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

4.4 ขอสังเกต

เอกสารเชิญชวนและสั ญญาการใหบริการเชิง คุณภาพ ซึ่งที่ปรึกษารางขึ้นใหมนี้ เปนการปรับปรุงจากเอกสาร


ประกอบการประมูล (Tender Document) ทาเรือพาณิชยแหลมฉบัง (จัดทําโดยที่ปรึกษาตางประเทศ) ของการ
ทาเรือแหงประเทศไทย และโครงการสถานีขนสงสินคาชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ของกรมการขนสง
ทางบก ซึ่งไดผานการพิจารณาจากสํานักงานอัยการสูงสุดแลว

อยางไรก็ตาม เนื่องจาก “ราง” ซึ่งที่ปรึกษาจัดทําขึ้น เปน “ราง” สําหรับกรณีที่มีการประมูลแขงขันอยางเต็มรูปแบบ


ดังนั้น การประยุกตใชในชวงระยะเวลาปรับเปลี่ยน จะตองมีการตัด/ปรับเงื่อนไขหรือขอความบางขอออกไปตาม
ความเหมาะสม รวมทั้งควรจะมีการพิจารณาจัดตั้งคณะกรรมการรวม ซึ่งประกอบดวยผูแทนจากหลายฝาย (เชน
ขสมก. เขตการเดินรถต างๆ สหภาพแรงงาน อัยการสูงสุด สํานั กงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร
กรมการขนสงทางบก กรุงเทพมหานคร และที่ปรึกษาอิสระ) เพื่อมาทําหนาที่ปรับ “ราง” เอกสารขางตนใหเหมาะสม
และสอดคลองกับสภาพแวดลอม และสิ่งที่เราตองการจะใหเกิดขึ้นในอนาคต ในรายละเอียดตอไป

แพลนโปร/ อัลเมค/ เทสโก 4-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


ภาคผนวก ก

ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ก
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป

ภาคผนวก ก
ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป

ก. 1 ความเปนมา

ISO 9000 มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ เปนมาตรฐานระบบการบริหารงานขององคกร ซึ่งมุงเนน


ดานคุณภาพที่ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกใหการยอมรับและนําไปใชอยางแพรหลาย กําหนดขึ้นโดยองคการระหวาง
ประเทศวาดวยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) ซึ่งมีคณะกรรมการวิชาการ
คณะที่ 176 (ISO/TC 176: Quality Management and Quality Assurance) เปนผูจัดทํา มาตรฐานดังกลาว
ประกาศใชครั้งแรกเมื่อป 1987 และมีการแกไขมาตรฐานอีก 2 ครั้ง ในป 1997 และป 2000 ตามลําดับ

ประเทศไทยโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ไดนํามาตรฐานดังกลาวมาประกาศใชเปนครั้ง


แรกในป พ.ศ. 2534 ในชื่อ "อนุกรมมาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ มอก. ISO 9000" โดยมีเนื้อหา
เหมือนกันทุกประการกับอนุกรมมาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพของ ISO

นับตั้งแตมีการประกาศกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 เปนตนมา องคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดนํา


มาตรฐานดังกลาวไปใชอยางกวางขวางในการจัดระบบใหสอดคลองกับขอกําหนด เพื่อใหไดรับการรับรองระบบการ
บริหารงานคุณภาพขององคกร อันจะเปนสิ่งที่แสดงใหลูกคาเห็นวาองคกรมีระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ
สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางสม่ําเสมอ เพื่อสรางความมั่นใจใหแกลูกคา

โดยที่หลักการในการกําหนดมาตรฐานของ ISO จะตองมีการทบทวนมาตรฐานอยางนอยทุก 5 ป เพื่อพิจารณา


ปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้น สอดคลองกับกระบวนการของระบบการบริหารงานขององคกร ซึ่งมุงเนนการสรางความ
พึงพอใจใหแกลูกคา และใหมีการปรับปรุงสมรรถนะขององคกรอยางตอเนื่อง ตลอดจนเพื่อใหสามารถนําไปปรับใช
รว มกั บ ระบบการบริห ารงานอื่ น ได โดยอนุก รมมาตรฐานระบบการบริ ห ารงานคุณ ภาพ ISO 9000: 2000
ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 3 ฉบับ ไดแก

ก. ISO 9000: ระบบการบริหารงานคุณภาพ - หลักการพื้นฐานและคําศัพท


ข. ISO 9001: ระบบการบริหารงานคุณภาพ – ขอกําหนด
ค. ISO 9004: ระบบการบริหารงานคุณภาพ – แนวทางการปรับปรุงสมรรถนะขององคกร

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ก-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ก
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป
ก. 2 สาระสําคัญของมาตรฐาน ISO 9000: 2000

มาตรฐาน ISO 9000: 2000 มีหลักการพื้นฐานของการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management Principles:


QMP) ที่สําคัญอยู 8 ประการ ไดแก

ก. 2.1 การใหความสําคัญกับลูกคา องคกรตองพึ่งพาลูกคา ดังนั้น องคกรจึงตองทําความเขาใจกับความ


ตองการของลูกคาทั้งในปจจุบันและอนาคต และตองพยายามดําเนินการใหบรรลุความตองการของ
ลูกคา รวมทั้งพยายามทําใหเหนือความคาดหวังของลูกคา

ก. 2.2 ความเป น ผู นํ า ผู นํ า ขององค ก รควรมี ค วามมุ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาองค ก รอย า งชั ด เจน และควรสร า ง
บรรยากาศของการทํางานที่จะเอื้ออํานวยใหบุคลากรมีสวนรวมในการดําเนินงาน เพื่อใหบรรลุผลตาม
เปาหมายขององคกร

ก. 2.3 การมีสวนรวมของบุคลากร บุคลากรทุกระดับคือหัวใจขององคกร การที่บุคลากรเขามามีสวนรวมใน


องคกร จะทําใหทุกคนไดใชความสามารถใหเกิดประโยชนตอสวนรวมมากที่สุด

ก. 2.4 การบริหารเชิงกระบวนการ การบริหารกิจกรรมและทรัพยากรเชิงกระบวนการ จะทําใหไดผลลัพธ


อยางมีประสิทธิภาพ

ก. 2.5 การบริหารที่เปนระบบ การที่ไดระบุทําความเขาใจ และจัดการกระบวนการตาง ๆ อยางเปนระบบ จะ


ชวยใหองคกรบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ก. 2.6 การปรับปรุงอยางตอเนื่อง การปรับปรุงสมรรถนะโดยรวมขององคกร ควรถือเปนเปาหมายถาวรของ


องคกร

ก. 2.7 การตั ด สิน ใจบนพื้ น ฐานของความเป น จริ ง การตั ดสิ น ใจอย า งมี ป ระสิ ท ธิผ ล มี พื้น ฐานจากการ
วิเคราะหขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของในองคกร

ก. 2.8 ความสัมพันธกับผูขายเพื่อประโยชนรวมกัน องคกรและผูขาย/ผูใหบริการตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ


กัน การที่องคกรมีความสัมพันธกับผูขายเพื่อประโยชนรวมกัน จะชวยเพิ่มความสามารถ ในการสราง
คุณคารวมกันของทั้งสองฝาย

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ก-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ก
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป
ก. 3 สาระสําคัญของมาตรฐาน ISO 9001: 2000

มาตรฐาน ISO 9001: 2000 สําหรับเพื่อใหองคกรไดใชแสดงความสามารถในการทําตามความตองการของลูกคา


และกฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งสามารถนําไปใชปฏิบัติภายในองคกร หรือใชเพื่อการรับรองได เนื้อหาของขอกําหนดได
จัดแบงเปน 5 กลุม เพื่อใหสอดคลองกับการบริหารงานขององคกร ดังนี้

ก. 3.1 ระบบการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management Systems) กลุมขอกําหนดนี้ เปนการให


รายละเอียดทั่วไปในการจัดทําระบบการบริหารงานคุณภาพ ซึ่งจะตองจัดระบบใหเปนลายลักษณอักษร
เพื่ อ นํ า ไปปฏิ บั ติ รั ก ษาไว และมี ก ารปรั บ ปรุ ง อย า งต อ เนื่ อ ง โดยกํ า หนดกระบวนการที่ จํ า เป น
ความสัมพันธของกระบวนการ และกฎเกณฑตาง ๆ ที่จะใชใหเกิดประสิทธิผล ตลอดจนตองมีทรัพยากร
และขอมูลพอเพียงในการที่จะทํางานใหบรรลุวัตถุประสงคได โดยขอกําหนดดานเอกสารที่องคกรจะตอง
จั ด ทํ า ให มี ขึ้ น ได แ ก นโยบายคุ ณ ภาพ และวั ต ถุ ป ระสงค ด า นคุ ณ ภาพ คู มื อ คุ ณ ภาพ ขั้ น ตอนการ
ปฏิบัติงานตามที่ระบุไว เอกสารอื่น ๆ ที่จําเปนสําหรับองคกร และการบันทึกคุณภาพ

ก. 3.2 ความรับผิดชอบดานการบริหาร (Management Responsibility) ผูบริหารระดับสูงมีหนาที่ในการ


จัดการบริหารงานระบบการบริหารงานคุณภาพ โดยการกําหนดกลยุทธการบริหารงานในองคกร ซึ่งผู
บริหารระดับสูงจะตองรูถึงความตองการของลูกคา และทําใหเกิดความพึงพอใจ โดยการกําหนดนโยบาย
คุณภาพ/วัตถุประสงคดานคุณภาพ การจัดระบบการบริหารงานคุณภาพ การกําหนดอํานาจหนาที่ความ
รับผิดชอบ และแตงตั้งตัวแทนฝายบริหาร (Quality Management Representative: QMR) ตลอดจนมี
การสื่อขอมูลภายในองคกร เพื่อใหบุคลากรในองคกร รับรูขอมูลขาวสารในองคกร และมีการทบทวนการ
บริหารงาน เพื่อใชพิจารณาถึงความเหมาะสมของระบบอยางเพียงพอ ทําใหสามารถปรับปรุงระบบของ
องคกรไดตอไป

ก. 3.3 การบริหารดานทรัพยากร (Resource Management) ซึ่งจะรวมถึงทรัพยากรบุคลากรและโครงสราง


พื้นฐานสาธารณูปโภค องคกรตองกําหนดและจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนขึ้นในระบบ โดยการกําหนด
ความสามารถของบุคลากร ทําการฝกอบรม และสรางจิตสํานึกของบุคลากรใหเกิดขึ้น ตลอดจนกําหนด
จัดหา และบํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐาน เชน อาคาร สถานที่ สาธารณูปโภค ฯลฯ และกําหนดดูแล
สภาพแวดลอมในการทํางานใหเหมาะสม เพื่อใหไดผลิตภัณฑ/การบริการตามที่กําหนด

ก. 3.4 การผลิต และ/หรือการบริการ (Product Realization) องคกรจะตองกําหนดกระบวนการผลิต/การ


บริการที่ให โดยคํานึงถึงเปาหมาย/ขอกําหนดานคุณภาพ ที่จะใหแกลูกคา/ผูรับบริการเปนหลัก มีการ
ดําเนินการและควบคุมกระบวนการ เพื่อใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑ/การบริการที่เปนไปตามความตองการของ
ลูกคา/ผูรับบริการอยางสม่ําเสมอ

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ก-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ก
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป
ก. 3.5 การวัด วิเคราะห และการปรับปรุง (Measurement, Analysis and Improvement) เปนการเฝา
ติดตาม ตรวจวัดกระบวนการ และผลิตภัณฑ/การบริการ วาสามารถดําเนินการไดตามความตองการของ
ลูกคา/ผูรับบริการไดหรือไม โดยผานกระบวนการระบบบริหารงานคุณภาพ ดวยการตรวจประเมิน
ภายใน และมีการวิเคราะหขอมูล เพื่อแสดงถึงความเหมาะสมและประสิทธิผลของระบบ มีการปรับปรุง
อยางตอเนื่องและการปองกันแกไข เพื่อใหไดผลิตภัณฑ/การบริการตามที่ตองการ

ก. 4 สาระสําคัญของมาตรฐาน ISO 9004: 2000

มาตรฐาน ISO 9004: 2000 ใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาสมรรถนะขององคกร ซึ่งมิใชขอแนะนําในการ


จัดทําระบบการบริหารงานคุณภาพเชนเดียวกับ ISO 9004: 1994 โดยจะใหขอแนะนําเพิ่มเติมจากขอกําหนดของ
ISO 9001: 2000 เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนเพิ่มศักยภาพในการปรับปรุงองคกร รวมทั้งให
แนวทางในการประเมินตนเอง (Self Assessment)

ก. 5 กุญแจสําคัญสู ISO 9000

หลักการและขอกําหนดของ ISO 9000 เปนสิ่งที่รวบรวมมาจากแนวทางปฏิบัติที่จําเปนตองมีในระบบการบริหารงาน


โดยทั่วไปขององคกร เพื่อใหเกิดความสะดวกในการนําไปประยุกตใช ซึ่งในความเปนจริง องคกรตาง ๆ ไดมีการ
ปฏิบัติแลวเปนสวนใหญ เพียงแตอาจขาดความสม่ําเสมอและความสมบูรณ เนื่องจากไมไดจัดระบบไวเปนลาย
ลักษณอักษร เพื่อใชอางอิงในการบริหารงาน ดังนั้น ในการจัดระบบการบริหารงานคุณภาพตามขอกําหนดของ ISO
9000 จึงไมใชสิ่งที่ยุงยาก แตอาจมีรายละเอียดปลีกยอย และระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการมากนอยแตกตางกัน
ขึ้นอยูกับสถานภาพและศักยภาพของแตละองคกร ซึ่งสิ่งสําคัญที่จะทําใหการจัดทําระบบประสบความสําเร็จ คือ

ƒ ผูบริหารระดับสูงขององคกรตองมีความศรัทธา มุงมั่นใหการสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่อง
ƒ ผูบริหารทุกระดับตองมีความเชื่อในประโยชนของการจัดทําระบบ โดยเห็นวาการจัดทําระบบเปน
สิ่งจําเปน และกอใหเกิดประโยชนตอองคกร
ƒ ทุกคนในองคกรตองมีความตั้งใจจริง และสมานสามัคคี รวมแรงรวมใจในการจัดทําระบบ
ƒ ทุกคนในองคกรไมเห็นวาการจัดทําระบบเปนภาระ และจะตองมุงมั่นดําเนินการจนสําเร็จ

แนวทางที่จะนําไปสูความสําเร็จในการจัดและนําระบบการบริหารงานคุณภาพไปใชใ หเกิดประสิทธิ ภาพ ตอ ง


สามารถตอบสนองวัตถุประสงคขององคกร และผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมด ซึ่งมีขั้นตอนโดยสรุปดังนี้

ก. พิจารณาความตองการและความคาดหวังของลูกคา รวมทั้งผูมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของกับการ
ดําเนินธุรกิจขององคกร
ข. กําหนดนโยบายและวัตถุประสงคดานคุณภาพขององคกร เพื่อแสดงทิศทางและความมุงมั่นดาน
คุณภาพ

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ก-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ก
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ขอกําหนดมาตรฐาน ISO 9000 โดยสังเขป
ค. พิจารณาทบทวนและกําหนดกระบวนการและหนาที่ความรับผิดชอบในการดําเนินการที่จําเปนตองมี
เพื่อใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคดานคุณภาพได โดยจัดทําเปนเอกสารที่เหมาะสม และมีขอมูล
เพียงพอที่จะใหนําไปปฏิบัติได
ง. พิจารณาทบทวนและกําหนดทรัพยากรที่จําเปนตองใชในการดําเนินการตามกระบวนการที่กําหนด
เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดานคุณภาพได
จ. กําหนดวิธีการวัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพของแตละกระบวนการภายในองคกร โดยจัดทําเปน
เอกสารใหมีขอมูลเพียงพอ
ฉ. นําวิธีการที่กําหนดไปวัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการตาง ๆ
ช. กําหนดวิธีการในการปองกันมิใหเกิดขอบกพรอง รวมทั้งวิธีการในการขจัดสาเหตุของขอบกพรอง
ซ. กําหนดใหมีกระบวนการเพื่อการปรับปรุงระบบการบริหารงานคุณภาพขององคกรอยางตอเนื่อง และ
การนํากระบวนการนี้ไปใชจริง

ในการดําเนินการตามแนวทางขางตนใหบรรลุผล องคกรควรวางแผนการดําเนินการ และมอบหมายงานแก


ผูรับผิดชอบในระดับตาง ๆ จากทุกหนวยงานภายในองคกร และฝกอบรมบุคลากรระดับตาง ๆ ใหเขาใจหลักการและ
ขอกําหนดของมาตรฐาน เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชในการจัดทําระบบไดอยางถูกตองเหมาะสมตามระดับ
ความรับผิดชอบของบุคลากรแตละกลุม

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ก-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


ภาคผนวก ข

การคํานวณตนทุนในการเดินรถ
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ภาคผนวก ข
การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

การคํานวณตนทุนการเดินรถในการศึกษาโครงการนํารองนี้ ที่ปรึกษาไดพิจารณาศึกษาตนทุนโดยแบงออกเปน
2 ภาพการพัฒนา (Scenarios) ประกอบดวย “ตนทุนจากโครงสรางปจจุบัน” และ “ตนทุนกรณีที่มีการปรับ
โครงสรางแลว” โดยแตละภาพการพัฒนาจะทําการคํานวณแยกเปนรถโดยสารธรรมดา และรถโดยสารปรับอากาศ
ณ ราคาปปจจุบัน (พ.ศ. 2547) ดังรายละเอียดตอไปนี้

ข. 1 ตนทุนจากโครงสรางปจจุบัน

การคํานวณตนทุนการเดินรถจากโครงสรางปจจุบัน เปนการนําขอมูลพื้นฐานที่ไดจากการทบทวนขอมูลคาใชจายใน
การเดินรถจากเขตการเดินรถที่ 4 กองเดินรถที่ 1 ดังแสดงในตารางที่ ข-1 ซึ่งเปนลักษณะวิธีที่ ขสมก. ใชคิด
คาใชจายอยูในปจจุบัน ดวยการนําขอมูลคาใชจายตางๆ ในการเดินรถตอป หารดวยจํานวนกิโลเมตรบริการตอป
จะทําใหไดตนทุนการเดินรถในรูปหนวย บาทตอคัน-กิโลเมตร

ตารางที่ ข-1 ขอมูลพื้นฐานคาใชจายเดินรถ ประจําป 2547

ธรรมดา ปรับอากาศ รวม


ลําดับ รายการคาใชจายในการเดินรถ
(บาท) (บาท) (บาท)
1 เงินเดือนและคาจาง 105,078,993.33 52,045,625.05 157,124,618.38
2 คาลวงเวลา 5,940,190.20 2,984,333.90 8,924,524.10
3 เงินเปอรเซ็นต (พขร. + พกส.) 8,470,705.76 2,203,829.49 10,674,535.25
4 คาตอบแทนตั๋วลวงหนาและคูปอง 621,788.51 828,895.50 1,450,684.01
5 คาสวัสดิการ 16,833,822.72 5,714,520.95 22,548,343.67
6 คาน้ํามันเชื้อเพลิง, น้ํามันหลอลื่น และกาซ 63,779,835.13 56,783,554.28 120,563,389.41
7 คาเชารถยนตโดยสาร
- คาเชาดําเนินงาน - 46,812,900.00 46,812,900.00
- คาเชาทางการเงิน - 32,520,045.00 32,520,045.00
8 คาเหมาซอมรถยนตโดยสาร 104,450,717.00 68,217,040.00 172,667,757.00
9 คากิโลเมตรเกิน - 78,354.87 78,354.87
10 คาผานทางดวน 2,094,676.26 421.74 2,095,098.00
11 คาภาษีมูลคาเพิ่ม 13,232,743.30 12,532,958.43 25,765,701.73
13 คาใชจายอื่นๆ 4,948,631.48 2,242,070.85 7,190,702.33
รวมคาใชจายในการเดินรถ 325,452,103.69 282,964,550.06 608,416,653.75
ที่มา: เขตการเดินรถที่ 4 (เดือน กันยายน 2546 – มิถุนายน 2547)

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ
ผลการคํานวณตนทุนการเดินรถ ดังแสดงในตารางที่ ข-2 ซึ่งเทากับ 52.81 และ 74.81 บาทตอคัน-กิโลเมตร สําหรับ
รถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศ ตามลําดับ

ตารางที่ ข-2 ตนทุนการเดินรถจากโครงสรางปจจุบัน

รถธรรมดา รถปรับอากาศ
จํานวน คาใชจายในการเดินรถ ตนทุน จํานวน คาใชจายในการเดินรถ ตนทุน
คัน-กิโลเมตร (บาท) (บาท/คัน-กิโลเมตร) คัน-กิโลเมตร (บาท) (บาท/คัน-กิโลเมตร)
6,163,065 325,452,103.69 52.81 3,782,371 282,964,550.06 74.81

ข. 2 ตนทุนกรณีที่มีการปรับโครงสรางแลว

การคํานวณในกรณีนี้ เปนการคํานวณตนทุนการเดินรถในกรณีที่ไดปรับโครงสรางการเดินรถภายใตสัญญาการ
ใหบริการเชิงคุณภาพ โดยมีสมมติฐานวาจะไมมีการลงทุนดานรถโดยสาร และยังใชระบบสาธารณูปโภค อาคาร
สํานักงาน เสนทางเดินรถ จํานวนพนักงาน และอื่น ๆ แบบเดิม เนื่องจากเปนชวงระยะของการปรับเปลี่ยน (2-3 ป)
ซึ่งหากปรับเปลี่ยนอยางเต็มรูปแบบแลว จะมีการยกเลิกการใชรถโดยสารธรรมดา และเปลี่ยนมาใชรถโดยสารปรับ
อากาศที่มีมาตรฐานขั้นต่ําเทียบเทามาตรฐานยุโรประดับที่ 2 (Euro II) ซึ่งการคํานวณตนทุนการเดินรถรูปแบบนี้จะ
อาศัยโปรแกรมแบบจําลอง BOP (Bus Operation Planning Model) ชวยในการคํานวณ โดยไดกําหนด
Parameter บางตัว เพื่อใหสอดคลองกับการเดินรถแบบใหม เชน คํานวณเทียบกับจํานวนรถโดยสารตออูที่ 500 คัน
ในส ว นของค า ใช จ า ยในการดํ า เนิ น การจะคิ ด เฉพาะค า เช า อู จ อดรถ ไม คํ า นวณมู ล ค า อุ ป กรณ ทรั พ ย สิ น และ
สาธารณูปโภค จํานวนรถโดยสารจะใหบริการเต็มอัตราโดยไมมีรถหยุดจอดประจําการ และมีสมมติฐานอายุการใช
งานเฉลี่ยของรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศที่เหลือเทากับ 10 ป และ 4 ป ตามลําดับ

ขอมูลนําเขาตางๆ และผลการคํานวณตนทุนการเดินรถจากการใชโปรแกรมแบบจําลอง BOP (Bus Operation


Planning Model) ดังแสดงในตารางที่ ข-3

ผลการคํานวณตนทุนในการเดินรถจากโปรแกรมแบบจําลอง เทากับ 31.99 และ 34.54 บาทตอคัน-กิโลเมตร สําหรับ


รถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศ ตามลําดับ

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 ตนทุนการเดินรถกรณีที่ปรับโครงสรางแลว

Staffing Schedule for Regular Bus Salary/Wages Forecast for Regular Bus
Data
Total in-service buses (per 500 buses) 355
No: Routes in operation 6
Total Cost p.m.
CLASSIFICATION Rate p.m.
(baht)

Management & Administration No. of


Ratio CLASSIFICATION Baht p.m.
(organizational positions) Staff
Business Manager 1.0 per 500 buses 0.71 Business Manager 80,000 56,762
Deputy Business Manager 1.0 per 500 buses 0.71 Deputy Business Manager 60,000 42,571
Operations Manager 1.0 per 500 buses 0.71 Operations Manager 70,000 49,667
Deputy Operations Manager 1.0 per 500 buses 0.71 Deputy Operations Manager 50,000 35,476
Chief Accountant 1.0 per 500 buses 0.71 Chief Accountant 70,000 49,667
Head of Administration/ Security 1.0 per 500 buses 0.71 Head of Administration/ Security 50,000 35,476
Fleet/ Workshop Manager 1.0 per 500 buses 0.71 Fleet/ Workshop Manager 50,000 35,476
Accountant /Clerk 2.0 per 500 buses 1.42 Accountant /Clerk 30,000 42,571
Secretary / receptionist 3.0 per 500 buses 2.13 Secretary / receptionist 12,000 25,543
Total indirect staff 8.51 Total Managementand Admin. cost (p.m) 373,210
Ratio (per bus) 0.02

Operational Positions Staff per shift

Operations Supervisor 3.0 4.2 per 500 buses 0.89 Operations Supervisor 40,000 35,760
Cashier 10.0 14.0 per 500 buses 2.98 Cashier 8,000 23,840
Security Staff 6.0 8.4 per 500 buses 1.79 Security Staff 10,000 17,880
Car Drivers 2.0 2.8 per 500 buses 0.60 Car Drivers 8,000 4,768
On road supervisor 5.0 7.0 per 500 buses 1.49 On road supervisor 14,000 20,860
Controllers 5.0 7.0 per 500 buses 1.49 Controllers 14,000 20,860
Bus Driver No. buses x 2.08 310 Bus Driver 10,000 3,099,200
Conductors No. buses x 2.08 310 Conductors 8,000 2,479,360
Cleaners 14.4 per 500 buses 4 Cleaners 6,000 25,747
Fueller 3.9 per 500 buses 2 Fueller 6,000 11,622
Total direct staff 635 Total direct staff costs (p.m.) 5,739,897
Ratio (per bus) 1.79
Total staff No. 644 Total Staffing Cost p.m. 6,113,107
Staff per bus 1.81 Note: per/bus ratios are for buses 'in service'

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 (ตอ) ตนทุนการเดินรถกรณีทปี่ รับโครงสรางแลว

Staffing Schedule for Air Conditioned Bus Salary/Wages Forecast for Air Conditioned Bus
Data
Total in-service buses (per 500 buses) 145
No: Routes in operation 4
Total Cost p.m.
CLASSIFICATION Rate p.m.
(baht)

Management & Administration No. of


Ratio CLASSIFICATION Baht p.m.
(organizational positions) Staff
Business Manager 1.0 per 500 buses 0.29 Business Manager 80,000 23,238
Deputy Business Manager 1.0 per 500 buses 0.29 Deputy Business Manager 60,000 17,429
Operations Manager 1.0 per 500 buses 0.29 Operations Manager 70,000 20,333
Deputy Operations Manager 1.0 per 500 buses 0.29 Deputy Operations Manager 50,000 14,524
Chief Accountant 1.0 per 500 buses 0.29 Chief Accountant 70,000 20,333
Head of Administration/ Security 1.0 per 500 buses 0.29 Head of Administration/ Security 50,000 14,524
Fleet/ Workshop Manager 1.0 per 500 buses 0.29 Fleet/ Workshop Manager 50,000 14,524
Accountant /Clerk 2.0 per 500 buses 0.58 Accountant /Clerk 30,000 17,429
Secretary / receptionist 3.0 per 500 buses 0.87 Secretary / receptionist 12,000 10,457
Total indirect staff 3.49 Total Managementand Admin. cost (p.m) 152,790
Ratio (per bus) 0.02

Operational Positions Staff per shift

Operations Supervisor 3.0 4.2 per 500 buses 0.37 Operations Supervisor 40,000 14,640
Cashier 10.0 14.0 per 500 buses 1.22 Cashier 8,000 9,760
Security Staff 6.0 8.4 per 500 buses 0.73 Security Staff 10,000 7,320
Car Drivers 2.0 2.8 per 500 buses 0.24 Car Drivers 8,000 1,952
On road supervisor 5.0 7.0 per 500 buses 0.61 On road supervisor 14,000 8,540
Controllers 5.0 7.0 per 500 buses 0.61 Controllers 14,000 8,540
Bus Driver No. buses x 2.08 127 Bus Driver 10,000 1,268,800
Conductors No. buses x 2.08 127 Conductors 8,000 1,015,040
Cleaners 14.4 per 500 buses 2 Cleaners 6,000 10,541
Fueller 3.9 per 500 buses 1 Fueller 6,000 4,758
Total direct staff 260 Total direct staff costs (p.m.) 2,349,891
Ratio (per bus) 1.79
Total staff No. 264 Total Staffing Cost p.m. 2,502,681
Staff per bus 1.81 Note: per/bus ratios are for buses 'in service'

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 (ตอ) ตนทุนการเดินรถกรณีทปี่ รับโครงสรางแลว

Data:
Full bus system Source
Regular Bus Air Conditioned Bus
Total km p.a. 6,163,065 3,782,371 Table 2B
Average trip distance 1 0
Spare bus ratio 0.00% 0.00%
Total Fleet 149 61
In service fleet 149 61 Table 2A
Profit and Loss Forecast Annual Annual
Revenue
Passengers Fares (all routes) 207,318,434 253,628,141 Table 2A
Advertising 0 0 Data (B)
Total Revenue 207,318,434 253,628,141
Costs
Direct Costs
Direct Wages 51,659,075 21,149,017 Table 3
Add-on Wages Cost 15,497,722 6,344,705 30% of wages
On- going Training 1,033,181 422,980 2% of wages
Fuel Cost 36,125,003 29,984,315 Km X consumption X price
Tyre Costs 9,244,598 5,673,557 Data (F)
Bus Servicing 20,338,115 12,481,824 Data (F)
Total Direct Costs 133,897,693 76,056,398
Indirect Cost
Operations
Bus Registration 454,450 186,050 Data (F)
Vehicle Insurance 2,586,640 4,719,936 Data (H)
Accident Costs 178,800 73,200 Data ( I )
Depot Rent 639,278 261,718 Data (E)
Data & Ticketing costs 745,000 305,000 Data (F)
Expressway fee 2,094,676 422 Data ( I )
Management
Building & Contents Ins. 5,364 2,196 Data (H)
Mngmt & Admin. Salaries 3,358,886 1,375,114 Table 3
Add-on Salary Cost 1,007,666 412,534 wages X30%
Communications and Office Costs 1,679,443 687,557 Data( I )
Ancilliary Vehicles 139,464 57,096 Data( I )
System management Fee 6,219,553 7,608,844 Data( K )
Other indirect expense (contingencies) 4,948,631 2,242,071 Data( I )
Total Indirect Costs 24,057,851 17,931,738
Total Operational Costs 157,955,545 93,988,137
Operational Profit/Loss (P.B.I.T.) 49,362,889 159,640,004
Finance Costs
Bus hire purchase payments 39,198,771 36,636,417 Data (G)
Assets Depreciation 0 0 Data (E)
Total Finance Costs 39,198,771 36,636,417
Profit & Loss / Baht 10,164,118 123,003,587
Profit & Loss / USD 260,618 3,153,938

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 (ตอ) ตนทุนการเดินรถกรณีทปี่ รับโครงสรางแลว

Commercial Bus Operational Forecast


Basic Data & Assumptions
Regular Bus Air Conditioned Bus
(A) Key input variables
Passengers per km 4.8 2.2
Average Fare 4 10 Baht
Bus speed 15 15 Km/hr
(B) Other Revenue
Advertising on Buses 0 0 (baht. p.a. p/bus)
(C) Staffing Costs
Direct staffing cost for 2 shift operation per bus 2.08 2.08 (cover 7 days/week operation)
Wage add-on costs 30% 30% (Employee benefits, leave provision)
Training & Recruitment 2% 2% ( % of direct wages)
(D) Fleet Data
Total bus fleet 149 61
No. of buses (in-service) 149 61
Capital cost per bus 700,000 3,120,000 (Baht)
(E) Depot Costs
Lease of Depot 4,290 4,290 (Baht per bus p.a)
Renovation and establishment costs 0 0 (baht)
Cost of Tools and Equipment (Rs.) 0 0 (baht)
Depreciation Depot Renovations (Rs. p.m.) 0 0 (at 20%)
Depreciation Tools & (Rs. p.m.) 0 0 (at 20%)
Total Monthly Depreciation 0 0 (baht)
(F) Vehicle Operating Costs
Fuel Consumption 40.12 54.26 (litres/100k)
Fuel Price 14.61 14.61 (Baht./litre)
Tyre Costs 1.50 1.50 (Baht./km)
Bus Servicing 3.30 3.30 (Baht/km)
Bus Registration (per bus p.a.) 3,050 3,050 (per bus p.a.)
Ticketing cost 5,000 5,000 (per bus p.a.)

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 (ตอ) ตนทุนการเดินรถกรณีทปี่ รับโครงสรางแลว

Commercial Bus Operational Forecast


Basic Data & Assumptions
Regular Bus Air Conditioned Bus
(G) Bus Finance Costs (Refer finance calculation)
Value of Bus 700,000 3,120,000 (Baht)
Deposit % 0.00% 0.00%
Deposit amount 0 0 (Baht)
Finance amount 700,000 3,120,000 (Baht)
Interest 4% 4%
Term 3 6 years
Monthly payment (per bus) 29,231 66,733 (Baht)
Total Fleet 149 61 Buses
( H ) Insurances
Total fleet value 104,300,000 190,320,000 (Baht.)
Comprehensive Bus Insurance
/ includes public liability 2.48% 2.48% (% of bus costs)
Building & contents 0.30% 0.30% (%of value)
Est. Value of Building (500 buses) 6,000,000 6,000,000 (Baht.)
Value of buildings (relative to total fleet) 1,788,000 732,000 (Baht.)
( I ) General Expenses
Office Costs & General Expenses 50% 50% of admin salaries (benchmark)
Other indirect expenses 33,212 36,755 (baht per bus p.a.)
Service Vehicle and cars per depot 4 13,000 13,000 (baht p.m.per vehicle)
Total Ancillary vehicle costs per depot 52,000 52,000 (baht p.m.)
Ancillary vehicle cost this scenario 15,496 6,344 (baht p.m.)
Accident Costs (Motor Vehicle's Victims Act) 1,200 1,200 per bus p.a.
Expressway fee 14,058 7 per bus p.a.
(J) Exchange Rate
Exchange Rate USD to Baht 39 39
(K) System management Costs
BRTA /BTA administration % of revenue 3% 3%
(L) Outputs
Profit/Loss 10,164,118 123,003,587 baht
Profit/Loss per bus 68,216 2,016,452 baht
Government Funding req.(p.a.) -10,164,118 -123,003,587 baht

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-7 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ข
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การคํานวณตนทุนในการเดินรถ

ตารางที่ ข-3 (ตอ) ตนทุนการเดินรถกรณีทปี่ รับโครงสรางแลว

Commercial Bus Operational Forecast


Basic Data & Assumptions
(M) Key Performance Indicators
BMTA 2004 (Zone 4 Depot 1) Commercial Bus Forecast
Regular Bus Air Conditioned Bus Regular Bus Air Conditioned Bus
Cost per km 52.81 74.81 31.99 34.54

Financial Comparisons with BMTA (2004)


BMTA 2004 (Zone 4 Depot 1) Commercial Forecast
Regular Bus Air Conditioned Bus Regular Bus Air Conditioned Bus
Average Fare 4 10

Passengers per km 4.8 2.2

No. of buses (in-service) 149 61 No in service buses 149 61

Fare revenue 207,318,434 253,628,141 Fare revenue 207,318,433.99 253,628,141

Other Revenue 416,297 644,680 Other Revenue 0.00 0

(N) Total Revenue 207,734,731 254,272,821 Total Revenue 207,318,433.99 253,628,141

Bus Operation expenses 84,674,350 72,464,801 Bus Operation expenses 120,258,423.33 69,120,900

Maintenance Expenses 104,450,717 68,217,040 Maintenance Expenses 20,338,114.50 12,481,824

Administration expenses 136,327,036 62,949,764 Administration expenses 17,359,006.79 12,385,413

Loan costs & bond interest 0 79,332,945 Bus finance & Dep'n 39,198,771.00 36,636,417

Total Costs 325,452,103 282,964,550 Total Costs 197,154,315.61 130,624,554

Profit/Loss -117,717,372 -28,691,729 Profit/Loss 10,164,118.38 123,003,587

Total Wages 3,301,259,900 3,301,259,900 Total Wages 71,523,348.67 29,281,371

Total km in service 6,163,065 3,782,371 Total km in service 6,163,065.00 3,782,371

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ข-8 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


ภาคผนวก ค

รางเอกสารเชิญชวน
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน

ภาคผนวก ค
รางเอกสารเชิญชวน
(ราง)
“สํานักรถโดยสารประจําทาง (Bus Transit Agency)”
ประกาศเชิญชวนผูสนใจยืน่ ประกวดขอเสนอ เพื่อเปนผูรับจางเดินรถโดยสารประจําทาง
(อูคลองเตย)

“สํานักรถโดยสารประจําทาง” ประกาศเชิญชวนผูสนใจยื่นซองประกวดขอเสนอ เพื่อเปนผูรับจางใหบริการรถโดยสาร


ประจําทาง (อูคลองเตย) โดยมีขอกําหนดและเงื่อนไขตามมติของ “คณะกรรมการคัดเลือกฯ” ดังตอไปนี้

ค. 1 สาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จัดไวให

“สํานักรถโดยสารประจําทาง” ไดจัดสาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการเดินรถไวใหแกผูไดรับการ
คัดเลือก โดยผูไดรับการคัดเลือกจะตองเปนผูจายคาเชาใชใหแก “สํานักรถโดยสารประจําทาง” ตามตารางคาเชาที่
ระบุไวแนบทายสัญญาวาจางเดินรถ (ผนวก 3) รวมทั้งยังตองรับผิดชอบคาใชจายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใช
สาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จัดไวให เชน คาภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีรถยนต ตลอดจนคาภาษี
อากรอื่น ๆ ที่จะตองเสียจากการดําเนินงาน เชน คาสาธารณูปโภค คาบําบัดน้ําเสีย คาประกันภัย และคาใชจาย
อื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตแทน “สํานักรถโดยสารประจําทาง”

สาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จัดไวให ไดแก

ค. 1.1 อูคลองเตย ตั้งอยูเลขที่ 148 ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งหมด 12 ไร 2


งาน 5.52 ตารางวา หรือเทากับ 20,022.08 ตารางเมตร โดยมีสาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความ
สะดวกภายในอู ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

ƒ ลานจอดรถ มีพื้นที่ 11,000 ตารางเมตร มีความสามารถในการเก็บรถได ประมาณ 185 คัน


ƒ โรงซอมบํารุง จํานวน 1 โรง มีพื้นที่ 4,941.57 ตารางเมตร
ƒ ฯลฯ

แผนผังอู และบัญชีทรัพยสินครุภัณฑภายในอู ดังรายละเอียดในเอกสารแนบทายสัญญา (ผนวก 1)

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 1.2 กองรถโดยสาร “สํานักรถโดยสารประจําทาง” ไดจัดรถโดยสารประจําทางไวใหแกผูไดรับการคัดเลือก
เพื่อใชในการประกอบการ โดยสามารถสรุปไดดังนี้

ƒ รถโดยสารธรรมดา จํานวน 149 คัน


ƒ รถโดยสารปรับอากาศยูโรทู จํานวน 61 คัน

หมายเลขแชสซี หมายเลขเครื่องยนต หมายเลขทะเบียนรถ และลักษณะของรถ ดังรายละเอียดใน


เอกสารแนบทายสัญญา (ผนวก 2)

ผูยื่นซองสามารถที่จะยื่นขอเสนอในการปรับปรุงและพัฒนาสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่


จัดไวใหได โดยรวมถึงการจัดหาเครื่องมืออุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ และนวัตกรรมใหมๆ (เชน
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน) เพิ่มเติม

ค. 2 เสนทางและจํานวนคัน-กิโลเมตรที่วาจาง

ในเบื้องตน เสนทางที่ใหบริการจะประกอบดวย 6 เสนทาง ดังนี้

ƒ สาย 4 ทาเรือคลองเตย – ทาน้ําภาษีเจริญ ระยะทาง 16 กิโลเมตร


ƒ สาย 13 หวยขวาง – คลองเตย ระยะทาง 14 กิโลเมตร
ƒ สาย 47 กรมศุลกากร – กรมที่ดิน ระยะทาง 15.5 กิโลเมตร
ƒ สาย 72 ทาเรือคลองเตย – เทเวศร ระยะทาง 18 กิโลเมตร
ƒ สาย 136 อูคลองเตย – หมอชิตใหม ระยะทาง 21.5 กิโลเมตร
ƒ สาย 205 กรมศุลกากร – ถนนรัชดาภิเษก (ตอนลาง) ระยะทาง 16.5 กิโลเมตร

แผนที่เสนทาง ระยะทาง จุดเริ่มตน จุดสิ้นสุด ตารางเดินรถ และอื่นๆ ดังรายละเอียดในเอกสารแนบทายสัญญา


วาจางเดินรถ (ผนวก 4)

จํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการที่วาจางเทากับ “xx,xxx,xxx คัน-กิโลเมตรตอป“ โดยจําแนกเปนของรถโดยสาร


ธรรมดาจํานวน “xx,xxx,xxx คัน-กิโลเมตรตอป“ และของรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู จํานวน “xx,xxx,xxx คัน-
กิโลเมตรตอป“ โดยในปจจุบันเสนทางดังกลาวมีจํานวนผูใชบริการเฉลี่ย xx,000,000 (xx ลาน) คนตอป

ทั้งนี้ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” สงวนสิทธิ์ที่จะจัดสรรจํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการตามเสนทางดังกลาวขางตน


ในอนาคตตามความเหมาะสมและจําเปน เพื่อใหสอดคลองและตอบสนองตอความตองการในการเดินทางและ
สถานการณ ที่ อ าจเปลี่ ย นแปลงไปในอนาคต ตั ว อย า งเช น อาจจะมี ก ารตั ด หรื อ ปรั บ เส น ทาง การปรั บ ปรุ ง
เปลี่ยนแปลงการใหบริการ การยกเลิกหรือการเพิ่มเสนทางใหม เปนตน โดยมีเงื่อนไขวาจํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
วาจางทั้งหมดจะตองไมนอยไปกวาที่ระบุไวในขอนี้ และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกลาวตองไมมีผลในการทําใหผู
ไดรับการคัดเลือกจะตองลงทุนเพิ่มเติม เชน การจัดหา/ บรรจุรถโดยสารเพิ่ม หรือตองลงทุนในการพัฒนาโครงสราง
พื้นฐานอื่นๆ เพิ่มเติม

การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตน “สํานักรถโดยสารประจําทาง” จะแจงใหผูไดรับการคัดเลือกทราบเปนลาย


ลักษณอักษรลวงหนาไมนอยกวา 15 วัน เพื่อใหผูไดรับการคัดเลือกสามารถวางแผนในการใหบริการ และจัดสรร
บุคลากรและทรัพยากรอื่นๆ ไดอยางเหมาะสมและไมเปนการขัดขวางการใหบริการที่ดําเนินการอยู

ค. 3 ขอกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับการยื่นซอง

ค. 3.1 เอกสารประกอบการยื่นซองฯ จะเริ่มเปดจําหนาย ณ “ฝาย xxx กอง yyyy สํานักรถโดยสารประจําทาง


131 ถนนเทียมรวมมิตร เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320” ทุกวันทําการ ระหวางเวลา 09.00 น.
ถึง 14.00 น. ในราคาชุดละ “10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถวน)“ ราคาขายเอกสารประกอบการยื่นซองฯ
ไดรวมภาษีมูลคาเพิ่มแลว

ค. 3.2 คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะพาดูสถานที่ในวันที่ “dd mmm 254y“ และจะจัดใหมีการประชุมชี้แจง


รายละเอียดและตอบขอซักถามตาง ๆ ในวันที่ “(dd+7) mmm 254y“ เวลา 10.00 น. ณ หองประชุม x
สํานักรถโดยสารประจําทาง อาคาร x ชั้น x“ ผูที่ไมไดเขารวมประชุมตามวันและเวลาดังกลาว ไมมีสิทธิ์
ยื่นซองประมูลไมวากรณีใดๆ

ค. 3.3 การยื่นซองฯ จะตองยื่นตอคณะกรรมการรับซอง ซึ่งแตงตั้งโดยคณะกรรมการคัดเลือกฯ ณ “ฝาย xxx


กอง yyy อาคาร 1 ชั้น 1 ในวันที่ (dd+28) mmm 254y ระหวางเวลา 09.00 น. ถึง 11.00 น.“ เมื่อยื่น
ซองเอกสารขอเสนอตอคณะกรรมการรับซองแลว หามมิใหแกไขหรือเพิ่มเติมไมวากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
หลังจากนั้นในเวลา 11.15 น. วันเดียวกัน คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะทําการเปดซองที่ไดรับมาตาม
ขั้นตอนและหลักเกณฑในการพิจารณาคัดเลือกตามขอ ค. 5 ของประกาศนี้

ค. 3.4 ผูย่นื ซองฯ ตามประกาศนี้จะตองวางหลักประกันซองเปนจํานวนเงินเปนมูลคา “(ไมนอยกวารอยละ 5 ของ


รายไดตลอดสัญญา)”1 “หรือมีมูลคาเทากับ xx,000,000 บาท (xxx ลานบาทถวน)“

หลักประกันซองตองวางเปนพันธบัตรรัฐบาลไทย หรือพันธบัตรรัฐวิสาหกิจไทย หรือหนังสือค้ําประกัน


ของธนาคารตามแบบพิมพของทางราชการ ซึ่งออกโดยธนาคารที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการใน
ประเทศไทยและตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร หนังสือค้ําประกันดังกลาวจะตองมีผลผูกพันจนถึงวันที่ผู
ไดรับการคัดเลือ กไดล งนามในสัญ ญาตามขอ ค. 3.5 แลว และคณะกรรมการคั ดเลื อ กฯ จะเก็บ

1
อางอิงตามระเบียบการจัดซื้อจัดจางของสํานักนายกรัฐมนตรี

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
หลักประกันซองของผูยื่นซองฯ ที่คณะกรรมการคัดเลือกฯ เห็นสมควรรับไวพิจารณา สวนรายอื่น ๆ ที่
คณะกรรมการคัดเลือกฯ พิจารณาเห็นวาไมผานเกณฑที่จะไดรับการพิจารณาตอไปจะไดรับหลักประกัน
ซองคืนโดยเร็ว

ค. 3.5 ผู ยื่ น ซองฯ รายใดที่ ไ ด รั บ การพิ จ ารณาจากคณะกรรมการคั ด เลื อ กฯ ให เ ป น ผู ไ ด รั บ การเสนอชื่ อ ต อ
”คณะกรรมการวา จางใหเดินรถตามสัญ ญาการใหบ ริการเชิ งคุณ ภาพ” ซึ่งมี “ผูอํานวยการสํา นักรถ
โดยสารประจําทาง” เปนประธาน และไดผานการเห็นชอบแลวจะตองไปทําสัญญาภายใน 15 วัน นับแต
วันที่ไดรับแจงเปนลายลักษณอักษรจากคณะกรรมการคัดเลือกฯ ณ “กอง yyy สํานักรถโดยสารประจํา
ทาง“ และคณะกรรมการคัดเลือกฯ จะคืนหลักประกันซองตามขอ ค. 3.4 ใหเมื่อมีการลงนามใน
สัญญา และสงมอบหลักประกันสัญญา ตามที่ผูไดรับการคัดเลือกเสนอมาแลว หากผูไดรับการคัดเลือก
ไมไปทําสัญญาภายในกําหนดเวลาดังกลาว คณะกรรมการคัดเลือกฯ มีสิทธิ์ริบหลักประกันซองตามขอ
ค. 3.4 ไดทั้งหมด ในกรณีที่หลักประกันซองเปนหนังสือค้ําประกันของธนาคาร ผูไดรับการคัดเลือก
ยินยอมใหคณะกรรมการคัดเลือกฯ เรียกเอาเงินจากธนาคารไดทันที โดยผูไดรับการคัดเลือกจะยับยั้งหรือ
กระทําการใดเพื่อใหธนาคารผูค้ําประกันไมชําระเงินให “สํานักรถโดยสารประจําทาง“ มิได

ค. 3.6 ผูยื่นซองฯ ตามประกาศนี้จะตองลงนามยอมรับรายละเอียดและเงื่อนไขของการยื่นซองตามแบบพิมพของ


”สํานักรถโดยสารประจําทาง“ ในวันที่ยื่นซอง

ค. 4 ขอกําหนดดานคุณสมบัติ

ค. 4.1 ผูยื่นซองฯ จะตองมีคุณสมบัติดังนี้

ค. 4.1.1 เปนนิติบุคคลประเภทบริษัท จํากัด หรือหางหุนสวน จํากัด หรือหางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ที่ตั้งอยูใน


ประเทศไทย หรือตางประเทศ

ผูยื่นซองฯ ตองไมเปนผูไดรับเอกสิทธิ์หรือความคุมกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไมยอมขึ้นศาลไทย เวนแตรัฐบาล


ของผูยื่นซองฯ จะมีหนังสือแสดงการสละสิทธิ์ความคุมกันเชนวานั้น

ในกรณีผูยื่นซองฯ ประสงคจะดําเนินงานในลักษณะกิจการรวมคา (Joint Venture) จะตองยื่นบันทึก


ขอตกลงรวมคา (Memorandum of Agreement) ซึ่งลงนามรวมกันและแสดงรายละเอียดการแบงสวน
งานและความรับผิดชอบของแตละสวนงานดวย ในกรณีนี้ถือวาผูรวมทุนในกิจการรวมคาตองรวมกัน
รับผิดชอบตอ “สํานักรถโดยสารประจําทาง”

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 4.1.2 มีทุนจดทะเบียนหรือทุนจดทะเบียนรวมในกรณีกิจการรวมคาไมต่ํากวา “3,000,000 บาท (สามลานบาท
ถวน)”2 โดยตองเรียกชําระคาหุนเปนเงินไมต่ํากวามูลคาขางตน ณ วันยื่นซองฯ ไมวาในกรณีใด ๆ

ค. 4.1.3 มีประสบการณในการประกอบกิจการรถโดยสารประจําทางหรือประสบการณที่เกี่ยวของกับกิจกรรม
ดังกลาว ในกรณีที่ไมมีประสบการณโดยตรงหรือเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นใหม ผูยื่นซองฯ จะตองแจง
รายละเอียดวาจะใชประสบการณและความชํานาญในการดําเนินงานจากนิติบุคคลอื่นใด หรือแหลงใด

ค. 4.1.4 นิติบุคคลที่ยื่นซองฯ จะตองเปนนิติบุคคลรายเดียวกันกับที่ซื้อเอกสารประกอบการยื่นซองฯ จาก “สํานัก


รถโดยสารประจําทาง“ ในกรณีที่ผูยื่นซองฯ เปนกิจการรวมคา จะตองมีนิติบุคคลรายหนึ่งรายใดที่มี
รายชื่ออยูในกิจการรวมคาดังกลาว เปนผูซื้อเอกสารประกอบการยื่นซองฯ รวมอยูดวย ทั้งนี้ผูยื่นซองฯ
จะตองแสดงหนังสือมอบอํานาจจากนิติบุคคลหรือกิจการรวมคานั้นในวันยื่นซอง

ค. 4.1.5 ในกรณีที่เปนนิติบุคคลอยูตางประเทศ หรือดําเนินงานในลักษณะกิจการรวมคา หากไดรับความ


เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีใหเปนผูไดรับการวาจาง จะตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย
ดําเนินการตามขอ ค. 4.1.2 และนําหลักฐานดังกลาวมาแสดงตอ “สํานักรถโดยสารประจําทาง“ กอนวัน
ลงนามในสัญญาดังกลาว รวมทั้งตองใหคํารับรองวาจะค้ําประกัน หรือประกันการดําเนินงานของนิติ
บุคคลที่จะตั้งขึ้นใหมดวย

ค. 4.2 หลักฐานที่ตองนํามาแสดง

ค. 4.2.1 เอกสารหลักฐานการจัดตั้งนิติบุคคล โดยมีหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลจากนายทะเบียน


หุนสวนบริษัท กรมทะเบียนการคา กระทรวงพาณิชย ถาเปนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ
จะตองไดรับการรับรองเอกสารหลักฐานการจัดตั้งนิติบุคคลดังกลาว จากสถานเอกอัครราชทูตไทย หรือ
สถานกงสุ ล ไทยประจํ า ประเทศนั้ น ในกรณี ไ ม มี ส ถานเอกอั ค รราชทู ต ไทยหรื อ สถานกงสุ ล ไทย ให
หนวยงานที่รับผิดชอบประจําประเทศนั้น เปนผูออกหนังสือรับรองดังกลาวแทน

ค. 4.2.2 หนังสือมอบอํานาจใหทํานิติกรรม ถาเปนนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ จะตองไดรับการรับรอง


หนังสือมอบอํานาจดังกลาวตามวิธีการของราชการจากสถานเอกอัครราชทูตไทย หรือสถานกงสุลไทย
ประจําประเทศนั้น

2
เปนไปตามขอกําหนด ตามกฎหมายวาดวยการประกอบกิจการของคนตางดาว (Alien Law)

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 5 หลักเกณฑในการพิจารณาคัดเลือก

ค. 5.1 ผูยื่นซองฯ จะตองยื่นเอกสารประกอบการยื่นซองฯ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ค. 5.1.1 ขอเสนอเกี่ยวกับการยื่นซองฯ (Statement of Tender) และหลักประกันซอง (Tender Guarantee)


ค. 5.1.2 การยอมรับเงื่อนไขยื่นซองฯ (Acceptance of Conditions)
ค. 5.1.3 รายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูยื่นซองฯ (Details of Tenderer)
ค. 5.1.4 แผนธุรกิจ (Business Plan) และแผนการดําเนินงาน (Action Plan)
ค. 5.1.5 ขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ (Proposal of Bus Operation
Costs per Vehicle-kilometer) จําแนกตามประเภทของรถโดยสารประจําทาง ประกอบดวย รถโดยสาร
ธรรมดา และรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู

ขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ ผูยื่นซองฯ จะตองเสนอไมสูงกวา


อัตราเพดานคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” กําหนดไว ซึ่ง
เทากับ “x.xx บาทตอคัน-กิโลเมตร” สําหรับรถโดยสารธรรมดา และ “x.xx บาทตอคัน-กิโลเมตร” สําหรับ
รถโดยสารปรับอากาศยูโรทู

ผูยื่นซองฯ สามารถยื่นขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งประเภทของรถโดยสาร ไดเพียงลําดับ


เดียว ผูยื่นซองฯ ที่ใหขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถต่ําสุด (ทั้งสองประเภท) จะเปนผูไดรับการ
วาจางใหเดินรถ และคณะกรรมการคัดเลือกฯ จะถือวาขอเสนอทุกขอที่เสนอมานั้น มีผลผูกพันในการทํา
สัญญาตามขอ ค. 3.5 หากผูยื่นซองฯ ไดรับการคัดเลือกใหเปนผูไดรับการวาจาง

ทั้งนี้ ใหผูยื่นซองฯ ใสเอกสารประกอบการยื่นซองฯ ตามขอ ค. 5.1.1 ขอ ค. 5.1.2 ขอ ค. 5.1.3


ขอ ค. 5.1.4 และขอ ค. 5.1.5 ในซองแยกตางหาก ปดผนึก ลงลายมือชื่อผูมีอํานาจ หรือผูไดรับมอบ
อํานาจใหกระทําการแทน พรอมทั้งประทับตรา (หากมี) ครอมรอยปดผนึกใหเรียบรอย และจาหนาซอง
ตามลําดับ ดังนี้

ซองที่ 1 “ขอเสนอเกี่ยวกับการยื่นซองฯ และหลักประกันซอง (Statement of Tender and Tender


Guarantee)” “การยอมรับเงื่อนไข (Acceptance of Conditions)”

ซองที่ 2 “รายละเอียดดานคุณสมบัติ (Details of Tenderer)” “รายละเอียดดานแผนธุรกิจ และแผนการ


ดําเนินงาน (Details of Business Plan and Action Plan)”

ซองที่ 3 “ขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ (Proposal of Bus


Operation Costs per Vehicle-kilometer)” จําแนกตามประเภทของรถโดยสารประจําทาง

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน

เสร็จแลวใสทั้ง 3 ซองรวมกันในซองใหญซองเดียว ปดผนึก ลงลายมือชื่อผูมีอํานาจ หรือผูไดรับมอบ


อํานาจใหกระทําการแทน พรอมทั้งประทับตรา (หากมี) ครอมรอยปดผนึกใหเรียบรอย และจาหนาซองวา
“ขอเสนอในการเปนผูรับจางเดินรถโดยสารประจําทาง (อูคลองเตย)“ ยื่นใหคณะกรรมการรับซองฯ

ค. 5.2 หลังจากสิ้นสุดเวลาการรับซองฯ แลว คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะทําการเปดซองฯ ที่ไดรับมาทั้งหมดตอ


หนาผูยื่นซองฯ หรือผูแทน ซึ่งอยูในเวลาเปดซอง โดยจะเปดซองที่ 1 กอนวาครบถวนและถูกตองตาม
เงื่อนไขของการประกาศเชิญชวนและบัญชีรายการเอกสารของผูยื่นซองฯ หรือไม หากปรากฏวาเอกสาร
ประกอบการยื่นซองฯ ตามขอ ค. 5.1.1 และ ค. 5.1.2 ของผูยื่นซองฯ รายใดมีไมครบถวนและถูกตอง
ตามเงื่อนไขของประกาศเชิญชวนและบัญชีรายการเอกสารของผูยื่นซองฯ คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะ
ถือวาผูยื่นซองฯ รายนั้นไมผานเกณฑที่จะไดรับการพิจารณาตอไป และคณะกรรมการคัดเลือกฯ จะคืน
ซองที่ 2 และ 3 ใหโดยไมเปด พรอมทั้งหลักประกันซองตามเงื่อนไขที่ระบุไวในขอ ค. 3.4

ค. 5.3 คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะเปดซองที่ 2 ของผูยื่นซองฯ ที่ผานการตรวจสอบตามขอ ค. 5.2 และจะ


พิจารณาใหคะแนนสําหรับเอกสารประกอบการยื่นซองฯ ของซองที่ 2 นี้ รวมทั้งสิ้น 100 คะแนน โดยจะ
พิจารณาแบงการใหคะแนนดังนี้

ƒ โครงสร า งองค ก ร ความน า เชื่ อ ถื อ ประวั ติ ก ารดํ า เนิ น งาน ประสบการณ และ
รายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติบุคลากร 50 คะแนน
ƒ ความเปนไปไดของการดําเนินโครงการตามแผนธุรกิจ และแผนการดําเนินงาน
ตลอดอายุสัญญา 30 คะแนน
ƒ ฐานะทางการเงินและความสามารถดานการเงินในการประกอบการ 20 คะแนน
ƒ รวม 100 คะแนน

หากผูยื่นซองฯ รายใดไดคะแนนรวมกันไมถึง 65 คะแนน คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะคืนซองที่ 3 ใหโดย


ไมเปด พร อ มทั้ง หลัก ประกัน ซองตามเงื่อ นไขที่ร ะบุไ วใ นขอ ค. 3.4 อยางไรก็ต ามคณะกรรมการ
คัดเลือกฯ จะพิจารณาใหคะแนนอยางนอย 65 คะแนน สําหรับผูยื่นซองฯ ที่เปนนิติบุคคลที่ประกอบการ
รถโดยสารประจําทาง หรือทําธุรกิจที่เกี่ยวของกับกิจกรรมรถโดยสารประจําทางอยูในปจจุบัน ซึ่งจะตอง
จัดทําและสงเอกสารประกอบการยื่นซองฯ ตามขอ ค. 5.1.3 และ ค. 5.1.4 อยางครบถวน

ค. 5.4 คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะเปดซองที่ 3 เฉพาะของผูที่ไดคะแนนตามขอ ค. 5.3 ตั้งแต 65 คะแนนขึ้น


ไป เพื่อจะไดนําขอเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตร จําแนกตามประเภทของรถ
โดยสาร ของผูยื่นซองฯ แตละรายไปพิจารณาคัดเลือกเปนผูใหบริการตอไป ทั้งนี้คณะกรรมการคัดเลือก
ฯ จะไมนําคะแนนที่ไดในขอ ค. 5.3 มาเปนปจจัยในการพิจารณาตัดสินอีก

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-7 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 5.5 การคัดเลือกผูรับจางมาใหบริการเดินรถโดยสารประจําทาง มีหลักเกณฑดังนี้

ค. 5.5.1 ผูยื่นซองฯ ที่เสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ จําแนกตามประเภทของ


รถโดยสารประจําทางต่ําสุดพรอมกันทั้งสองประเภท เปนผูไดรับสิทธิ์ในการใหบริการ แตทั้งนี้ขอเสนอ
อัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการดังกลาว จะตองไมมากกวาอัตราขั้นสูงที่
“สํานักรถโดยสารประจําทาง” กําหนดไวในขอ ค. 5.1.5

ค. 5.5.2 ในกรณีที่ไ มสามารถชี้ชัดไดวาผูยื่นซองฯ รายใดเปน ผูเสนออัตราคาใชจายในการเดิน รถต อหนึ่งคัน -


กิโลเมตรที่ใหบริการต่ําสุด เนื่องจากไมมีรายหนึ่งรายใดเสนออัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-
กิโลเมตรที่ใ หบริการต่ํา สุดพรอมกัน ทั้งสองประเภท “สํานักรถโดยสารประจําทาง” จะพิจารณาจาก
จํานวนเงินคาใชจายทั้งหมดในการวาจางใหเดินรถตอปของรายที่ต่ําสุดเปนเกณฑ ซึ่งเทากับ “อัตรา
คาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรของรถโดยสารธรรมดา” คูณดวย “จํานวนคัน-กิโลเมตรตอป
ของรถโดยสารธรรมดา” บวกดวย “อัตราคาใชจายในการเดินรถตอหนึ่งคัน-กิโลเมตรของรถโดยสารปรับ
อากาศยูโรทู” คูณดวย “จํานวนคัน-กิโลเมตรตอปของรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู”

ค. 5.5.3 ในกรณี ที่ ข อ เสนอด า นการเงิ น (จํ า นวนเงิ น ค า ใช จ า ยทั้ ง หมดในการว า จ า งให เ ดิ น รถต อ ป ) เท า กั น
คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะใหผูยื่นซองฯ เหลานี้ เสนอขอเสนอดานการเงินใหมภายใน 7 วัน นับแตวันที่
ไดรับแจงเปนลายลักษณอักษร และจะเปดซองดังกลาวตอหนาผูยื่นซองฯ หรือผูแทน หากปรากฏวา
จํานวนเงินยังเทากันอีก คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะใหเสนอจํานวนเงินใหมอีกครั้งในทันที โดยวิธีใสซอง
ยื่นตอหนาคณะกรรมการคัดเลือกฯ จนกวาจะไดผูชนะ ทั้งนี้ ขอเสนอดานการเงินที่เสนอใหมในแตละครั้ง
จะตองไมสงู กวาครั้งลาสุดที่เสนอมาทุกครั้ง

ค. 5.5.4 หากผูยื่นซองฯ รายใดไมมีอํานาจกระทําการแทน หรือไมไดรวมในการพิจารณา จะถือวาผูยื่นซองฯ ราย


นั้ น สละสิ ท ธิ์ และจะฟ อ งร อ งคณะกรรมการคั ด เลื อ กฯ และ/หรื อ เรี ย กร อ งค า เสี ย หายใด ๆ จาก
คณะกรรมการคัดเลือกฯ มิได

ค. 5.6 หากคณะกรรมการคัดเลือกฯ มีขอสงสัยประการใดเกี่ยวกับรายละเอียดหรือแผนงานของผูยื่นซองฯ


คณะกรรมการคัดเลือกฯ มีสิทธิ์ขอคําชี้แจงเพิ่มเติมไดตามที่เห็นสมควร แตทั้งนี้คําชี้แจงเพิ่มเติมดังกลาว
จะตองไมเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญของขอเสนอที่ไดยื่นไวแลว

ค. 5.7 คณะกรรมการคัดเลือกฯ จะเสนอผลการคัดเลือกตอ ”คณะกรรมการวาจางใหเดินรถตามสัญญาการ


ใหบริการเชิงคุณภาพ” เพื่อนําเสนอ “ผูอํานวยการสํานักรถโดยสารประจําทาง” ใหความเห็นชอบตอไป

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-8 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 6 เงื่อนไขสําคัญในการวาจาง

ค. 6.1 ในการยื่นขอเสนอใหใชภาษาไทย

ผูไดรับการวาจางจะตองใหบริการตามเสนทางและมาตรฐานการใหบริการที่กําหนดไวในสัญญาอยาง
เครงครัด การให บ ริการอื่น ๆ ที่อ ยูน อกเหนือ จากที่กํา หนดไว จะตอ งไดรับ การอนุมัติ จ าก “สํา นั ก รถ
โดยสารประจําทาง“ กอน โดย “สํานักรถโดยสารประจําทาง” จะแจงใหทราบภายใน 15 วัน นับแตวันที่
ไดรับแจงเปนลายลักษณอักษรจากผูรับจาง

ขอเสนอของผูรับจางที่จะปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาการใหบริการดังกลาวขางตน “สํานักรถ


โดยสารประจําทาง” จะพิจารณาใหเฉพาะเปนคราวๆ หรือราย ๆ ไป โดย “สํานักรถโดยสารประจําทาง”
จะไมปฏิเสธขอเสนอของผูรับจางดังกลาวโดยปราศจากเหตุผลอันสมควร หากพิจารณาแลววาการ
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาดังกลาวเปนสิ่งที่ดีและเปนประโยชนตอผูใชบริการ

ค. 6.2 ผูรับ จา งจะต อ งประกอบกิ จ การ โดยจัด ใหมีบ ริการที่เกี่ย วขอ งกับ กิจกรรมที่ต นเองไดรับ อนุญ าตให
ดําเนินการเทานั้น

ค. 6.3 ผูรับจางจะตองปฏิบัติตอลูกจางของตนตามกฎหมายแรงงานอยางเครงครัด โดยเฉพาะประเด็นดาน


ผลตอบแทนแรงงาน สภาพแวดลอมในการทํางาน จํานวนชั่วโมงขั้นสูงในการปฏิบัติงาน สวัสดิการและ
การจายคาชดเชย และการประกันภัยจากอุบัติเหตุในการทํางาน

ค. 6.4 การวาจางใหบริการเดินรถจะมีระยะเวลา “3 ป“ นับตั้งแตวันลงนามในสัญญา โดยจะมีการประเมินผล


ทุกๆ สิ้นปของการดําเนินงาน

ค. 6.5 นอกเหนื อจากการประกั น ภั ย ภาคบัง คั บ จาก เช น พรบ. คุ ม ครองผู ป ระสบภั ย จากรถ ผูรับ จา งตอ ง
รับผิดชอบในการจัดหาประกันภัยและคาใชจายในการประกันภัยสําหรับทรัพยสินของรัฐ หรือของ “สํานัก
รถโดยสารประจําทาง“ ที่ไดจัดหาไวใหผูรับจาง หรือผูรับจางอาจไดรับอนุญาตใหใชประโยชนในระหวาง
ระยะเวลาของสัญญา เพื่อคุมครองประกันอัคคีภัย ความเสียหายจากอุบัติเหตุ เหตุสุดวิสัย รวมถึงการ
ประกันอุบัติเหตุยานพาหนะที่ใชในการใหบริการของผูรับจางเอง เชน การสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของ
ผูโดยสาร ลูกจาง และบุคคลที่สาม และ/หรือจากภัยอื่นๆ ที่อาจกําหนดใหมีในอนาคต

การประกันภัยดังกลาวจะตองมีชื่อ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” เปนผูรับประโยชน และผูรับจางตอง


แจงชื่อของบริษัทประกันภัย พรอมทั้งสงมอบหลักฐานตาง ๆ หรือสําเนากรมธรรมประกันภัยให “สํานักรถ
โดยสารประจําทาง”

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-9 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 6.6 ผูรั บ จ า งต อ งเปน ผูรั บ ผิ ด ชอบคา ใชจ า ยตา ง ๆ เกี่ ยวกับ สาธารณู ป โภค สิ่ง อํา นวยความสะดวก และ
ยานพาหนะที่ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” จัดไวใหทั้งหมด รวมทั้งคาบําบัดน้ําเสีย คาภาษีโรงเรือน
และที่ดิน ภาษีบํารุงทองที่ คาตรวจสภาพยานพาหนะ ภาษีรถยนตประจําป ตลอดจนคาภาษีอากรอื่น
ๆ ที่จะตองเสียจากการดําเนินงานตามสัญญาที่กฎหมายบังคับใชอ ยูในปจจุบันและในอนาคตแทน
“สํานักรถโดยสารประจําทาง”

ค. 6.7 ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามบทกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบตาง ๆ ที่หนวยราชการอื่น และ/หรือ “สํานัก


รถโดยสารประจําทาง” กําหนด ในเรื่องที่เกี่ยวของกับการประกอบการ การใหบริการ การปองกันมลพิษ
การตรวจสภาพยานพาหนะ และเรื่องอื่น ๆ โดยเครงครัด ทั้งที่บังคับใชในปจจุบันและอนาคต

ค. 6.8 ผูรับจางจะโอนสิทธิ์ตาง ๆ ตามสัญญาของตนเองไปใหแกผูอื่นมิได นอกจากนี้ผูรับจางจะตองไมอนุญาต


ใหผูอื่นใชประโยชนในสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่ “สํานักรถโดยสารประจํา
ทาง” จัดไวใหทั้งหมดหรือบางสวน โดยไมไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจาก “สํานักรถโดยสาร
ประจําทาง”

ค. 6.9 คาโดยสารที่จัดเก็บจากผูใชบ ริการ ตองเปนไปตามอัตราและวิธีการจัดเก็บที่กําหนดโดย “สํ านักรถ


โดยสารประจําทาง” สวนรายไดเสริมพิเศษอื่นๆ ที่ผูรับจางอาจไดรับ เชน คาโฆษณาขางรถหรือภายใน
ตัว รถโดยสาร จะตอ งแจง ให “สํ า นั กรถโดยสารประจํ า ทาง” ทราบและอนุ มัติเ ปน ลายลักษณอักษร
เสียกอน จึงจะสามารถดําเนินการได

ค. 7 การสงวนสิทธิ์ของคณะกรรมการคัดเลือกฯ

คณะกรรมการคัดเลือกฯ สงวนไวซึ่งสิทธิ์ที่จะรับหรือไมรับพิจารณาขอเสนอรายใดหรือทั้งหมด หรือพิจารณาขอเสนอ


ฯ ของผูยื่นซองฯ ตามประกาศนี้ โดยไมจําเปนตองถือขอเสนอดานการเงินต่ําสุดเปนเกณฑ หรือจะยกเลิกการ
ประกาศประกวดขอเสนอนี้เสียก็ได รวมทั้งสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาผอนปรนใหผูยื่นซองฯ ที่ยื่นขอเสนอแตกตางไป
จากเงื่อนไขที่กําหนดในเอกสารประกวดขอเสนอฯ ในสวนที่มิใชสาระสําคัญ และความแตกตางนั้นไมมีผลทําใหเกิด
การไดเปรียบเสียเปรียบตอผูยื่นซองฯ รายอื่น หรือเปนการผิดพลาดเล็กนอย โดยคณะกรรมการคัดเลือกฯ ไมตอง
ชี้ แ จงเหตุ ผ ล และผู ยื่ น ซองฯ ไม มี สิ ท ธิ์ คั ด ค า นหรื อ โต แ ย ง และไม มี สิ ท ธิ์ เ รี ย กค า ทดแทนหรื อ ค า เสี ย หายจาก
คณะกรรมการคัดเลือกฯ และ “สํานักรถโดยสารประจําทาง” แตอยางใด และการตัดสินชี้ขาดของคณะกรรมการ
คัดเลือกฯ ใหถือเปนที่ยุติ

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-10 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ค
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางเอกสารเชิญชวน
ค. 8 การสงวนสิทธิ์ของสํานักรถโดยสารประจําทาง

“สํานักรถโดยสารประจําทาง” สงวนไวซึ่งสิทธิ์ที่จะแกไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมเอกสารประกอบการยื่นซองฯ
ไดตามสมควรหากมีความจําเปน โดยแจงใหผูซื้อเอกสารประกอบการยื่นซองฯ ทราบถึงขอแกไข หรือเปลี่ยนแปลง
หรือเพิ่มเติมดังกลาวไมนอยกวา 15 วัน กอนกําหนดวันยื่นซอง

ประกาศ ณ วันที่ “dd mmm 254y”

“(นายxxx xxxxxx)”
“ผูอํานวยการสํานักรถโดยสารประจําทาง”

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ค-11 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


ภาคผนวก ง

รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

ภาคผนวก ง
รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
(ราง)
สัญญาวาจางใหบริการรถโดยสารประจําทางเชิงคุณภาพ (อูคลองเตย)

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ “สํานักรถโดยสารประจําทาง 131 ถนนเทียมรวมมิตร เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร


10320” เมื่อวันที่ dd mmm yyyy ระหวาง “สํานักรถโดยสารประจําทาง” โดย นาย xxx xxxxxxx ผูอํานวยการ
สํานักรถโดยสารประจําทาง ซึ่งตอไปนี้จะเรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่ง กับ บริษัท xxxxxxxxxx จํากัด มีสํานักงาน
ใหญตั้งอยูเลขที่ 148 ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10xx0 โดย นาย xxx xxxxxx ผูมีอํานาจลง
นามผูกพันนิติบุคคล ปรากฏตามหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุนสวนบริษัท จังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่
xxx/ 254y ทะเบียนเลขที่ กท. xxx ออกใหเมื่อวันที่ dd mmm yyyy แนบทายสัญญาฉบับนี้ เลขประจําตัวผูเสีย
ภาษี xxxxxxxxxx หมายเลขโทรศัพท 02-xxxxxxx ซึ่งตอไปนี้จะเรียกวา “ผูรับจาง” อีกฝายหนึ่ง ทั้งสองฝายไดทํา
สัญญาตกลงกันเกี่ยวกับการใหบริการรถโดยสารประจําทางเชิงคุณภาพ ดังตอไปนี้

ง. 1 ขอบเขตของสัญญา

ง. 1.1 การใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให

ผูวาจางตกลงใหผูรับจางเขาใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให ภายใน


ระยะเวลาที่กําหนดไวในขอ ง. 3 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับจางใชในการดําเนินงานเกี่ยวกับการ
ใหบริการรถโดยสารประจําทางใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชนผูใชบริการ และการใชสาธารณูปโภค
สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวใหดังกลาวจะตองดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายอื่นๆ
ที่เกี่ยวของ และจะตองปฏิบัติตามขอกําหนด ประกาศ ระเบียบ คําสั่ง ซึ่งใชบังคับอยูในขณะทําสัญญา
วาจางและที่จะออกใชบังคับในอนาคตอยางเครงครัด โดยสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และ
ยานพาหนะที่จัดไวให ประกอบดวย

ง. 1.1.1 อูคลองเตย

อู ค ลองเตย ตั้ ง อยู เ ลขที่ 148 ถนนสุ น ทรโกษา เขตคลองเตย กรุ ง เทพมหานคร โดยรายการ
สาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกภายในอู ดังรายละเอียดในผนวก 1

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโก ง-1 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 1.1.2 กองรถโดยสาร

กองรถโดยสารที่ใชในการประกอบการ จํานวน 210 คัน ประกอบดวย รถโดยสารธรรมดา จํานวน 149


คัน และรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู จํานวน 61 คัน ดังรายละเอียดในผนวก 2

ผูรับจางตองเปนผูรับผิดชอบในการบํารุงรักษาสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่ผูวาจางได


จัดไวให และใชทรัพยสินดังกลาวใหเปนไปตามวัตถุประสงคของผูวาจาง โดยตองดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อใหเกิด
ประโยชนสูงสุดตอประชาชนผูใชบริการ นอกจากนี้ ผูรับจางยังมีหนาที่ในการจายคาเชาใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวย
ความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให แกผูวาจาง ตามอัตราที่กําหนดไวในผนวก 3

ง. 1.2 การใหบริการ การจัดเก็บและนําสงรายไดจากคาโดยสาร

ผูรับ จางมีหนาที่ใ หบ ริการรถโดยสารประจําทางตามเสนทาง มาตรฐานการใหบริ การ และเงื่อนไขที่


กําหนดไวในผนวก 4 อยางเครงครัด อยางไรก็ตาม ผูวาจางสงวนสิทธิ์ที่จะจัดสรรจํานวนคัน-กิโลเมตร
ให บ ริ ก ารที่ ว า จ า งตามเส น ทางดั ง กล า วข า งต น ในอนาคตตามความเหมาะสมและจํ า เป น เพื่ อ ให
สอดคลอ งและตอบสนองตอ ความตอ งการในการเดิน ทางและสถานการณที่อ าจเปลี่ ย นแปลงไปใน
อนาคต โดยมีเงื่อนไขวาจํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่วาจางทั้งหมด จะไมนอยไปกวาที่ระบุไวในขอ ง. 3
และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลในการทําใหผูไดรับการคัดเลือกจะตองลงทุนเพิ่ม เชน การ
จัดหา/ บรรจุรถโดยสารเพิ่ม หรือตองลงทุนในโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ เชน อูจอดรถ เพิ่มเติม

ผูรับจางมีหนาที่ใหบริการและจัดเก็บคาโดยสารใหแกผูวาจางตามอัตราและวิธีการจัดเก็บที่ผูวาจาง
กําหนด โดยอัตราคาโดยสาร วิธีการจัดเก็บ และการนําสงรายไดจากคาโดยสารใหเปนไปตามประกาศ
ของผูวาจาง

ยกเวนวันหยุดราชการ นับถึงเวลา 24.00 น. ของทุกวันทําการ ผูรับจางตองนําสงเงินรายไดจากคา


โดยสารใหแกผูวาจาง กอนเวลา 11.00 น. ของวันรุงขึ้น หากเปนวันหยุดราชการ ใหผูรับจางนําสงเงิน
รายไดจากคาโดยสารในวันทําการแรก กอนเวลา 11.00 น. หากผูรับจางนําสงเงินรายไดจากคาโดยสาร
ภายหลังกําหนดดังกลาว ผูรับจางจะตองจายชดเชยดอกเบี้ยที่เกิดจากการนําสงเงินลาชาใหแกผูวาจาง
ในอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ 5 ธนาคาร สําหรับผูกูรายยอยชั้นดี บวกอีกรอยละ
2 (MRR+2%)

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-2 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 1.3 การรายงานผลและการจัดทําบัญชี

ทุกสิ้นเดือน ผูรับจางจะตองนําสงรายงานจํานวนคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ และจํานวนผูใชบริการในรอบ


เดือนที่ผานมา พรอมดวยเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน Log Book รายงานการซอมบํารุงรักษา
ยานพาหนะ รายงานการเกิดอุบัติเหตุ เปนตน และหากมีเหตุจําเปน ผูวาจางอาจจะกําหนดแบบฟอรม
การรายงาน หรือรองขอใหผูรับจางนําสงขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผูรับจางจะตองใหความรวมมือโดยมิชักชา

ผูรับจางจะตองนําสงรายงานและขอมูลดังกลาวขางตน ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

ทุกๆ สิ้นปปฏิทิน ผูรับจางจะตองนําสงงบการเงินที่ไดรับการรับรองจากผูสอบบัญชีรับอนุญาต แกผู


วาจาง ภายใน 3 เดือน ของปถัดไป

ง. 2 เอกสารอันเปนสวนหนึ่งของสัญญา

เอกสารแนบทายสัญญาดังตอไปนี้ ถือวาเปนสวนหนึ่งของสัญญาฉบับนี้

ƒ ผนวก 1 ผังอูคลองเตย และบัญชีทรัพยสินครุภัณฑภายในอู


ƒ ผนวก 2 หมายเลขแชสซี หมายเลขเครื่องยนต หมายเลขทะเบียนรถ และลักษณะของรถ
ƒ ผนวก 3 อัตราคาเชาใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให
ƒ ผนวก 4 แผนที่เสนทาง และมาตรฐานการใหบริการ
ƒ ผนวก 5 อัตราผลตอบแทนในการใหบริการตอคัน-กิโลเมตร จําแนกตามประเภทรถ
ƒ ผนวก 6 หลักเกณฑในการประเมินผลคุณภาพการใหบริการ
ƒ ผนวก 7 โบนัสและบทปรับ
ƒ ผนวก 8 แผนธุรกิจ และแผนการดําเนินงาน (Business Plan and Action Plan)

ผนวก 3 ผนวก 5 ผนวก 6 และผนวก 7 อาจจะมีก ารปรับ ปรุง แกไ ข หรือ เพิ่ ม เติม ในอนาคต ตามความ
เหมาะสมและจําเปน โดยความเห็นชอบของผูวาจางและผูรับจางรวมกัน ยกเวนผนวก 4 ที่ผูวาจางสงวนสิทธิ์ที่จะ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไดโดยไมจําเปนตองไดรับความเห็นชอบจากผูรับจาง ตราบเทาที่ยังเปนไปตามขอบเขตของ
สัญญาตามขอ ง. 1.2 และขอ ง. 3

ง. 3 จํานวนคัน-กิโลเมตรที่วาจางและระยะเวลาของสัญญา

จํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการที่วาจางเทากับ “xx,xxx,xxx คัน-กิโลเมตรตอป“ โดยจําแนกเปนของรถโดยสาร


ธรรมดาจํานวน “xx,xxx,xxx คัน-กิโลเมตรตอป“ และของรถโดยสารปรับอากาศยูโรทู จํานวน “xx,xxx,xxx คัน-
กิโลเมตรตอป“ โดยปจจุบันเสนทางที่วาจาง (ผนวก 4) มีจํานวนผูใชบริการเฉลี่ย xx,000,000 (xxxลาน) คนตอป

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-3 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
สัญญาฉบับนี้มีกําหนดระยะเวลา 3 (สาม) ป นับตั้งแตวันที่ dd mmm 254y ถึงวันที่ dd mmm 254y โดยจะมีการ
ประเมินผลการใหบริการทุกๆ สิ้นปของการดําเนินงาน

ผูรับจางมีสิทธิ์ยื่นคํารองขอใหตออายุสัญญาไดอีก 1 (หนึ่ง) ครั้ง ครั้งละ 1 (หนึ่ง) ป โดยผูรับจางจะตองยื่นคํารองขอ


ตออายุสัญญาเปนลายลักษณอักษรลวงหนาอยางนอย 3 เดือน กอนสัญญาเดิมจะสิ้นสุดลง

ผูวาจางสงวนสิทธิ์ที่จะจัดสรรจํานวนคัน-กิโลเมตรใหบริการตามเสนทางดังกลาว (ผนวก 4) ในอนาคต ตามความ


เหมาะสมและจํา เปน เพื่อ ใหสอดคลองและตอบสนองตอ ความตอ งการในการเดิ น ทางและสถานการณที่อ าจ
เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ตัวอยางเชน อาจจะมีการตัดหรือปรับเสนทาง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการใหบริการ
การยกเลิกหรือการเพิ่มเสนทางใหม เปนตน โดยมีเงื่อนไขวาจํานวนคัน-กิโลเมตรตอปที่วาจางทั้งหมดจะตองไมนอย
ไปกวาที่ระบุไวในขอ ง. 3 และการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลในการทําใหผูไดรับการคัดเลือกจะตอง
ลงทุนเพิ่มเติม เชน การจัดหา/ บรรจุรถโดยสารเพิ่ม หรือตองลงทุนในโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ เชน อูจอดรถ เพิ่มเติม

ง. 4 อัตราคาจางเดินรถและวิธีการจายเงินใหแกผูรับจาง

ผูวาจางจะชําระเงินคาใหบริการรถโดยสารประจําทางแกผูรับจาง ตามขอมูลและเอกสารที่ผูรับจางสงใหผูวาจางใน
วัน ยื่น ประมูล ดัง ที่ กํา หนดไว ใ นผนวก 5 หัก ดว ย อัตราค า เชา ใชสาธารณู ป โภค สิ่ ง อํ า นวยความสะดวก และ
ยานพาหนะที่จัดไวให (ผนวก 3) ซึ่งเทากับ

“อัตราคาใชจายในการเดินรถตอคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ (ผนวก 5)“ คูณดวย “จํานวนคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ”


หักดวย “คาเชาใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให (ผนวก 3)”

การจายเงินใหแกผูรับจางจะมีการคิดคํานวณเปนรายสัปดาห นับเริ่มตั้งแตวันจันทรถึงวันอาทิตย หากเปนชวง


สัปดาหแรกของสัญญา ใหเลื่อนวันเริ่มตนใหตรงกับวันที่สัญญามีผลบังคับ และหากเปนสัปดาหสุดทายของสัญญา
ใหเลื่อนวันสุดทายใหตรงกับวันสิ้นสุดสัญญา

ทุกวันทําการแรกของสัปดาห ผูรับจางจะตองวางอินวอยซ (Invoice) จํานวนคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการและจํานวน


ผูใชบริการ จําแนกตามประเภทรถ แกผูวาจาง ผูวาจางจะตรวจสอบขอมูลที่ผูรับจางมอบใหอีกครั้งหนึ่ง หากขอมูล
และเอกสารที่มอบใหแตกตางจากที่ผูวาจางตรวจสอบแลว เปนหนาที่ของผูรับจางจะตองพิสูจนใหเห็นถึงความ
ถูกตองโดยไมชักชา

ผูวาจางจะจายเงินคาจางเดินรถโดยสารประจําทางแกผูรับจาง ภายใน 15 วัน นับจากวันที่ผูรับจางไดวางอินวอยซ


(Invoice) หรือนับจากวันที่ไดมีขอยุติในจํานวนคัน-กิโลเมตรที่ใหบริการ (หากมีขอโตแยง) แลวแตกรณี

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-4 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 5 โบนัสและสิ่งจูงใจ

ทุกๆ สิ้นปของการดําเนินงาน นับจากวันที่สัญญามีผลบังคับ จะมีการประเมินผลการใหบริการของผูรับจาง โดย


หากผูรับจางสามารถใหบริการตามหลักเกณฑในการประเมินผลคุณภาพการใหบริการดังที่กําหนดไวในผนวก 6
และมีจํานวนผูใชบริการมากกวาที่ระบุไวในขอ ง. 3 ผูวาจางจะจายโบนัสใหแกผูรับจางตามหลักเกณฑและจํานวน
ที่กําหนดไวในเอกสารแนบทายสัญญา (ผนวก 7)3

ง. 6 การทําประกันภัย

ง. 6.1 ความรับผิดชอบในความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของผูโดยสาร ลูกจาง และบุคคลที่สาม

ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของผูโดยสาร ลูกจาง และบุคคลที่สาม


อันเกิดจากการดําเนินงานของผูรับจาง หรือลูกจางและพนักงานของผูรับจาง โดยการเอาประกันภัย
(Insured) ความรับผิดชอบดังกลาวแกผูรับประกันภัยที่ประกอบกิจการอยูในประเทศไทย และผูวาจาง
ตองนําสงสําเนากรมธรรมประกันภัย (Policies) เพื่อรายงานเงื่อนไขและจํานวนการเอาประกันภัย (Sum
Insured) แกผูวาจาง กอนเริ่มดําเนินงาน

หากผูวาจางเห็นวารายการที่ทําประกันภัยยังไมครบถวน หรือมีเงื่อนไขไมสมบูรณ หรือจํานวนการเอา


ประกันภัยยังไมครอบคลุมความเสี่ยงภัยที่มีอยู ผูวาจางมีสิทธิ์เรียกใหผูรับจางแกไขหรือเอาประกันภัย
เพิ่มเติม

ง. 6.2 ความรับผิดชอบในความเสียหายตอสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่ผูวาจางจัด


ไวให

ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในความเสียหายตอสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่ผู


วาจางจัดไวให โดยการเอาประกันภัยความรับผิดชอบดังกลาวแกผูรับประกันภัยที่ประกอบกิจการอยูใน
ประเทศไทย และผูวาจางตองนําสงสําเนากรมธรรมประกันภัย เพื่อรายงานเงื่อนไขและจํานวนการเอา
ประกันภัย แกผูวาจาง กอนเริ่มดําเนินงาน

หากผูวาจางเห็นวารายการที่ทําประกันภัยยังไมครบถวน หรือมีเงื่อนไขไมสมบูรณ หรือจํานวนการเอา


ประกันภัยยังไมครอบคลุมความเสี่ยงภัยที่มีอยู ผูวาจางมีสิทธิ์เรียกใหผูรับจางแกไขหรือเอาประกันภัย
เพิ่มเติม

3
โดยทั่วไป หากผูประกอบการผานการประเมินและมีจํานวนผูใชบริการมากกวาที่กําหนดไว จะไดรับโบนัสในสวนที่เปนรายไดจาก
คาโดยสารในสวนที่เกินจากจํานวนผูใชบริการที่ระบุไวในขอ ค. 3 ทั้งหมด

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-5 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 7 หนังสือค้ําประกันการใหบริการ (Bank Guarantee)

ในวันลงนามสัญญาฉบับนี้ ผูรับจางไดสงมอบหนังสือค้ําประกันซึ่งออกโดยธนาคารในประเทศไทย มีวงเงิน


หลักประกันเทากับรอยละ xx ของรายไดตลอดระยะเวลาของสัญญา4 คิดเปนจํานวนเงิน x,xxx,xxxx (xxxxx บาท)
โดยมีระยะเวลาค้ําประกันตลอดระยะเวลาของสัญญานี้ มามอบใหผูวาจางยึดถือไว เพื่อเปนหลักประกันในการ
ใหบริการรถโดยสารประจําทาง ตามภาระผูกพันที่ปรากฏในสัญญาฉบับนี้

หนังสือค้ําประกันดังกลาว เปนการค้ําประกันวาผูรับจางจะปฏิบัติตามพันธะกรณีที่มีอยูตามสัญญา และผูวาจางจะ


คืนใหเมื่อผูรับจางไดพนภาระผูกพันตามสัญญานี้แลว

ในระหวางที่สัญญามีผลใชบังคับ ผูรับจางตองจัดใหมีหลักประกันใหเต็มจํานวนตามที่กําหนดตลอดระยะเวลา หาก


วงเงินค้ําประกันลดลงไมวาดวยกรณีใดก็ตาม ผูรับจางตองดําเนินการเพิ่มวงเงินค้ําประกันจนเต็มจํานวนตามที่
กําหนดภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับแตวันที่หลักประกันดังกลาวลดลง

ง. 8 ภาษีและอากรแสตมป

ผูรับจางเปนผูรับผิดชอบในการชําระคาภาษี คาภาษีศุลกากร และคาธรรมเนียมตาง ๆ ในการประกอบการที่เกิดขึ้น


ทั้งหมด

หลังจากที่ไดลงนามในสัญญาแลว ผูรับจางจะตองจดทะเบียนสัญญาเชาสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก


และยานพาหนะกั บ เจ า หน า ที่ ที่ มี อํ า นาจ และต อ งรั บ ผิ ด ชอบค า ธรรมเนี ย มการจดทะเบี ย น ค า ตรวจสภาพ
ยานพาหนะ คาอากรแสตมป รวมทั้งคาใชจายที่เกี่ยวของอื่นๆ ทั้งหมดดวย

ภาระในการชําระคาภาษีและคาธรรมเนียมอื่นใด ที่ตองจายตามกฎหมาย ไมวาจะชําระในนามของผูรับจางเอง


หรือในนามของผูวาจาง รวมทั้งหนี้สินสําหรับภาษีและคาธรรมเนียมดังกลาว ผูรับจางตองเปนผูรบั ผิดชอบ

4
ตามหลักการ หลักประกันดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อใหครอบคลุมคาใชจายใชในการวาจางเดินรถชั่วคราว ในชวงที่ตองมีการ
คัดเลือกหาผูประกอบการเดินรถใหม ในกรณีที่ผูประกอบการเดิมละทิ้งสัญญา

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-6 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 9 ค า ใช จ า ยอื่ น ๆ ที่ เ กิ ด จากการใช ส าธารณู ป โภค สิ่ ง อํ า นวยความสะดวก และ
ยานพาหนะที่จัดไวให

ผูรับจางตองรับผิดชอบชําระคาใชจายตางๆ ที่เกิดจากการใชสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะ


ที่จัดไวให เชน คาน้ําประปา ไฟฟา โทรศัพท การกําจัดขยะ การซอมบํารุง น้ํามันเชื้อเพลิง และคาใชจายอื่นๆ ที่
เกิดขึ้นทั้งหมด

ง. 10 โครงสรางของบริษัท

ผู ว า จ า งจะทํ า สั ญ ญากั บ ผู ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กเท า นั้ น และผู ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กต อ งมาลงนามในสั ญ ญาภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด ในกรณีที่ผูไดรับการคัดเลือกเปนกลุมผูรวมคา (Joint Venture) ประสงคจะจัดตั้งบริษัทใหมเพื่อ
เป น คู สั ญ ญากั บ ผู ว า จ า ง ซึ่ ง ในการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ใหม นี้ ผู ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กจะต อ งเป น ผู ถื อ หุ น รายใหญ และ
ประกอบดวยรายชื่อของกลุมผูรวมคาที่แสดงอยูในเอกสารประมูลดวย เพื่อเปนการยืนยันวาผูไดรับการคัดเลือกและ
ผูรวมลงทุนตางก็เปนผูถือหุน

บริษัทใหมตองมีคนไทยเปนผูถือหุนไมนอยกวารอยละ 51 ตามกฎหมายไทยตลอดระยะเวลาของสัญญา ทุนจด


ทะเบียนชําระเต็มจํานวนต่ําสุดของบริษัทใหมจะตองไมนอยกวา 3,000,000 บาท (สามลานบาทถวน) 5 โดยตองนํา
หลักฐานมาแสดงในวันลงนามในสัญญา

ผูบริหารของบริษัทดังกลาวตองไมโอนหรือขายกิจการหรือทรัพยสิน จะโดยทั้งหมดหรือเพียงบางสวนก็ตาม โดยมิได


รับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจาง และผูรับจางตองแจงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกี่ยวกับผูถือหุนใหผู
วาจางทราบโดยเร็วที่สุด

ง. 11 การสงวนสิทธิ์

เนื่องจากรถโดยสารประจําทางเปนบริการสาธารณะ ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือความจําเปนที่เกี่ยวกับผลประโยชน
ของชาติ ความปลอดภัยของประชาชน หรือความปลอดภัยของโครงสรางพื้นฐานและยานพาหนะ ผูวาจางจึงสงวน
สิทธิที่จะระงับสิทธิของผูรับจางตามสัญญาฉบับนี้ได โดยปราศจากเงื่อนไขหรือขอเรียกรองใด ๆ ทั้งสิ้น

5
อางแลว ตามกฎหมายวาดวยการประกอบกิจการของคนตางดาว

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-7 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
ง. 12 การใหเชาชวง (Sub-contracting)

ไมวากรณีใด ๆ ก็ตาม จะใหรับเหมาชวงการใหบริการรถโดยสารประจําทางมิได แตอาจใหรับเหมาชวงงานบาง


ประเภทได โดยจะตอ งไดรับความเห็นชอบเปน ลายลักษณอักษรจากผูวา จางเสี ยกอ น ถาการดํ า เนิน งานของ
ผูรับเหมาชวงเปนผลเสียหายตอการบริหารและการประกอบการแลว ผูวาจางสามารถยกเลิกสัญญารับเหมาชวงนั้น
ได และในกรณีดังกลาวนี้ ผูรับจางไมสามารถเรียกรองคาเสียหายใด ๆ จากผูวาจางได นอกจากนี้ ผูรับจางจะให
ผูอื่นเชาชวงทรัพยสินใด ๆ ของสาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่จัดไวให โดยไมไดรับความ
เห็นชอบเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางกอนมิได

ในกรณีที่ผูรับจางไดปรับปรุง พัฒนา หรือจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ หรือ ฯลฯ


เพิ่มเติมโดยการเชา จะตองมีขอกําหนดที่ระบุใหผูวาจางสามารถดําเนินการแทน หรือครองครองสัญญาเชานั้นตอไป
ได โดยมีเงื่อนไขเชนเดียวกับของผูรับจางและตองสงมอบสําเนาสัญญาใหผูวาจางดวย

ง. 13 เจาหนาที่และบุคลากร

ผูรับจางตองรับผิดชอบในการจัดหาแรงงาน และรับผิดชอบตอความประพฤติของเจาหนาที่และบุคลากรที่จางมา
โดยตองปฏิบัติตอแรงงานเหลานั้น ตามกฎหมายแรงงานและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของอยางเครงครัด โดยเฉพาะ
อยางยิ่งในประเด็นดานผลตอบแทนแรงงาน สภาพแวดลอมในการทํางาน จํานวนชั่วโมงขั้นสูงในการปฏิบัติงาน
สวัสดิการและการจายคาชดเชย และการประกันภัยจากอุบัติเหตุในการทํางาน

ง. 14 การยกเลิกสัญญา

ง. 14.1 การยกเลิกสัญญาเนื่องจากผูรับจางผิดสัญญา

ผูวาจางมีสิทธิที่จะยกเลิกการวาจางได หากผูรับจางละเมิดเงื่อนไขสัญญาหลังจากที่ผูวาจางไดแจงให
ทราบแลวไมนอยกวา 90 วัน (เกาสิบ) วัน โดยระบุเหตุผลสนับสนุนการยกเลิกสัญญา ซึ่งผูรับจางไม
สามารถดําเนินการจนเปนที่พอใจของผูวาจางได

อยางไรก็ตาม ผูรับจางจะตองรับผิดชอบตอความเสียหาย หรือคาใชจายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นแกผูวาจางใน


ระยะเวลาดังกลาวดวย

หากการละเมิดเงื่อนไขสัญญาดังกลาว เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความเสียหายตอผลประโยชนของ
ประชาชนผูใชบริการ หรือเกี่ยวกับความปลอดภัยของประชาชน หรือมาตรฐานการยอมรับของสากล
เกี่ยวกับความปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสงผูโดยสาร หรือโครงสรางพื้นฐานอื่น ๆ แลว ผูวาจางมี
สิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาดังกลาวไดทันที

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-8 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

ในกรณีที่มีการยกเลิกสัญญาอันเนื่องมาจากความผิดของผูรับจาง กอนวันสิ้นสุดสัญญา ผูวาจางมีสิทธิที่


จะยึดหลักประกันตาง ๆ ได และมีสิทธิที่จะครอบครองอูจอดรถ สิ่งอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ และ
เครื่องมือตาง ๆ ที่ปรับปรุง พัฒนา หรือจัดหาเพิ่มเติมของผูรับจาง รวมทั้งเขามาบริหารและประกอบการ
ไดทันที โดยที่ผูรับจางตองใหความชวยเหลือที่จําเปนแกผูวาจางในการเขารับชวงการประกอบการดวย

ในกรณีที่มีการยกเลิกสัญญากอนวันครบกําหนด อันเนื่องมาจากผูรับจางละเมิดเงื่อนไขสัญญาแลว ผูรับ


จางไมมีสิทธิเรียกคาชดเชยใด ๆ จากการยกเลิกสัญญากอนกําหนดนั้น ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางออม

ง. 14.2 การยกเลิกสัญญาโดยเหตุผลกรณีพิเศษ

เนื่องมาจากเหตุผลทางดานความปลอดภัยของอูจอดรถ ความปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสง


ผูโดยสาร หรือเหตุผลอื่น ๆ ในทํานองเดียวกันนี้ ผูวาจางอาจยกเลิกสัญญาไดทุกเมื่อ โดยจะแจงใหผู
รับจางทราบเปนลายลักษณอักษร

เมื่อไดยกเลิกสัญญาดังกลาวแลว ผูวาจางจะจายเงินใหแกผูรับจางเปนคาปรับปรุง พัฒนา หรือจัดหา


เครื่องมือและอุปกรณอํานวยความสะดวก ตลอดจนทรัพยสินตาง ๆ ไมวาในลักษณะใด ที่ผูรับจางเปนผู
จัดหามา (หากมี) ในราคาที่ทั้งสองฝายตกลงกัน หรือที่จะกําหนดโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ ผูรับจางไม
มีสิทธิที่จะเรียกรองคาเสียหายใด ๆ ทั้งสิ้นจากการยกเลิกสัญญานี้ รวมทั้งผลกําไรที่สูญเสียตามที่ผู
รับจางไดคาดการณไว

อยางไรก็ตาม ในกรณีที่สัญญาสิ้นสุดลง ผูวาจางมีสิทธิที่จะเขาครอบครองอูจอดรถ สิ่งอํานวยความ


สะดวก ยานพาหนะ และเครื่องมืออุป กรณทั้งหมดของผูรับจางที่ไดจัดหามาเพิ่มเติม รวมทั้งเขามา
บริหารและประกอบการไดโดยทันที

ผูรับจางตองสงมอบเอกสาร สถิติ และขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารและประกอบการใหแกผูวาจาง


ทันทีที่ผูวา จางเขามาควบคุมดูแลดังกลาวขางตน

ง. 14.3 การระงับขอพิพาทและการพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ

ในกรณีเกิดขอโตแยงหรือขอพิพาทขึ้นระหวางผูรับจางกับผูวาจางเกี่ยวกับสัญญา นอกเสียจากวาคูกรณี
ทั้งสองฝายตกลงกันใหแตงตั้งอนุญาโตตุลาการผูเดียวแลว ฝายใดฝายหนึ่งยังสามารถยื่นขอพิพาทหรือ
ขอโตแยงดังกลาวตออนุญาโตตุลาการได โดยจะตองบอกกลาวเจตนารมณใหอีกฝายหนึ่งทราบวาจะยื่น
ขอโตแยงหรือขอพิพาทเขาสูการพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ พรอมระบุชื่ออนุญาโตตุลาการที่ฝายตน
แตงตั้ง ตอจากนั้นจะตองยื่นขอโตแยงหรือขอพิพาทดังกลาวตออนุญาโตตุลาการสองคน ซึ่งคนหนึ่ง

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-9 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
แตงตั้งโดยฝายที่ยื่นขอพิพาทหรือขอโตแยงดังกลาวขางตน และอีกคนหนึ่งแตงตั้งโดยอีกฝายหนึ่งภายใน
30 (สามสิบ) วัน หลังจากที่ไดรับคําบอกกลาวนั้น

ในกรณีที่อนุญาโตตุลาการสองคนไมสามารถตัดสินชี้ขาดได ใหอนุญาโตตุลาการทั้งสองฝายแตงตั้ง
บุคคลภายนอกทําหนาที่เปนผูชี้ขาด ภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ไมสามารถตัดสินชี้ขาดนั้นได
ผูชี้ขาดจะตองดําเนินการตัดสินชี้ขาดภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ไดรับขอพิพาทนั้น

หากคูกรณีทั้งสองฝายไมสามารถแตงตั้งอนุญาโตตุลาการฝายตน หรือในกรณีที่ไมอาจตกลงกันได
เกี่ ย วกั บ การแต ง ตั้ ง ผู ชี้ ข าดแล ว คู ก รณี ทั้ ง สองฝ า ยมี สิ ท ธิ ที่ จ ะยื่ น ข อ พิ พ าทดั ง กล า วต อ ศาลแพ ง
(กรุงเทพมหานคร) ใหเปนผูแตงตั้งอนุญาโตตุลาการ หรือผูชี้ขาดได แลวแตกรณี

การพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ จะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบของอนุญาโตตุลาการแหงสํานักงาน
อนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม หรือปฏิบัติตามกฎที่ทั้งสองฝายเห็นชอบ และจะตองพิจารณา
ตัดสินกันที่กรุงเทพมหานครเทานั้น

ในระหวางรอคําตัดสินของอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับขอพิพาทดังกลาวนั้น ผูรับจางจะตองปฏิบัติตาม
สัญญาใหเปนไปตามที่ผูวาจางกําหนด ยกเวนกรณีเมื่อมีการยกเลิกสัญญา

คูก รณีแ ต ละฝ า ย ต อ งจา ยคา บริก ารสํ า หรับ อนุญ าโตตุ ลาการฝ า ยตน และจะตอ งรว มกั น รั บ ภาระ
คา ใช จา ยอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวกับ การพิ จ ารณาดั ง กลา วในจํา นวนที่เ ทา กั น ในกรณี ที่มี ก ารตั ดสิ น ขอ พิพ าท
ดังกลาวโดยอนุญาโตตุลาการผูเดียว หรือในกรณีที่มีการแตงตั้งผูชี้ขาดขึ้น คาใชจายทั้งหมดไมวาจะเปน
คาบริการอนุญาโตตุลาการผูเดียว หรือผูชี้ขาดก็ตาม ใหอนุญาโตตุลาการหรือผูชี้ขาดนั้น เปนผูตัดสินใจ
เอง แลวแตกรณี

คําตัดสินของอนุญาโตตุลาการใหถือเปนที่สุด สมบูรณ และเปนพันธะผูกพันคูกรณีทั้งสองฝาย สวนการ


บังคับใหเปนไปตามคําตัดสิน ซึ่งตัดสินตามกระบวนการพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการดังระบุไวขางตน
นั้น ผูรับจางและผูวาจางยินยอมที่จะยื่นคําตัดสินนั้นตอศาลแพง (กรุงเทพมหานคร)

ง. 15 โครงสรางพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก เครื่องมือและอุปกรณตางๆ ที่ผูรับจาง


จัดหาเพิ่มเติม

กรณีที่มีการยกเลิกสัญญากอนวันสิ้นสุดสัญญา ไมวาจะเกิดจากการละเมิด หรือการละเลยใด ๆ ของผูรับจางก็ตาม


บรรดาโครงสรางพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก เครื่องมือ อุปกรณที่ติดตั้ง หนังสือคูมือ รายละเอียดการปฏิบัติงาน
และการบริหารทั้งหมด ฯลฯ ซึ่งเปนของผูรับจาง และเปนสิ่งจําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน จะตกเปนทรัพยสินของผู
วาจาง โดยผูวาจางมิตองชดใชเงินใด ๆ ใหแกผูรับจางทั้งสิ้น

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-10 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

หากสัญญาเชายานพาหนะ เครื่องมือหรืออุปกรณอื่นๆ ครบกําหนดตามระยะเวลาในสัญญาแลว ยานพาหนะ


อุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ และทรัพยสินอื่น ๆ ทุกชนิดของผูรับจางอาจตกเปนของผูวาจางตามแตราคาที่ทั้งสองฝายจะ
ตกลงกัน

ในกรณีที่ผูวาจางตัดสินใจซื้อยานพาหนะ อุปกรณ หรือ เครื่องมือดังกลาวขางตน การคํานวณราคาตนทุนของ


ยานพาหนะ อุปกรณ หรือเครื่องมือ เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง จะกําหนดคาเสื่อมราคาตามระยะเวลาของอายุการใชงาน
ดังนี้

ƒ ยานพาหนะ : 10 ป
ƒ เครื่องมือและอุปกรณอื่น ๆ : 5 ป

ในกรณีที่ผูวาจางไมประสงคจะซื้อรายการใด ๆ หรือบางสวน ผูรับจางตองเคลื่อนยายยานพาหนะ อุปกรณ หรือ


เครื่องมือเหลานั้นออกไปจากเขตพื้นที่อู หรือที่ติดตั้งภายในตัวยานพาหนะ ภายใน 30 (สามสิบ) วัน หากอุปกรณ
หรือเครื่องมือดังกลาวมิไดนําออกไปภายในระยะเวลาที่กําหนดไวแลว ผูวาจางมีสิทธิที่จะนําเครื่องมือและอุปกรณ
เหลานั้นออกขายทอดตลาด และหลังจากที่ผูวาจางไดหักคาใชจาย และคาเสียหายที่เกิดขึ้นจากการขายทอดตลาด
แลว จะนําเงินสวนที่เหลือคืนใหแกผูรับจาง โดยที่ผูรับจางไมมีสิทธิเรียกรองเงินชดเชยคาเครื่องมือและอุปกรณ
ดังกลาวขางตนจากผูวาจางแตอยางใด

ผูรับ จางและผูวา จางจะตองรว มกันทําความตกลงเกี่ยวกับรายการทรัพ ยสินที่ใชป ฏิบัติงานตามปกติที่อูจอดรถ


รวมทั้งตัวยานพาหนะ และทําการตรวจสอบรายการทรัพยสินดังกลาวนี้เปนประจําทุก ๆ ป เพื่อจะใชเปนหลักฐานใน
การโอนทรั พยสินเหลา นั้น ใหแกผูว าจางในกรณีดังกลาวขา งตน ดว ย ในกรณี ที่ท รัพ ยสินสูญ หายหรือ เสีย หาย
นอกเหนือจากการสึกหรอตามปกติแลว ผูรับจางตองจายคาชดเชยใหแกผูวาจางในอัตราที่ทั้งสองฝายจะตกลงกัน
หรือตามที่อนุญาโตตุลาการจะกําหนด

ง. 16 คาปรับ

ผูวาจางมีสิทธิที่จะเรียกเก็บเงินคาปรับจากผูรับจางได ในกรณีที่ผูรับจางละเมิด หรือไมปฏิบัติตาม หรือไมบรรลุ


ผลสัมฤทธิ์ตามเงื่อนไขและหลักเกณฑใด ๆ ที่ระบุไวในสัญญาและเอกสารแนบทายสัญญานี้ (ผนวก 6) หากผู
รับจางมิไดแกไขขอผิดพลาดดังกลาว หลังจากที่ไดรับหนังสือเตือนจากผูวาจาง ภายในระยะเวลาที่กําหนด

หลักเกณฑในการคํานวณคาปรับจะเปนไปตามที่ไดกําหนดไวในเอกสารแนบทายสัญญา (ผนวก 7)

ผูวาจางจะหักเงินคาปรับ จากเงินคาจางที่ตองจายใหแกผูรับจาง ภายใน 30 (สามสิบ) วัน หลังจากวันที่ผูรับจางได


ละเมิด หรือไมปฏิบัติตาม หรือไมบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเงื่อนไขและหลักเกณฑที่ระบุไวในสัญญา หากเงินคาปรับมี

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-11 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ
จํานวนมากกวาจํานวนเงินที่จะตองจายใหแกผูรับจาง ผูวาจางมีสิทธิที่จะบังคับใหชําระเงินไดจากหนังสือค้ําประกัน
การใหบริการ (Bank Guarantee) และผูรับจางจะตองยื่นหนังสือค้ําประกันการใหบริการฉบับใหมเต็มจํานวน
ภายใน 30 (สามสิบ) วัน หากผูรับจางมิไดดําเนินการดังกลาว ผูวาจางจะบอกเลิกสัญญา อันเนื่องจากการผิด
สัญญาของผูรับจางเอง

ง. 17 เหตุสุดวิสัย

ง. 17.1 “เหตุสุดวิสัย” หมายถึง เหตุการณใด ๆ ที่เกิดขึ้น หรือผลเสียหายใด ๆ ที่ไมสามารถปองกันได ถึงแม


บุคคลที่ประสบเหตุนั้น หรือเผชิญหนากับเหตุการณนั้น จะไดใชความระมัดระวังเปนอยางดี ดังที่พึง
คาดหมายจากวิญูชนในสถานการณนั้นๆ แลวก็ตาม

ง. 17.2 หากคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งไมอาจปฏิบัติตามเงื่อนไขขอใดขอหนึ่ง หรือขอผูกพันใด ตามสัญญานี้อัน


เนื่องมาจากเหตุสุดวิสัย ใหฝายนั้นแจงใหอีกฝายหนึ่งทราบโดยเร็วที่สุด แตจะตองไมเกิน 10 (สิบ) วัน
หลั ง จากที่ ไ ดเ กิ ด เหตุ สุ ดวิ สั ยนั้ น ขึ้น ฝ า ยหลัง จะต อ งแจง ใหฝ า ยแรกทราบภายในระยะเวลาอั น ควร
หลังจากวันที่ไดรับการแจงเหตุการณนั้น ๆ วา ตนยอมรับหรือไมวาเปนเหตุสุดวิสัย ตลอดจนยอมรับผลที่
เกิดขึ้นกับขอผูกพันและความรับผิดชอบตามสัญญานี้หรือไม

ง. 18 เงื่อนไขบังคับ (Mandatory Condition)6

ง. 18.1 ผูรับจางตองใหบริการที่จําเปนทุกประเภทแกผูใชบริการ เพื่อใหการประกอบการมีประสิทธิภาพและ


สอดคลองกับแผนดําเนินธุรกิจของตน

ง. 18.2 ผูรับจางจะตองจัดหาบรรดาเครื่องมืออุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ และโครงสรางพื้นฐานที่


จําเปนสําหรับการประกอบกิจการตามมาตรฐานสากล และใหสอดคลองกับแผนการดําเนินธุรกิจของตน

ง. 18.3 ผูรับ จา งตองปฏิบัติตามสัญ ญาใหเป นไปตามขอ กําหนดตา ง ๆ ในผนวก 8 ซึ่ง ถือเปน สว นหนึ่ง ของ
สัญญาที่เกี่ยวกับ

ƒ บุคลากรหลักที่รับผิดชอบโครงการ
ƒ การริเริ่มดานการตลาด

หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในขอกําหนดดังกลาว ผูรับจางจะตองเสนอขอความเห็นชอบจากผูวาจาง


กอน

6
เงื่อนไขบังคับ (Mandatory Conditions) และเงื่อนไขที่พึงประสงค (Desirable Conditions) เปนแนวทาง (Guideline) ซึ่งที่
ปรึกษาแนะนําใหพิจารณาเพิ่มเติม เพื่อใชประกอบการรางสัญญาโดยคณะกรรมการฯ ที่รับผิดชอบตอไป

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-12 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง ภาคผนวก ง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รางสัญญาการใหบริการเชิงคุณภาพ

ง. 18.4 ขอกําหนดการบํารุงรักษา

ผูรับจางจะตองรับผิดชอบในการบํารุงรักษาโครงสรางพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก และยานพาหนะที่


จัดไวให อยางเพียงพอจนเปนที่พอใจของผูวาจาง

ผู ว า จ า งจะไม รั บ ผิ ด ชอบต อ ความเสี ย หายที่ เ กิ ด กั บ โครงสร า งพื้ น ฐาน สิ่ ง อํ า นวยความสะดวก หรื อ
ยานพาหนะที่ผูใชบริการเปนผูกระทําใหเกิดความเสียหาย

ผูรับ จา งจะตอ งดํา เนินการตามกฎหมายตอ ผูละเมิด หรือ ตอ บุคคลที่สาม ที่ทํา ใหเกิดความเสียหาย
ดังกลาวแทน

ง. 18.5 การเขาไปในพื้นที่อูของผูรับจาง

ในเวลาใด ๆ ก็ตาม ผูวาจางและผูไดรับมอบอํานาจจากผูวาจางมีสิทธิที่จะเขาไปยังบริเวณอูจอดรถของผูรับจาง


เพื่อตรวจสอบสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ และการปฏิบัติงานของผูรับจางได เมื่อไดมีการแจงลวงหนาแลว

ง. 18.6 เงื่อนไขดานสิ่งแวดลอม

ผูรับจางจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535 ทุกประการ รวมทั้ง

ƒ การดับเพลิง
ƒ การควบคุมมลพิษและสิ่งแวดลอม
ƒ การกําจัดขยะและน้ําเสีย
ƒ การรักษาความสะอาดสถานที่

ง. 19 เงื่อนไขที่พึงประสงค (Desirable Conditions)

นอกเหนือ จากเงื่อ นไขข อ บัง คับ ตา ง ๆ ดังกลา วขา งตน แลว จะต อ งพิจ ารณาและเสนอมาตรการในเรื่ อ งตา ง ๆ
ดังตอไปนี้

ƒ แผนดานการตลาด
ƒ แผนการบํารุงรักษาเพื่อปองกันการชํารุดเสียหาย
ƒ แผนการฝกอบรมเกี่ยวกับการบริหาร และการประกอบการ

แพลนโปร/ อัคเมค/ เทสโกั ง-13 รายงานแผนดําเนินการโครงการนํารอง

You might also like