You are on page 1of 94

จอแสดงสถานะ การทางานของเครื่องจักร

Monitor show status input output

อนุชา ฤทธิ์ทนันท์
ฤทธิ ชยั ฉิ มไทย
ภุชงค์ ลิ้มวัฒนะ

ปริญญานิ พนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสูตรเทคโนโลยีบณ


ั ฑิ ต
กลุ่มวิ ชาเทคโนโลยีไฟฟ้ าและอิ เล็กทรอนิ กส์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยบูรพา
ปี การศึกษา 2554
จอแสดงสถานะ การทางานของเครื่องจักร
Monitor show status input output

อนุชา ฤทธิ์ทนันท์
ฤทธิ ชยั ฉิ มไทย
ภุชงค์ ลิ้มวัฒนะ

ปริญญานิ พนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสูตรเทคโนโลยีบณ


ั ฑิ ต
กลุ่มวิ ชาเทคโนโลยีไฟฟ้ าและอิ เล็กทรอนิ กส์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยบูรพา
ปี การศึกษา 2554
Monitor show status input output

ANUCHA RITTANAN
RITTICHAI CHIMTHAI
PUCHONG LIMWATTANA

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF TECHNOLOGY
MAJOR OF ELECTRICAL AND ELECTRONIC TECHNOLOGY
BURAPHA UNIVERSITY 2011
i

บทคัดย่อ

โครงการนี้จดั ทาขึน้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดเวลาที่สูญเสียในการซ่อมเครื่องจักรที่ใช้โปรแกรมเม


เบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC) ในกรณีทเ่ี กิดปญั หาขึน้ กับเครื่องจักรนัน้ โดยการนาจอภาพทัชสกรีนมา
ประยุกต์ใช้ เพือ่ แสดงปญั หาทีเ่ กิดขึน้ กับเครื่องจักร และจะได้ทาการแก้ไขปญั หานัน้ ๆ ได้ตรงจุด โดยการ
ใช้โปรแกรม GP-PRO/PBIII ออกแบบและป้อนข้อมูลเหล่านัน้ ลงบนจอภาพทัชสกรีน ทาให้ทราบสถานะ
ต่างๆ ของอุปกรณ์ภายในเครื่องจักรนัน้

คาสาคัญ: จอภาพทัชสกรีน, โปรแกรม GP-PRO/PBIII


ii

Abstract

This project is to make the aim for reduce the time in maintenance machine about
Programmable Logic Controller (PLC) in a cause has problem the machine. With Touch screen
monitor to apply for status shows the problem on the machine and resolve. By mean of GP-
PRO/PBIII program design picture component and install on the Touch screen monitor. For
status shows on the machine in line product

Keyword: Touch screen monitor, Program GP-PRO/PBIII


iii

กิ ตติ กรรมประกาศ

ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงได้ด้ว ยดี ด้ว ยได้ร ับความกรุ ณาและคาปรารถนาที่ด ีจาก


อาจารย์ธราธร บุญศรี ซึง่ เป็ นอาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงาน ที่กรุณาให้คาแนะนา สังสอนชี
่ ้แจง เสนอแนะ
ตลอดระยะเวลาที่ จ ัด ท าโครงงานชิ้น นี้ และ นอกจากนี้ ผู้ จ ัด ท าโครงงานขอขอบคุ ณ ภาควิ ช า
วิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิท ยาลัย บูร พา ตลอดจนเพื่อ นๆ พี่น้อ งทุ กๆท่ า น ทาง
ภาควิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทีไ่ ด้ให้คาปรึกษาและเสนอแนะแนวทางต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ในการ
ทาโครงงานนี้และ ทาให้ผจู้ ดั ทาโครงงานได้ใช้ความรู้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้กบั การทางานจริงจน
ประสบผลสาเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ทางผูจ้ ดั ทาจึงขอขอบคุณมา ในโอกาสนี้ดว้ ย
iv

สารบัญ

หน้ า
บทคัดย่อ ............................................................................................................................................. i
Abstract .............................................................................................................................................. ii
กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................................... iii
สารบัญ.. .............................................................................................................................................. iv
สารบัญรูป ............................................................................................................................................ vi
สารบัญตาราง ...................................................................................................................................... viii

บทที่ 1 บทนา ...................................................................................................................................... 1


1.1 บทนา .............................................................................................................................. 1
1.2 วัตถุประสงค์ .................................................................................................................... 2
1.3 ขอบเขตของโครงงาน ...................................................................................................... 2
1.4 แผนการดาเนินงาน.......................................................................................................... 2
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ............................................................................................... 3

บทที่ 2 ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง .................................................................................................................... 4


2.1 ทัชสกรีน .......................................................................................................................... 4
2.2 ซอฟท์แวร์ GP-PRO/PBIII............................................................................................... 6
2.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC) .................................................................... 19

บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน .................................................................................................................... 32


3.1 วิธกี ารใช้งาน ................................................................................................................... 32
v

สารบัญ (ต่อ)

หน้ า
บทที่ 4 ผลการทดลอง ......................................................................................................................... 41
4.1 คาอธิบายผลของโครงงาน ............................................................................................... 41
4.2 การซ่อมเครื่องจักรแบบเก่า.............................................................................................. 42
4.3 การซ่อมเครื่องจักรแบบใหม่............................................................................................. 44
4.4 แนะนาวิธกี ารซ่อม ........................................................................................................... 46
4.5 คานวณเวลาการทางานของพนักงาน ............................................................................... 48
4.6 บันทึกผลการทดลองใช้งาน.............................................................................................. 48
4.7 ตารางข้อมูลทีใ่ ช้ในการเขียนกราฟ................................................................................... 49

บทที่ 5 บทสรุป.................................................................................................................................... 51
5.1 สรุปผลการดาเนินงาน...................................................................................................... 51
5.2 สรุปเวลาในการซ่อมเครื่องจักร ........................................................................................ 51
5.3ปญั หาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข...................................................................................... 51
5.4 แนวทางการพัฒนา .......................................................................................................... 52

เอกสารอ้างอิง ...................................................................................................................................... 53

ภาคผนวก............................................................................................................................................ 54
ภาคผนวก ก วิธกี ารออกแบบ ................................................................................................ 55

ประวัตผิ จู้ ดั ทาโครงงาน ........................................................................................................................ 83


vi

สารบัญรูป

รูปที่ หน้ า
รูปที่ 2.1 Pro-face รุ่น GP-2000 Series.............................................................................................. 4
รูปที่ 2.2 การเชื่อมต่อ พีแอลซี กับ ทัชสกรีน โดยใช้ module รุ่น QJ71C24 ........................................ 5
รูปที่ 2.3 ซอฟท์แวร์และสิง่ ทีจ่ าเป็ นในการพัฒนา ................................................................................. 6
รูปที่ 2.4 การเชื่อมต่อระหว่าง ทัชสกรีน พีแอลซี และคอมพิวเตอร์ ...................................................... 8
รูปที่ 2.5 ขัน้ ตอนการสร้างไฟล์โปรเจคใหม่เพือ่ ถ่ายโอนหน้าจอ ........................................................... 9
รูปที่ 2.6 การเปลีย่ นรูปแบบหน้าจอแสดงผล........................................................................................ 10
รูปที่ 2.7 คาอธิบายแถบเมนูและไอคอนต่างๆ ...................................................................................... 11
รูปที่ 2.8 เลือกชนิดของเครื่อง GP และชนิดของอุปกรณ์...................................................................... 12
รูปที่ 2.9 กาหนดชนิดของอุปกรณ์ในการติดต่อสือ่ สาร ......................................................................... 13
รูปที่ 2.10 การแสดงรหัสข้อผิดพลาดของ พีแอลซี ............................................................................... 14
รูปที่ 2.11 หน้าจอถ่ายโอนข้อมูล.......................................................................................................... 16
รูปที่ 2.12 การตัง้ ค่าการถ่ายโอนข้อมูล ................................................................................................ 16
รูปที่ 2.13 การเลือกโหมด และโหลดค่าหน้าจอ .................................................................................... 18
รูปที่ 2.14 ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างของ พีแอลซี ........................................................................... 20
รูปที่ 2.15 ภาพแสดงลักษณะของหน่วยประมวลผล (CPU UNIT) ....................................................... 20
รูปที่ 2.16 ภาพแสดงการแสกนทีม่ ผี ลตอบสนองต่อ อินพุตและเอาท์พตุ .............................................. 21
รูปที่ 2.17 ภาพแสดงหน่ วยความจา (MEMORY UNIT) ...................................................................... 22
รูปที่ 2.18 แสดงหน่ วยอินพุต (INPUT UNIT) ...................................................................................... 23
รูปที่ 2.19 แสดงหน่ วยเอาท์พตุ (OUTPUT UNIT)............................................................................... 23
รูปที่ 2.20 แสดงแหล่งจ่ายกาลังไฟ (POWER SUPPLY)..................................................................... 24
รูปที่ 2.21 แผนผังแสดงขัน้ ตอนการทางานของ พีแอลซี ...................................................................... 26
รูปที่ 2.22 แสดงขัน้ ตอนการเปลีย่ นวงจรควบคุม.................................................................................. 29
รูปที่ 2.23 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) ซึง่ ใช้งานไม่ได้ ............................................ 30
รูปที่ 2.24 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมทีใ่ ช้งาน ...................................................................................... 30
รูปที่ 2.25 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมทีผ่ ดิ และถูกแบบที่ 1 ................................................................... 30
รูปที่ 2.26 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมทีผ่ ดิ และถูกแบบที่ 2 ................................................................... 31
รูปที่ 2.27 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมเอาท์พทุ ต่อขนาน ....................................................................... 31
vii

สารบัญรูป (ต่อ)

รูปที่ หน้ า
รูปที่ 3.1 Main screen......................................................................................................................... 33
รูปที่ 3.2 Alarm display....................................................................................................................... 33
รูปที่ 3.3 จอทัชสกรีนหน้า Output check ............................................................................................ 34
รูปที่ 3.4 จอทัชสกรีนหน้า Input check ............................................................................................... 34
รูปที่ 3.5 Main screen การใช้งานจริง ................................................................................................. 35
รูปที่ 3.6 Alarm display การใช้งานจริง ............................................................................................... 36
รูปที่ 3.7 ตาแหน่ งทีเ่ ครือ่ งจักรเสีย ....................................................................................................... 36
รูปที่ 3.8 ตาแหน่ งเซ็นเซอร์เครือ่ งจักร ................................................................................................. 37
รูปที่ 3.9 สเต็ปการทางานของเครือ่ งจักร ............................................................................................. 37
รูปที่ 3.10 จอทัชสกรีนหน้า Output check band drum trav Home..................................................... 38
รูปที่ 3.11 จอทัชสกรีนหน้า Input check band drum trav Home end ................................................ 39
รูปที่ 3.12 การเชื่อมต่อระหว่างจอทัชสกรีนกับอุปกรณ์อนิ พุต .............................................................. 40
รูปที่ 4.1 โฟวล์ชาร์ตแสดงการซ่อมเครื่องจักรแบบเก่า ......................................................................... 43
รูปที่ 4.2 โฟวล์ชาร์ตแสดงการซ่อมเครื่องจักรแบบใหม่ ........................................................................ 45
รูปที่ 4.3 โฟวล์ชาร์ตแนะนาวิธกี ารซ่อม ............................................................................................... 47
viii

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า
ตารางที่ 1.1 แสดงแผนการดาเนินงาน ................................................................................................. 3
ตารางที่ 2.1 ระบบทีร่ องรับการใช้งานซอฟท์แวร์ ................................................................................. 7
ตารางที่ 2.2 แสดงอุปกรณ์ทใ่ี ช้ต่อร่วมกับ พีแอลซี............................................................................... 25
ตารางที่ 2.3 แสดงตารางกาหนดข้อมูลอินพุต/เอาท์พตุ ........................................................................ 28
ตารางที่ 4.1 กราฟบันทึกผลการทดลอง ............................................................................................... 49
ตารางที่ 4.2 บันทึกข้อมูลก่อนและหลังทดลอง ..................................................................................... 50
1

บทที่ 1

บทนา

1.1 บทนา

เพือ่ ให้ได้เป้าหมายการผลิตทีต่ อ้ งการ การทางานของเครื่องจักรต้องเป็ นไปอย่างราบลื่นที่สุด


ซึง่ การทีจ่ ะให้เป็ นเช่นนัน้ ต้องอาศัย การบารุงรักษาเครื่องจักรทีด่ ี และส่วนทีส่ าคัญอีกส่วนหนึ่งก็คอื การ
ซ่อมเครื่องจักรทีห่ ยุดการทางานให้กลับมาทางานได้ตามปกติจงึ ทาให้เกิดโครงงานนี้ขน้ึ
การดาเนินงานโครงงานการลดเวลาในการซ่อมเครื่องจักร เนื่องจากการซ่อมเครื่องจักรต้องทา
ด้วยความรวดเร็วเพือ่ ลดเวลาในการหยุดเครื่องจักรซึง่ มีผลในเรื่องของการผลิต ทาให้เกิดแนวคิดในการ
นา จอภาพทัชสกรีนมาประยุกต์ใช้ โดยการออกแบบโปรแกรม เพือ่ ให้จอภาพทัชสกรีนแสดงสถานะ การ
ทางานของอุปกรณ์ในเครื่องจักร ทัง้ นี้ผทู้ จ่ี ะใช้ประโยชน์จากโครงการนี้ ต้องมีความรู้ในเรื่องขัน้ ตอนการ
ทางานของเครื่องจักร ซึ่งการเขียนโปรแกรมจอภาพทัชสกรีน นี้ไม่จากัดว่าจะต้องเป็ นเครื่องจักรใด
เครื่องจักรหนึ่ง เพราะสามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้กบั เครื่องจักรอื่นได้ ซึ่งโครงงานนี้เลือกนาไปใช้กบั
เครื่อ งขึ้นรูป ยาง เพราะมีขนั ้ ตอนการทางานที่ซับซ้อน มีต าแหน่ งเซ็นเซอร์ท่มี องเห็นได้ย าก ทาให้
เสียเวลาในการค้นหาปญั หาทีเ่ กิดกับเครื่องจักร
โครงการนี้จดั ทาขึ้นเพื่อลดเวลาในการค้นหาปญั หาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักร ด้วยวิธนี าจอภาพ
ทัชสกรีนมาประยุ กต์ใช้ โดยการออกแบบโปรแกรมเพื่อ ให้ท ราบถึงสถานะและต าแหน่ งต่ างๆ ของ
อุปกรณ์ทอ่ี ยู่ภายในเครื่องจักร ทาให้ทราบถึงปญั หาต่างๆที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรได้อย่างรวดเร็ว และ
แก้ไขได้ทนั ท่วงทีทาให้เวลาในการหยุดการทางานของเครื่องจักรนัน้ สัน้ ทีส่ ดุ เพือ่ ให้เกิดผลเสียต่อระบบ
การผลิตน้อยทีส่ ดุ
2

1.2 วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ศึกษาโปรแกรมและออกแบบหน้าจอทัชสกรีน
2. เพือ่ ลดระยะเวลาในการซ่อมเครื่องจักร

1.3 ขอบเขตของโครงงาน

1. ใช้งานกับเครื่องจักรทีค่ วบคุมด้วยระบบ พีแอลซี


2. ใช้จอทัชสกรีน Pro-face ในการตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ของเครื่องจักร
3. ออกแบบโปรแกรม GP-PRO/PBIII เพื่อใช้กับจอทัชสกรีนในการตรวจสอบสถานะของ
เครื่องจักร

1.4 แผนการดาเนิ นงาน

1. ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
2. วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลต่างๆ เพือ่ ใช้ในการปรับปรุง
3. ออกแบบโปรแกรม
4. ทดสอบการใช้งานและบันทึก
5. แก้ไขปรับปรุง
6. บันทึกข้อมูลต่างๆ หลังจากทีไ่ ด้มกี ารปรับปรุง
7. ทารายงานสรุปผลโครงงาน
3

ระยะเวลาในการทาโครงงาน เริม่ จาก เดือน ธันวาคม 2553 ถึงเดือน มีนาคม 2554 เป็ นเวลา 4
เดือน แสดงดังตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 แสดงแผนการดาเนินงาน


เดือน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
ขัน้ ตอนที่ / สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1.ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล

2.วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลต่างๆ เพือ่ ใช้


ในการปรับปรุง

3.ออกแบบโปรแกรมและป้อนข้อมูล
4.ทดสอบการใช้งานและบันทึกข้อมูล
5.ปรับปรุงแก้ไข
6.บันทึกข้อมูลต่างๆ หลังจากที่ได้มกี าร
ปรับปรุง
7.ทารายงานสรุปผลโครงงาน

1.5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั

1. ลดระยะเวลาในการซ่อมเครื่องจักร
2. ลดการสูญเสียผลผลิต
3. ได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับการออกแบบหน้าจอทัชสกรีน
4

บทที่ 2

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 ทัชสกรีน

เป็ นอุปกรณ์ส่อื สารระหว่างคนและเครื่องจักร (HMI) จะแสดงผลในรูปของ Graphic Panel


สามารถติดต่อกับ พีแอลซี ได้หลายรุ่นโดยสามารถแสดงผลค่าต่างๆ บนจอและสามารถสัมผัสหน้ าจอ
เพือ่ สังงานได้
่ ทนั ที

รูปที่ 2.1 Pro-face รุ่น GP-2000 Series

GP-2600-TC-11, GP-2600-TC41-24V

- ความละเอียด 800x600 pixels


- จอภาพ LCD สี TFT 256 สี ขนาด 12.1 นิ้ว
- หน่ วยความจาหน้าจอ 4 MB
- ระดับความสว่าง 4 ระดับ
- การสือ่ สาร RS-232C/RS-422, Ethernet
- ไฟเลีย้ ง AC 85-132 V.ไฟเลีย้ ง DC 19.2 - 28.8 V
- อุณหภูมใิ ช้งาน 0 องศา ถึง 50 องศา
- ความชืน้ ใช้งาน 10 - 90 % RH
- มาตรฐานการป้องกัน IP65 F เฉพาะด้านหน้าของ GP
5

โครงงานนี้ใช้ทชั สกรีนยี่ห้อ Pro-face รุ่น GP 2600 การเชื่อมต่อกับโปรแกรมเมเบิลลอจิก


คอนโทรลเลอร์ (PLC) โดยใช้ module รุ่น QJ71C24 ใช้สาย RS422 การเชื่อมต่อ

รูปที่ 2.2 การเชื่อมต่อ พีแอลซี กับ ทรัชสกรีน โดยใช้ module รุ่น QJ71C24
6

2.2 ซอฟท์แวร์ GP-PRO/PBIII

ในการที่จ ะสร้ า งหน้ า จอส าหรับ แสดงผล (GP) นั ้น จ าเป็ น ต้ อ งมีซ อฟท์ แ วร์ ท่ีเ รี ย กว่ า
[GP-PRO/PBIII] โดยซอฟท์แ วร์ ที่ว างขายใน ป จั จุบนั คือ [C-Package] ซึ่งจะรวมเอาซอฟท์แ วร์
[GP-PRO/PBIII] และซอฟท์แวร์ [Pro-control Editor] เข้าไว้ดว้ ยกัน

1. ซอฟท์แวร์ GP-PRO/PB III C-Package03

2. เครื่องคอมพิวเตอร์วนิ โดว์

3. GP (GLC) 2000 series *1

4. Transfer Cable * 2
GPW-CB02 (Serial)/GPW-CB03 (USB)

รูปที่ 2.3 ซอฟท์แวร์และสิง่ ทีจ่ าเป็ นในการพัฒนา


7

*1 เครื่องGLC มีฟงั ก์ชนควบคุ


ั่ มเพิม่ เข้ามาจากฟงั ก์ชนการแสดงผลของเครื
ั่ ่อง
*2 อาจส่งข้อมูลผ่านทางสายEthernet Cable หรือ CF card ได้เช่นกัน เครื่อ ง GPต้องมี
Ethernet I/F หรือ CF card I/F
*3 หากต้องการพิมพ์จากเครื่อง GP ต้องมีสายต่อเครื่องพิมพ์ โดยมีข้อจากัดในเรื่องประเภท
ของหัวต่อ

ตารางที่ 2.1 ระบบทีร่ องรับการใช้งานซอฟท์แวร์


อุปกรณ์ GPPRO-CNT01W-P03

เครื่องทีม่ รี ะบบปฏิบตั กิ าร ควรเป็ น Pentium II


วินโดว์ทถ่ี ูกต้อง 266MHz หรือสูงกว่า
คอมพิวเตอร์ สามารถทางานร่วมกับ
PC/AT ได้

ควรเป็ น SVGA 800,600


ความละเอียดของหน้าจอ หรื
อสูงกว่าSVGA 800ืื600 หรือสูงกวา
ควรเปน

สูงสุด 210 เมกกะไบต์ พืน้ ทีว่ ่างหลังจากการ


พืน้ ทีฮ่ าร์ดดิสค์ ติดตัง้ ต้องมากกว่า 3 เท่า
ของขนาดของไฟล์โปรเจค

หน่ วยความจา 32M ไบต์หรือสูงกว่า ควรเป็ น 64M หรือสูงกว่า

ดิสค์ไดร์ฟ ต้องมี CD-ROM ควรเป็ น 64M หรือสูงกว่า


8

วินโดว์ 95

วินโดว์ 98

วินโดว์ NT Ver4.0 or more Service Pack3 หรือสูง


ระบบปฏิบตั กิ าร
กว่า

วินโดว์ 2000

วินโดว์ Me

ข้อแนะนา
จุดเริ่ มต้นของการพัฒนาจอแสดงผล

การถ่ายโอนข้อมูลไฟล์ทส่ี ร้างขึน้ จากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังจอแสดงผลทาให้เกิดการสื่อสาร


ขึน้ ระหว่าง จอแสดงผลกับเครื่อง พีแอลซี ดังนัน้ จึงเป็ นไปได้ท่จี ะแสดงผลและสังงานข้
่ อมูลของเครื่อง
พีแอลซี ผ่านทางจอแสดงผล

รูปที่ 2.4 การเชื่อมต่อระหว่าง ทัชสกรีน พีแอลซี และคอมพิวเตอร์

* ซอฟท์แวร์ในการสร้างไฟล์โปรเจค และเมื่อบันทึกข้อมูลที่สร้างโดยใช้ซอฟท์แวร์บนเครื่อง
คอมพิวเตอร์จะเกิดเป็ นไฟล์ (.prw) ขึน้ ให้มองว่าไฟล์โปรเจคนัน้ เท่ากับ (ข้อมูลจานวนมากทีถ่ ูกถ่ายโอน
ไปยังจอแสดงผล)
9

ขัน้ ตอนการวาดรูป

1. เปิ ดโปรแกรม
ดับเบิล้ คลิกที่ไอคอนบนหน้ าจอ (เมื่อ มีไอคอนลัด ที่ส ร้างไว้แ ล้ว ) หรือ ไปที่ปุม [Start] ของ
วินโดวส์ -> [Program] -> [Pro-face] ->[C-Package03] จากนัน้ เลือก [Project Manager] เพื่อที่จะเปิ ด
โปรแกรม GP เมือ่ เปิ ดโปรแกรมจะมีหน้าจอแรกปรากฏขึน้ เรียกว่า Project Manager

2. ขัน้ ตอนการสร้างไฟล์โปรเจคใหม่เพื่อถ่ายโอนหน้ าจอ

รูปที่ 2.5 ขัน้ ตอนการสร้างไฟล์โปรเจคใหม่เพือ่ ถ่ายโอนหน้าจอ


10

ข้อแนะนา

มีหน้าจอแสดงผลอยู่ 2 ประเภทดังรูปด้านล่าง สามารถสับเปลีย่ นได้โดยการคลิกที่ “Change


Project Manager”

คลิกทีน่ ่จี ะทาให้การแสดงผล คลิกทีน่ ่จี ะทาให้การแสดงผล


เปลีย่ นเป็ นแสดงผลแบบลาดับขัน้ เปลีย่ นเป็ นแสดงผลแบบปกติ

รูปที่ 2.6 การเปลีย่ นรูปแบบหน้าจอแสดงผล

ข้อแตกต่างระหว่าง Project Manager แต่ละแบบ

ในการแสดงผลแบบปกตินัน้ จะสามารถจัด การได้เพีย งทีละหนึ่งโปรเจคเท่ านัน้ แต่ ในการ


แสดงผลแบบลาดับขัน้ นัน้ จะเหมือนกับในWindows Explorer ที่ผู้ใช้งานจะมองเห็นรายการของไฟล์
โปรเจคหลายๆไฟล์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้พร้อมกัน นอกจากนี้ยงั มองเห็นหน้าจอหลักและสามารถทีจ่ ะ
คัดลอกหน้าจอหลักจากไฟล์ [A.prw] ถึง [B.prw] ได้ดงั นัน้ จึงเป็ นการง่ายหากต้องการแก้ไข (อย่างไรก็
ตามผูใ้ ช้งานไม่สามารถเปิ ดตัวแก้ไขหน้าจอได้หลายๆหน้าต่างได้)
11

คาอธิ บายแถบเมนูและไอคอนต่างๆ
1

รูปที่ 2.7 คาอธิบายแถบเมนูและไอคอนต่างๆ

1. - Project: สาหรับตัง้ ค่าทีเ่ กีย่ วข้องกับไฟล์โปรเจคทัง้ หมด


- Screen/Setup: สาหรับการวาด/การแก้ไข, การตัง้ ข้อความการเตือน, และการตัง้ ค่าฟงั ก์ชนั ่
การใช้งาน
- Control: สาหรับการสร้างลอจิกGLC
- Utility: สามารถเลือกเครื่องมือ เช่นการจัดกลุ่มการเปลีย่ นแปลงของแอดเดรส หมายเลข
หน้ า จอและแสดงรายการแอดเดรสที่ถู ก ใช้ ง านนอกจากนี้ ย ัง สามารถใช้ แ ปลงรู ป ภาพจากสกุ ล
(BMP, JPG) และไฟล์CAD (สกุลDXF) เพือ่ นามาใช้ในเครื่องGP
2. - GP Setup: ตัง้ ค่าอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับหน่ วยแสดงผล
3. - Project: เลือกไฟล์โปรเจคใหม่หรือไฟล์ทม่ี อี ยู่
- Editor:[Screen] สร้างหน้าจอสาหรับเครื่อง GP
[Alarm] ลงทะเบียนข้อความการเตือน
[Print] ตัง้ ค่าการพิมพ์
- Transfer: [Transfer] ถ่ายโอนไฟล์โปรเจคไปยังเครื่อง GP
12

เปลีย่ นรุ่นของเครื่องGP
เปลีย่ นชนิดของอุปกรณ์/เครื่องควบคุม
เปลีย่ นการตัง้ ค่าExpansion SIO

ข้อควรระวัง

เมือ่ เปลีย่ นอุปกรณ์/ตัวควบคุมแล้ว ต้องแน่ ใจว่าได้ตรวจสอบแอดเดรสทีไ่ ด้กาหนดไว้ว่าถูกต้อง


4. คลิก [Yes]

การสร้างไฟล์โปรเจค

คลิกที่

เลือกชนิ ดของเครื่อง GP และชนิ ดของอุปกรณ์


1. เลือกชนิดของเครื่อง GP
2. เลือกชนิดของอุปกรณ์/ตัวควบคุมทีเ่ ชื่อมต่อ
3. หลังจากตัง้ ค่าตามข้อ 1 และ 2 แล้วคลิก [OK]
4. คลิก [Yes]

รูปที่ 2.8 เลือกชนิดของเครื่อง GP และชนิดของอุปกรณ์


13

ข้อควรระวัง

ในการจะสร้างหน้าจอนัน้ ต้องมันใจว่่ าชนิดของเครื่องGP เหมาะสมกับจอแสดงผลและกาหนด


ชนิดของอุปกรณ์ให้ตรง กับอุปกรณ์ทจ่ี ะต้องติดต่อสือ่ สารจริง หากถ่ายโอนข้อมูลไปยังชุดอุปกรณ์ท่ผี ดิ
ไปจากทีต่ งั ้ ไว้ เครื่องจะแสดงว่าเกิดผิดพลาดขึน้

เปิ ดหน้ าจอใหม่

คลิกทีไ่ อคอน New

เลือกหน้ าจอหลัก 2

1. เลือก [Base Screen]


2. คลิก [OK] 1
3. จะปรากฏหน้าจอหลักหน้าจอใหม่ขน้ึ

รูปที่ 2.9 กาหนดชนิดของอุปกรณ์ในการติดต่อสือ่ สาร


14

วิ ธีการสื่อสารและข้อผิ ดพลาดในการสื่อสาร

1. วิ ธีการสื่อสาร

วิธกี ารสือ่ สารระหว่างเครื่องGP และเครื่อง พีแอลซี นัน้ โดยทัวไปจะผ่


่ านทางสายserial cable
(RS232C, RS422) แต่ยงั มีการ สื่อสารความเร็วสูงผ่านทางEthernet หรือการสื่อสารอื่นๆ ผ่านทาง
โครงข่ายแบบเปิ ด (จาเป็ นต้องมีเครื่องมือเพิม่ เติม
*สาหรับรายละเอียดวิธกี ารสื่อ สาร โปรดดูตามคู่มอื การเชื่อ มต่ออุ ปกรณ์ [Unit Connection
Manual]

2. ข้อผิ ดพลาดในการสื่อสาร

เมือ่ เกิดข้อผิดพลาดในการสือ่ สารขึน้ จะมีรหัสข้อผิดพลาด [02:**] ปรากฏขึ้นทางด้านล้างซ้าย


ของหน้าจอเครื่องGP ข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ แตกต่างกันไปตามรหัสข้อผิดพลาดทีแ่ สดง สวนทีเ่ ป็ น
**นัน้ จะแสดงรหัสข้อผิดพลาดของเครื่อง PLC

เกิดข้อผิดพลาดขึน้

Error 02 **
รหัสข้อผิดพลาดจะแสดงดังทีใ่ นภาพ

รูปที่ 2.10 การแสดงรหัสข้อผิดพลาดของ พีแอลซี


15

รหัสข้อผิ ดพลาดที่ พบบ่อยแสดงดังต่อไปนี้

(ตัวอย่าง) เมือ่ ปรากฏรหัส [02: FE], [02: FF], หรือ [02: FD] รหัสเหล่านี้หมายถึงเครื่องPLCไม่
ตอบสนองต่อคาสังจากเครื
่ ่องGP หรือไม่มคี าสังใดๆส่
่ งมายังเครื่องพีแอลซี
การแก้ขอ้ ผิดพลาด
1. ตรวจสอบว่าเครื่องพีแอลซี ทีก่ าหนดไว้ในเครื่องGPตรงกับเครื่องพีแอลซีทน่ี ามาต่อหรือไม่
2. ตรวจสอบการตัง้ ค่าการสือ่ สารระหว่างเครื่อง GPและเครื่องพีแอลซีว่าตรงกันหรือไม่
3. ตรวจสอบสายเคเบิลทีใ่ ช้ต่อเครื่องGPกับเครื่องพีแอลซีว่าถูกต้องและขาดหรือไม่
4. ตรวจสอบว่าสภาพแวดล้อมการทางานของเครื่องนัน้ มีสญ ั ญาณรบกวนการสื่อสารระหว่าง
เครื่องGPและเครื่องพีแอลซีหรือไม่

การถ่ายโอนหน้ าจอ
1. การถ่ายโอนหน้ าจอ

ในการถ่ายโอนหน้ าจอไปยังเครื่องGPนัน้ มีทงั ้ หมดด้วยกัน 3 วิธคี อื ผ่านทางTransfer Cable,


Ethernet, และCF Card
1. Transfer Cable
Transfer cables ทีใ่ ช้ได้
Digital: GPW-CB02 (เครื่องGP: Circle 8 Pin, เครื่องคอมพิวเตอร์: D-sub9 Pin)
Digital: GPW-CB03 (เครื่องGP: Circle 8 Pin, เครื่องคอมพิวเตอร์: USB)
2. Ethernet
Ethernet cables ทีใ่ ช้ได้ (commercial)
เมือ่ ต่อเครื่องGPเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง: Cross Cable
เมือ่ ถ่ายโอนข้อมูลผ่านHUB: Straight Cable
*จาเป็ นต้องมีEthernet I/F ทางด้านเครื่องGP
3. CF Card
CF Card ทีใ่ ช้ได้
Digital: CA3-CFCALL64/128/256/512MB-01(64/128/256/512MB)
16

2 .หน้ าจอถ่ายโอนข้อมูล
1

คลิกทีไ่ อคอน [Transfer]

*เลือกจากเมนู หรือเลือกจากตัวแก้ไข
*เมือ่ มีการถ่ายโอนข้อมูลจาเป็ นต้องมีการบันทึกข้อมูล
รูปที่ 2.11 หน้าจอถ่ายโอนข้อมูล
3. การตัง้ ค่าการถ่ายโอนข้อมูล

คลิกทีไ่ อคอน [Transfer Settings]


*อาจเลือก [Transfer Settings] จาก [Setup] บนแถบเมนู

4
7
5

8
17

รูปที่ 2.12 การตัง้ ค่าการถ่ายโอนข้อมูล


2. - เมือ่ ถ่ายโอนข้อมูลผ่านทางสายเคเบิล้ transfer cable ให้เลือกที่ช้อง [COM] เมื่อผ่านทาง
Ethernet ให้เลือกที่ [Ethernet] หรือ [Ethernet: Auto Acquisition]
*ในกรณีทใ่ี ช้ Ethernet Transfer จาเป็ นต้องมี การกาหนด IP Address และ Subnet Mask ที่
เครื่องGPไว้ลว้ งหน้า
3. - Upload Information: หากต้องการถ่ายโอน ข้อมูลโดยไม่ได้เลือกทีช่ อ้ งนี้นนั ้ จะไม่สามารถ
อัพโหลดข้อมูลจากเครื่อง GP ไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้ GP System Screen: ส่งระบบ
4. - Send All Screens: ถ่ายโอนข้อมูลหน้าจอทัง้ หมด
Automatically Send Changed Screens: โปรแกรมถ่ายโอนข้อมูลนัน้ จะแบ่งแยกหน้ าจอ
โดยอัตโนมัตแิ ละถ่ายโอน เฉพาะหน้าจอทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงเท่านัน้ แต่อย่างไรก็ตามจาเป็ นต้องมีการส่ง
ไฟล์โปรเจคเดียวกันไปยังเครื่องGP ก่อนทีจ่ ะถ่ายโอนหน้าจอ
Send User Selected Screens: ผูใ้ ช้งานสามารถกาหนดหน้ าจอที่ต้องการถ่ายโอนข้อมูล
ได้โดยตรง แต่อย่างไรก็ตาม จาเป็ นต้องมีการส่งไฟล์โปรเจคเดียวกันไปยังเครื่องGPก่อนที่จะถ่ายโอน
หน้าจอ
5. - Preparation for a transfer and a transfer are made simultaneous: เนื่องจากสามารถ
ทาการเตรียมการส่งข้อมูลและทา การส่งข้อมูลได้ในเวลาเดียวกันจึงทาให้มกี ารส่งแบบความเร็วสูง เมือ่ มี
ข้อผิดพลาดเกิดขึน้ หลังจากเริม่ รับข้อมูลในการถ่ายโอนหน้าจอทัง้ หมด เป็ นต้น เครื่องGP อาจมีสถานะ
เริม่ ต้น
- It is transferred after preparation for a transfer is finished. ตรวจสอบว่าไม่ ข้อผิดพลาด
เกิดขึน้ หลังจากเสร็จการเตรียมการถ่ายโอนข้อมูล จากนัน้ ทาการถ่ายโอนข้อมูล
6. - Automatic Setup: ตัง้ ค่าตามสถานะเครื่องGP ทีป่ ลายทาง
- Force System Setup: ตัง้ ค่าทุกๆการถ่ายโอนข้อมูล
- Do Not Perform Setup: ไม่มกี ารตัง้ ค่า
7. - กาหนดว่าต้องการถ่ายโอนโปรโตคอลสาหรับจาลองการทางานหรือไม่
8. - เลือกไฟล์ทต่ี อ้ งการตัง้ ค่า โดยปกติไม่จาเป็ นต้องมีการเปลีย่ นแปลง
หากผู้ใช้งานเลือกที่English และทาการตัง้ ค่าแล้วนัน้ หน้ าจอเมื่ออยู่ในสถานะOffline จะแสดงเป็ น
ภาษาอังกฤษ

การโหลดหน้ าจอ

การโหลดหน้าจอจะทาให้ผใู้ ช้งานสามารถโหลดการตัง้ ค่าของวัตถุจากหน้าจออื่นมาใช้ในหน้าจอ


ปจั จุบนั ได้ มีความสะดวกหากต้องการแสดงผลสวิตช์ /หลอดไฟตัวเดียวกันในหน้ าจอหลายๆ หน้ าจอ
หากผู้ใช้งานแก้ไขวัตถุ แ หล่งกาเนิด วัตถุท งั ้ หมดที่ป ลายทางก็จะถู กแก้ไขด้วย ดังนัน้ คุณจะสามารถ
บันทึกงานไว้ใช้สาหรับการ แก้ไขครัง้ ต่อไป
18

* วัตถุหมายถึง รูปวาด/สวนแสดงผล/tagทีอ่ ยู่บนหน้าจอ

เลือกโหลดหน้ าจออย่างไร

1.คลิกทีไ่ อคอน [Load Screen] 1

2. การโหลดค่าของหน้ าจอ

1. เลือกประเภทของหน้าจอ และหมายเลขหน้าจอทีแ่ หล่งกาเนิด


2. เลือกหน้าจอปลายทางและคลิก [OK] เพือ่ การวาง

2
1

รูปที่ 2.13 การเลือกโหมด และโหลดค่าหน้าจอ


19

2.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิ กคอนโทรลเลอร์ (PLC)


1.โครงสร้างพืน้ ฐานของ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC)
2. หลักการเขียนโปรแกรม
การควบคุม โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC)
ระบบการควบคุมแต่เดิมจะประกอบด้วยอุ ปกรณ์ ทางด้านฮาร์ด แวร์ (Hardware) เช่น รีเลย์
(Relay) ตัวตัง้ เวลา (Time) ตัวนับเวลา (Counter) และอื่นๆ การทางานของระบบควบคุมจะมีอยู่ดว้ ยกัน
อยู่ 2 สภาวะ คือสภาวะเปิ ด กับ สภาวะปิ ด หรือแบบ ON และ OFF นัน่ เอง ระบบการควบคุมแบบเดิม
จะมีข้อเสีย อยู่ด้ว ยกันหลายประการ เช่น มีข นาดใหญ่ สิ้นเปลืองเนื้อที่ มีกาลังงานสูง ใช้เวลาในการ
ประกอบติดตัง้ นาน รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขการทางานได้ยาก ไม่เหมาะกับการควบคุมแบบซับซ้อน
เนื่องจากปจั จุบนั ได้มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) เป็ น
อย่างมาก จึงได้มกี ารนาอุปกรณ์ตวั นี้มาประยุกต์ในงานหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการควบคุม
แบบต่อเนื่องทาให้มกี ารผลิตเครื่องควบคุมชนิดโปรแกรม (Programmable Logic Controller) หรือเรียก
สัน้ ๆ ว่า พีแอลซี ขึน้ มาใช้กบั การควบคุมสาหรับงานด้านอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรล (PLC) จะมีสว่ นทีเ่ ป็ น อินพุต ต่อเข้ากับตัวตรวจจับต่างๆ (Sensor)
เช่น สวิท ช์ ลิม ิต สวิท ช์ สวิท ช์ ลาแสง และส่ ว นOUTPUT จะต่ อ ไปควบคุ มอุ ป กรณ์ เพื่อ ไปควบคุ ม
เครื่องจักร เช่น มอเตอร์ โซลินอยด์ โดยสามารถสร้างวงจร และเงือ่ นไขการทางานของเครื่องจักรได้จาก
การป้อ นโปรแกรมคาสังเป็ ่ น แลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) ซึ่งโปรแกรมนี้จะท าหน้ า ที่
เหมือนกับวงจรรีเลย์ ตัวตัง้ เวลา ตัวนับ และอื่นๆ
โดยการทางานของโปรแกรมจะทาตามขัน้ ตอนการเขียนโปรแกรมทุกประการ โดย พีแอลซี จะ
สร้างอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ ภายในตัวเองด้ว ยซอฟแวร์ (Software) ปรากฏอยู่ในรูปของฟงั ก์ชนการ ั่
ทางาน ทีต่ รงกับสภาพความเป็ นจริง โดยเงื่อนไขต่างๆ ที่เขียนโปรแกรมจะมีลกั ษณะคล้ายกับการต่อ
สายของอุปกรณ์เหล่านี้เป็ นวงจนขึ้นมา แต่เนื่องจากเป็ นการทางานของซอฟแวร์ (Software) จึงทาให้
สามารถแก้ไขและเพิม่ เติมวงจรได้จากตัวป้อนโปรแกรมของพีแอลซีหรือคอมพิวเตอร์ จึงทาให้สะดวก
และง่ายกว่าการเดินสายไฟในระบบวงจรรีเลย์จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น
20

2.3.1 โครงสร้างของพีแอลซี

ส่วนประกอบทีส่ าคัญ แบ่งออกเป็ น 5 ส่วนดังนี้


1. หน่ วยประมาณผล (CPU UNIT)
2. หน่ วยความจา (MEMORY UNIT)
3. หน่ วยอินพุต/เอาท์พตุ (INPUT/OUTPUT UNIT)
4. แหล่งจ่ายไฟ (POWER SUPPLY)
5. อุปกรณ์ต่อร่วม (PERIPHERAL DEVICES)

POWER SUPPLY

PUSH BUTTON RELAY


LIMIT SWITCH MEMORY CONTACTOR
SENSOR SOLENOID
- IN OUT
ETC.

- PUT CPU PUT

PROGRAMMING
DEVICE

รูปที่ 2.14 ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างของ พีแอลซี

1. หน่ วยประมวลผล (CPU UNIT) ทาหน้าทีใ่ นการควบคุมการทางานของระบบทัง้ หมดโดยรับ


ข้อมูลอินพุตเข้ามาทาการประมลผลในโปรแกรมคาสังใช้ ่ งานแล้วส่งออไปเอาท์พุต หลังจากนัน้ ก็จะวน
กลับไปรับข้อมูลอินพุตเข้ามาแล้วจะทาซ้าๆ ในลักษณะนี้เรื่อยๆ

รูปที่ 2.15 ภาพแสดงลักษณะของหน่วยประมวลผล (CPU UNIT)


21

โดยการทางานของ ซีพยี ู ในแต่ละรอบการทางานเราเรียกว่า ไซเคิลไทร์ (Cycle Time) หรือ


เรีย กอี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า การสแกน ส าหรับ เวลาในแต่ ล ะรอบของการท างาน ขึ้น อยู่ กับ ขนาดของ
หน่ วยความจาและความเร็วของหน่ วยประมวลผล รวมถึงโปรแกรมการควบคุมทีผ่ ใู้ ช้ป้อนไว้ใน ซีพยี ู ซึ่ง
ช่วงเวลาของรอบการทางาน จะทาให้ทราบถึงความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงของ
อินพุตและเอาท์พตุ ว่ามีความเร็วในการทางานเพียงใด

รูปที่ 2.16 ภาพแสดงการแสกนทีม่ ผี ลตอบสนองต่อ อินพุตและเอาท์พตุ

I / O REFRESH ข้อมูลใหม่ อินพุตและเอาท์พตุ ทุกรอบการทางาน


VOERSEEING ระบบการตรวจสอบ และการเซ็ทค่ากาหนดเวลาของรอบการทางาน
INSTRUCTION EXECUTION ปฏิบตั คิ าสังโปรแกรมใช้
่ งานทีผ่ ใู้ ช้ลงใน ซีพยี ู
CPU PROCRESSING ระบบกระบวนการขัน้ ตอนการทางานของ ซีพยี ู

2. หน่ วยความจา (Memory Unit) เป็ นองค์ประกอบสาคัญของระบบเพราะใช้เป็ นที่เก็บ


โปรแกรมและข้อมูล ขนาดของหน่ วยความจาเป็ นสิงทีก่ าหนดความสามารถของระบบ ปกติจะมีขนาดวัด
เป็ นสเต็ป ของคาสังการเขี
่ ย นโปรแกรม ระบบมีข นาดหน่ ว ยความจามาก ท าให้ผู้ใช้ส ามารถเขีย น
โปรแกรมที่มคี วามซับซ้อ นมากขึ้น และหน่ ว ยความจาที่นิ ย มนามาใช้กับ พีแ อลซี ในป จั จุบนั คือ
หน่ วยความจาแบบ ROM, RAM, EPROM, EEPROM
22

รูปที่ 2.17 ภาพแสดงหน่ วยความจา (MEMORY UNIT)

2.1 หน่ วยความจา ROM (Read Only Memory) เป็ นหน่ วยความจาถาวรที่ใช้เก็บ
โปรแกรม หน่ วยความจาแบบนี้ใช้อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนโปรแกรมเข้าไปได้
2.2. หน่ วยความจา RAM (Random Access Memory) เป็ นหน่ วยความจาที่ใช้กบั
โปรแกรมควบคุมทีป่ ้ อนโดยผูใ้ ช้ให้กบั พีแอลซี ทัง้ นี้เพราะโปรแกรมควบคุมอาจมีการเปลีย่ นแปลงแก้ไข
ดังนัน้ จึงใช้หน่ วยความจาทีส่ ามารถลบข้อมูลได้ และนาโปรแกรมใหม่ เข้าไปเก็บไว้ได้ในการใช้งานจริง
จะต้องมีแหล่งจ่ายไฟสารองต่อไว้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้ขอ้ มูลเสียหายเมือ่ ไฟดับ
2.3. หน่ วยความจา EPROM (Erasable Programmable Only Memory) เป็ น
หน่ วยความจาสาหรับเก็บโปรแกรมทีม่ กี ารพัฒนาจนใช้การได้ด ี แล้วต้องการเก็บไว้เป็ นโปรแกรมถาวร
และในการอัดโปรแกรมจะทาได้โดย ถ่ายข้อมูลจากหน่ วยความจา RAM ลงสู่หน่ วยความจา EPROM
โดยอาศัยเครื่องอัดโปรแกรมชนิดพิเศษ (EPROM Writer) ซึง่ จะทาให้ได้โปรแกรมถาวร และพร้อมที่จะ
นาสู่การติด ตัง้ (Installation) ลงใน พีแ อลซี ท างานตามโปรแกรมที่บรรจุอยู่ ในหน่ ว ยความจา และ
หน่ วยความจาประเภทนี้ โปรแกรมจะไม่มกี ารสูญหายเมื่อไฟดับ แต่ถ้ามีความจาเป็ นที่จะลบโปรแกรม
ภายในก็สามารถทาได้โดยการใช้เครื่องล้างโปรแกรม
2.4. หน่ วยความจา EPROM (Eclectically Erasable Programmable Read Only
Memory) เป็ นหน่ วยความจาที่ถูกพัฒนามาจากข้อเสียของหน่ วยความจา RAM และ EPROM เป็ น
หน่ วยความจาทีไ่ ม่สามารถเขียนโปรแกรมได้ แต่สามารถถ่าย โปรแกรมจากหน่ วยความจา RAM ลงสู่
หน่ วยความจา EEPROM หรือจากหน่ ว ยความจา EEPROM ลงสู่หน่ วยความจา RAM ได้โดยตรง
หน่ ว ยความจาประเภทนี้ ไม่จาเป็ นต้ อ งมีไฟเลีย้ งเหมือ นหน่ วยความจา RAM สามารถท าหารแก้ไข
เปลีย่ นแปลงโปรแกรมได้ตามต้องการ และเมือ่ ต้องการลบโปรแกรมก็สามารถใช้ไฟลบออกได้ หรือเขียน
โปรแกรมใหม่ทบั ลงไป
23

3. หน่ วยอินพุต/เอาท์พตุ (Input/output unit)


3.1. หน่ วยอินพุต ทาหน้าทีร่ บั สัญญาณจากอุปกรณ์ดา้ น อินพุต ภายนอก เช่น สวิทซ์
และตัวตรวจจับต่ างๆ แล้วแปลงชนิดของสัญญาณ อินพุต ภายนอกไม่ว่าจะเป็ น AC, DC ให้เป็ น
สัญญาณทีเ่ หมาะสม เพือ่ ส่งเข้าไปให้แก่หน่ วยประมวลผลกลาง ในการติดต่อส่งสัญญาณระหว่างหน่ วย
อินพุตกับหน่ วยประมวลผลกลาง จะติดต่อด้วยลาแสดงโดยใช้อุปกรณ์โฟโต้ทรานซิสเตอร์ ทัง้ นี้เพื่อเป็ น
การแยกสัญญาณ (Isolate) ทางไฟฟ้าให้ออกจากกัน เพื่อ ป้องกันไม่ให้ห น่ วยประมวลผลได้รบั ความ
เสียหายเมื่อ เกิด การลัด วงจร สาหรับหน่ ว ยอิน พุต ในปจั จุบนั จะมีอ ยู่ด้วยกันหลายแบบ เช่น แบบ
ดิจติ อล แบบอนาลอก แบบอุณหภูม ิ แบบการติดต่อระยะไกล (รีโมท) เป็ นต้น

รูปที่ 2.18 แสดงหน่ วยอินพุต (INPUT UINT)

3.2. หน่ ว ยเอาท์พุต (Output unit) ท าหน้ าที่ในการรับค่าสภาวะ ที่ได้จากการ


ประมวลผลของหน่ วยประมวลผลเพือ่ นาค่าสภาวะไปควบคุมอุปกรณ์ทางด้านอินพุตภายนอก เช่น รีเลย์
โซลินอยด์ มอเตอร์ หน่ วยเอาท์พทุ ของ พีแอลซี จะมีอยู่ดว้ ยกันหลายแบบ ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกใช้ให้ถูกต้องกับ
ลักษณะของงาน เช่น

รูท่ี 2.19 แสดงหน่วยเอาท์พตุ (OUTPUT UNIT)


24

3.3 เอาท์พุต แบบรีเลย์ ใช้งานกับไฟฟ้ากระแสสลับ หรือไฟฟ้ากระแสตรง โดยปกติ


เอาท์พตุ แบบรีเลย์สามารถขับโหลดด้วยกระแสประมาณ 2 แอมแปร์ ในกรณีท่โี หลดต้องการกระแสใช้
งานมากกว่านี้ผใู้ ช้จะต้องนาไปต่อกับอุปกรณ์ขบั หรือขยายอีกที่หนึ่ ง เช่น รีเลย์ โซลิดสเตทรีเลย์ หรือ
แมกเนติกคอนแทคเตอร์
3.4 เอาท์พทุ แบบไทรแอก เป็ นสารกึง่ ตัวนาจะถูกนาไปใช้กบั โหลดที่มกี ารเปิ ด – ปิ ด
บ่อยๆ เพือ่ ลดการอาร์ค เมือ่ มีการตัดต่อทางจรไฟฟ้า เช่นควบคุมการเปิ ด – ปิ ด ของโซลินอยด์เอาท์พุต
แบบทรานซิสเตอร์ ใช้งานทีม่ กี ารเปิ ด – ปิ ด บ่อยๆ ของไฟฟ้ากระแสตรง เพราะมีความเร็วในการทางาน
สูง ใช้ในการขับโหลดที่เป็ นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การแสดงผล 7 – Segment หรือต่อกับไดร์เวอร์
เพือ่ ขับสเต็ปปิ้ งมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์ เป็ นต้น
4. แหล่งจ่ายกาลังไฟ (Power Supply) ทาหน้าทีเ่ ปลีย่ นสัญญาณจากแหล่งจ่ายไฟภายนอก เช่น
100 – 240 VAC หรือ 24 VDC ให้เป็ นแรงดัน 5 VDC สาหรับจ่ายไฟให้กบั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ภายใน
หน่ วยประมวลผล อินพุตและเอาท์พุต หรืออุปกรณ์อ่นื ๆ ที่ประกอบใช้ใน พีแอลซี โดยการทางานของ
วงจรภายในแหล่งจ่ายไฟ เป็ นแบบวงจรสวิทซ์ชงิ่ ทาให้สามารถจ่ายกระแสให้กบั โหลดคงที่ นอกจากนี้ยงั
ผลิตแรงดัน 24 VDC เพื่อจ่ายกาลังไฟให้กบั อุปกรณ์อนิ พุตภายนอกของ เช่น สวิทซ์ และ เซ็นเซอร์
ต่างๆ เป็ นต้น

รูปที่ 2.20 แสดงแหล่งจ่ายกาลังไฟ (POWER SUPPLY)


25

5. อุปกรณ์ร่วม (Peripheral Devices) อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการต่อร่วมกับ พีแอลซี มีอยู่หลายอย่าง


เพือ่ ลดความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรมและเขียนโปรแกรม ประเภทและหน้ าที่ของอุปกรณ์ต่อร่วม
เป็ นดังตารางนี้

ตารางที่ 2.2 แสดงอุปกรณ์ทใ่ี ช้ต่อร่วมกับ พีแอลซี


26

(WATCHDOG TIME)

ALARM
(USERS PROGRAM EXECUTION)

ERROR
(CUMPUTE CYCLE)

( I/O PERRESCH )

PORT RS-232C

PORT

(PERIPHERAL PORT)

รูปที่ 2.21 แผนผังแสดงขัน้ ตอนการทางานของ PLC


27

6. ภาษาทีใ่ ช้ในการเขียนโปรแกรม แต่ก่อนภาษาทีใ่ ช้ในการเรียนโปรแกรมควบคุมต่างๆ จะมี


อยู่ ด้ว ยกัน หลายภาษา เช่น ภาษาแอสแซมบลี้ ภาษาเบสิก เป็ นต้น ซึ่งภาษาเหล่านี่ในการเขีย น
โปรแกรมหรือเวลาทีเ่ กิดปญั หาและต้องการแก้ไขจะทาให้ยาก ต้องอาศัยผู้ท่มี คี วามรู้ ความชานาญและ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ดัง้ นัน้ PLC จึงได้ถูกออกแบบมาใช้ในระบบควบคุมอัตโนมัตติ ่างๆ โดยใช้ภาษาที่
บุคคลทัวๆ ่ ไปสามารถศึกษาและเรียนรู้ทาความเข้าใจได้ง่ายและสะดวก ป จั จุบนั ภาษาที่รู้จกั และนิ ยม
นามาใช้เขียนควบคุมของ PLC จะประกอบด้วยดังนี้
6.1 ภาษาบูลนี (Mnemonic Code) เป็ นภาษาดิจติ อล หรือลอจิก ที่ LPC สามารถรับรู้ได้
โดยอาศัย Code คาสังแบบ ่ Mnemonic Code เช่น AND, OR, NOT เป็ นต้น สาหรับวิธกี ารเหล่านี้ จะใช้ตอ้ ง
มีตวั ป้อนโปรแกรมซึ่งในที่น้ีเรียกว่า โปรแกรมมิง่ คอนโซล (Programming Console) ที่มสี ญ ั ลักษณ์บน
แป้นคียค์ าสังแบบ
่ Mnemonic Code
6.2 ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) เป็ นภาษาที่ออกแบบเป็ นลักษณะที่
เหมือนกับการนาอุปกรณ์ต่างๆ มาต่อสายเป็ นวงจรไฟฟ้าจริงๆ ทาให้ผใู้ ช้สามารถเห็นการทางานจริงๆ และ
เข้าใจได้งา่ ย แต่ในความเป็ นจริง PLC สามารถที่จะรับรู้ได้ด้วย ตัวป้อนโปรแกรมจะต้องทาการแปลงจาก
(Ladder Diagram) ให้เป็ นภาษาเครื่อง หรือ (Mnemonic Code) ก่อน เนื่องจากภาษานี้มลี กั ษณะเป็ น
วงจรไฟฟ้าดังทีก่ ล่าวมา จึงเป็ นภาษาทีม่ ผี นู้ ิยมใช้งานกับ PLC มาติดตัง้ ลงในคอมพิวเตอร์
6.3 ภาษาบล็อกคาสัง่ (Function Chart) เป็ นภาษาทีม่ ลี กั ษณะเป็ น Block การทางาน โดย
โปรแกรมต่างๆ จะถูกรวบรวมให้อยู่ภายใน Block คาสังและวิ ่ ธกี ารใช้สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวก ไม่
จาเป็ นต้องมีความรูด้ า้ นวงจรไฟฟ้า เพียงแต่เข้าใจลาดับขัน้ ตอนของการทางานของเครือ่ งจักรก็สามารถเขียน
โปรแกรมควบคุมได้ สาหรับการเขียนโปรแกรมประเภทนี้สว่ นใหญ่จะใช้กนั มากแถบยุโรปและอเมริกา

2.3.2 หลักการเขียนโปรแกรม

1.ขัน้ ตอนในการเขียนโปรแกรม
1.1. รวบรวมจานวน และรายชื่อ อินพุต/เอาท์พตุ
1.2. กาหนดหน้าทีข่ องอินพุต/เอาท์พตุ ในโปรแกรม
1.3 นารายชื่ออินพุต/เอาท์พตุ ทีก่ าหนดใส่ลงในตาราง
28

ตารางที่ 2.3 แสดงตารางกาหนดข้อมูลอินพุต/เอาท์พตุ

PRODUCED VERIFED AUTHORIZED


BY BY BY
PC MODEL SHEET NO. 01 ANAN ANAN ANAN
COMI

R 000 UNIT No .1 MODEL : IR 100 Unit No.: 1 MODEL


CPU21 – E 0C222
00 START 00 PUMP RUN (M1)
02 STOP 02 PUMP STOP (L1)
03 OVERLOAD 03 PUMP OVERLOAD (L2)
04 04 PC RUN (L3)
05 05 BATT LOW (L4)
06 06

1.4. ทาตารางเก็บข้อมูลและหมายเลขของ Timer/Counter


1.5. ทาตารางเก็บ Data Memory (DM) ในกรณีทใ่ี ช้
1.6. เขียนโปรแกรมภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram)
1.7. เปลี่ยนแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) เป็ นภาษาบูลนี (Mnemonic
Code) เมื่อ ใช้กบั โปรแกรมมิง่ คอนโซล ในกรณีท่ใี ช้ซอฟแวร์ (Software) สามารถเขียนโปรแกรม
ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) ได้จากคอมพิวเตอร์โดยตรง
29

รูปที่ 2.22 แสดงขัน้ ตอนการเปลีย่ นวงจรควบคุม


1.8. ป้อนโปรแกรมลงใน พีแอลซี ตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม
1.9. ตรวจสอบการทางานของโปรแกรมตามเงือ่ นไข ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไข
ให้สมบรูณ์
1.10. เมือ่ ได้โปรแกรมทีส่ มบรูณ์สามารถเก็บข้อมูลโปรแกรมได้หลายวิธ ี เช่น เก็บไว้
เป็ นเอกสาร เก็บไว้ในหน่ วยความจา EPROM หรือในกรณีทใ่ี ช้ซอฟแวร์สามารถเก็บไว้ในแผ่นดิสก์ (ไดร์
A) หรือฮาร์ดดิสก์ (ไดร์ C) ของคอมพิวเตอร์ได้
2. ข้อกาหนดในการเขียนโปรแกรม
2.1. จานวนคอนแทคของ I/O Internal Auxiliary Relay, TIM/CNT จะมีโหลดเพื่อ
นามาเขีย นโปรแกรมจานวนเท่ าใดก็ได้ต ามความประสงค์ข องผู้ใช้ แต่ ถ ึงอย่ างไรก็ ต ามการเขีย น
โปรแกรมทีด่ จี ะต้องพยายามประหยัดให้มากเท่าทีส่ ามารถจะทาได้ ซึง่ จะทาให้ Scan Time มีคา่ น้อยลง
2.2. สาหรับแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) การพิจารณาจะทาจากซ้ายไป
ขวาเท่านัน้ เช่น
30

x00 x04
100

x01 x02

x03
ที่ 101

2.23 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder Diagram) ซึง่ ใช้งานไม่ได้

ถ้าภาพที่ 2.23 คอนแทค X00, X02 และ X03 มีสภาวะ “ON” ก็ไม่สามารถทาให้ เอาท์พุต 101
นัน้ “ON” ได้เลย ดังนัน้ ผูใ้ ช้จะต้องทาการจัดโปรแกรมเสียใหม่ เพื่อให้การพิจารณากระทาจากซ้ายไป
ขวา

x00 x04
100

x01 x02

x00 x02 x03


101

x01

รูปที่ 2.24 แสดง แลดเดอร์ไดอะแกรม ทีใ่ ช้งาน

2.3. การเขียนโปรแกรมเพือ่ ต่อ Coil ให้กบั BUS ทางด้านซ้ายโดยตรง ไม่สามารถทา


ได้ในกรณีท่ตี ้อ งการให้ท างานเหมือ นลักษณะกับต่ อโดยตรง ทาได้โดยการใช้ร ีเลย์ภ ายใน (Special
Relay) หมายเลข 25313 ทีม่ สี ภาวะเป็ น “ON” เมือ่ RUN โปรแกรม

x01
101 101

ทีผ่ ดิ ทีถ่ ูก

รูปที่ 2.25 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมทีผ่ ดิ และถูกแบบที่ 1


31

2.4. จานวนคอนแทค ทีใ่ ช้การต่ออนุ กรมหรือขนาน ไม่มขี ดี จากัดจะใช้เท่าใดก็ได้ขน้ึ อยู่


กับความต้องการของผูใ้ ช้
2.5. เอาท์พทุ ทุกเอาท์พทุ มีคอนแทคช่วย เพื่อใช้ในการเขียนโปรแกรมและไม่จากัด
จานวน
2.6. ไม่สามารถเขียนโปรแกรม คอนแทคอยู่ทางด้านขวาของแทน Coil ได้

x00 x01 x00 x01


101 101

ผิด ทีถ่ ูก

รูปที่ 2.26 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมทีผ่ ดิ และถูกแบบที่ 2

2.7. เอาท์พทุ ขดลวด (Output Coil) สามารถเขียนโปรแกรมให้ต่อขนานกันได้ เพื่อรับ


เงือ่ นไขของคอนแทคชุดเดียวกัน
x00 x01
100

101

รูปที่ 2.27 แสดงแลดเดอร์ไดอะแกรมเอาท์พทุ ต่อขนาน

2.8. โปรแกรมจะเริม่ การทางานจาก Address แรก จนกระทังถึ ่ งคาสัง่ End ทีเ่ ป็ นคาสัง่
สุดท้ายทีถ่ ูกใช้ โดยที่ End อาจมีหลายตาแหน่ งก็ได้ ที่เป็ นเช่นนี้เพื่อจุดประสงค์สาหรับการ Test Run
กรณีแยกโปรแกรมเป็ น และง่ายต่อการตรวจสอบแก้ไขโปรแกรม
32

บทที่ 3

วิ ธีการดาเนิ นงาน

การดาเนินงานโครงงาน เริม่ จากออกแบบหน้าจอทัชสกรีนโดยใช้โปรแกรม GP-PRO/PBIII ใน


การออกแบบ หน้ าจอแสดงสถานะ อินพุต เอาท์พุต เมื่อ ทาการเขีย นเสร็จแล้ว ก็จะนาไปป้ อนเข้า จอ
ทัชสกรีนและทาการตรวจเช็คตาแหน่ ง ชื่อ ของอินพุตและเอาท์พตุ ว่าตรงกับเครื่องจักรหรือไม่
โดยทีโ่ ครงงานนี้ได้นาไปทดลองกับเครื่องขึน้ รูปยางเนื่องจากเครื่องจักรมีสเต็ปการทางานเยอะ
และมองเห็นตาแหน่ งอุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่องได้ยาก

3.1 วิ ธีการใช้งาน

เมื่อเครื่องเกิดปญั หาไฟ Alarm display จะติด ดังรูป 3.1 เมื่อกดที่ Alarm display จะทาให้
ทราบว่าเครื่องจักรเสียทีส่ ว่ นไหนโดยจะมีช่อื บอกว่าเสียตรงจุดไหน ดังรูป 3.2 ซึ่งจุดที่ทราบจะเป็ นจุด
ใหญ่
33

รูปที่ 3.1 Main screen

รูปที่ 3.2 Alarm display

จากนัน้ มาดูเอาท์พตุ ว่าทางานหรือไม่ ดังรูปที่ 3.3 ถ้าเอาท์พตุ ทางานให้ไปทาการตรวจเช็คทีต่ วั


อุปกรณ์ตวั นัน้ เลย แต่ถา้ ไม่ทางานให้ไปดูทเ่ี งือ่ นไขก่อนว่าครบหรือไม่
34

รูปที่ 3.3 จอทัชสกรีนหน้า Output check

ถ้าเอาท์พุตไม่ทางานให้ดู เงื่อนไขว่าครบหรือไม่โดนดูท่อี นิ พุต ดังรูปที่ 3.4 และทาการแก้ไข


บริเวณนัน้

รูปที่ 3.4 จอทัชสกรีนหน้า Input check


35

ตัวอย่างการใช้งานจริ ง

เครื่องจักรเสียเข้าไปทีเ่ ครื่องดูทท่ี ชั สกรีน จะมีไฟติดเป็ นสีแดง ให้กดที่ Alarm display ดังรูปที่


3.6 จะพบหน้า Alarm display

รูปที่ 3.5 Main screen การใช้งานจริง

ในหน้ า Alarm display ดังรู ป ที่ 3.6 จะมีข้อ ความว่ า BAND DRUM ERROR STEP
FORWARD ทาให้เราทราบว่าเครื่องจักรเสีย ในส่วนของ Band drum ดังรูปที่ 3.7
36

BAND DRUM ERROR STEP FORWARD

รูปที่ 3.6 Alarm display การใช้งานจริง

ยาง
I/L ยาง
S/W TOP
BELT
TREAD
BEI
B/P 1-4

W.CH
BO-RING
SHAP DRUM O-RING
BAND BT
DRUM D
R
U
M

รูปที่ 3.7 ตาแหน่ งทีเ่ ครือ่ งจักรเสีย


37

ดูทเ่ี ครื่องจักรพบว่า ถึงสเต็ปที่ Band drum ส่งยางให้ BO-ring แล้วแต่ไม่สง่

Band drum BO-RING

Proximity sensor เช็คตาแหน่ ง Band drum home

Proximity sensor เช็คตาแหน่ งBand drumส่งยางให้ BO-RING

Proximity sensor เช็คตาแหน่ งBO-RINGรับยางที่ Band drum

รูปที่ 3.8 ตาแหน่ งเซ็นเซอร์เครือ่ งจักร

Band drum BO-RING

รูปที่ 3.9 สเต็ปการทางานของเครือ่ งจักร


38

สเต็ปการทางานปกติ Band drum จะเลื่อนไปส่งยางที่ Bo-ring ในลักษณะนี้ ดังรูปที่ 3.9 แต่


Band drum ไม่เลือ่ นเราจึงทาการตรวจเช็คโดยเปิ ดหน้าจอแสดงสถานะเอาท์พตุ ทีไ่ ด้ออกแบบไว้ (Band
drum เลือ่ นโดยอาศัย Cylinder ในการขับเคลือ่ น)

รูปที่ 3.10 จอทัชสกรีนหน้า Output check band drum trav. Home

เช็คที่เอาท์พุตโดยดูท่ี Y46E BAND DRUM TRAV. BO SIDE ดังรูปที่ 3.10 ซึ่งใช้เป็ นตัว
สังงานในโปรแกรม

39

สามารถวิเคราะห์ได้ 2 อย่าง คือ


1. เอาท์พตุ Y46E ON คือ ไฟสีแดงติดที่ Y46E แสดงว่า เงื่อนไขในการทางานครบ ให้ทาการ
เช็คที่ Cylinder และระบบลมได้เลย
2. เอาท์พตุ Y46E ไม่ ON คือ ไฟสีแดงไม่ตดิ แสดงว่าเงื่อนไขไม่ครบให้เช็คที่หน้ าจออินพุตที่
ออกแบบดังนี้
ดู เ งื่อ นไขในหน้ า อิน พุ ต ว่ า ติด ที่ต ัว ไหน ซึ่ง ในหน้ า อิ น พุ ต จะจัด กลุ่ ม ไว้ โ ดยวิธ ีก ารดู ใ ห้ ดู
เปรียบเทียบกับเครื่องจักร ดังรูปที่ 3.11 จากหน้ างานเราต้องเช็ค Proximity sensor ตาแหน่ ง Band
drum home และ Proximity sensor เช็คตาแหน่ ง BO-RING รับยางที่ Band drum ซึ่งเราเช็คพบว่า
Proximity sensor ตาแหน่ ง Band drum home ไม่ ON คือไฟไม่ตดิ เป็ นสีแดง ทาให้เงื่อนไขในการ
สังงานไม่
่ ครบ เราจึงทาการเช็ค Proximity sensor X423 BAND DRUM TRAV. HOME END

รูปที่ 3.11 จอทัชสกรีนหน้า X423 Input check band drum trav. Home end
40

การเช็ค Proximity sensor นาโลหะที่เป็ นเหล็กสัมผัสกับเซ็นเซอร์เพื่อเช็คตัวเซ็นเซอร์ โดย


เปรียบเทียบกับหน้าจออินพุตสามารถวิเคราะห์ได้เป็ น 2 อย่าง คือ
1. นาโลหะที่เป็ นเหล็กสัมผัสกับเซ็นเซอร์ พบว่า X423 BAND DRUM TRAV. HOME END
ไฟติด และเมือ่ นาเหล็กออก X423 BAND DRUM TRAV. HOME END ไฟดับ แสดงว่า เซ็นเซอร์ปกติ
ให้ทาการเช็คตาแหน่ งระหว่างเซ็นเซอร์กบั เครื่องจักรว่า ได้ระยะหรือไม่
2. นาโลหะที่เป็ นเหล็กสัมผัสกับเซ็นเซอร์ พบว่า X423 BAND DRUM TRAV. HOME END
ไฟไม่ตดิ แสดงว่าไม่มสี ญ
ั ญาณจากเซ็นเซอร์มา พีแอลซี ให้เราเช็คทีเ่ ซ็นเซอร์

PLC

รูปที่ 3.12 การเชื่อมต่อระหว่างจอทัชสกรีนกับอุปกรณ์อนิ พุต

การเชื่อมต่ อระหว่างอินพุตเอาท์พุตกับหน้ าจอแสดงสถานะที่ได้อ อกแบบนี้ ดังรูปที่ 3.12 จะ


เชื่อมต่อกันผ่าน พีแ อลซี หากทาการเช็คเซ็นเซอร์แ ล้ว เซ็นเซอร์ ON/OFF ไม่ตรงกันหน้ าจอแสดง
สถานะอินพุต แสดงว่าเซ็นเซอร์นนั ้ มีปญั หา
41

บทที่ 4

ผลการทดลอง

4.1 คาอธิ บายผลของโครงงาน

โครงงานนี้จดั ทาขึ้นเพื่อลดเวลาในการค้นหาปญั หาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักร ด้วยวิธนี าจอภาพ


ทัชสกรีนมาประยุกต์ใช้ โดยการออกแบบโปรแกรมเพื่อ ให้ทราบถึงสถานะและต าแหน่ งต่ างๆ ของ
อุปกรณ์ทอ่ี ยู่ภายในเครื่องจักร ทาให้ทราบถึงปญั หาต่างๆที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรได้อย่างรวดเร็ว และ
แก้ไขได้ทนั ท่วงทีทาให้เวลาในการหยุดการทางานของเครื่องจักรนัน้ สัน้ ทีส่ ดุ
การนาจอภาพทัชสกรีนมาประยุกต์นัน้ สามารถใช้งานกันเครื่องจักรที่ใช้ระบบ พีแอลซี และมี
จอทัชสกรีน เครื่องใดก็ได้ไม่จากัดว่าจะต้อ งเป็ นเครื่องใดเครื่อ งหนึ่ง ซึ่งทางกลุ่มได้เลือกนาไปใช้กับ
เครื่องขึน้ รูปยาง เพราะขัน้ ตอนการทางานเยอะ มีตาแหน่ งเซ็นเซอร์ท่มี องได้ยาก ทาให้เสียเวลาในการ
หาปญั หาทีเ่ กิดกับเครื่องจักรมาก
หลังจากการออกแบบหน้าจอแสดงการทางานอุปกรณ์ของเครื่องจักรได้ทาการนาข้อมูลป้อนเข้า
จอทัชสกรีน จากนัน้ ได้ทดสอบการทางานจริง โดยให้ความรู้และแนะนาวิธกี ารใช้กบั ช่างไฟฟ้า ส่วนที่ม ี
หน้าทีซ่ ่อมเครื่องจักรของบริษทั หนึ่งซึง่ ผลออกมาได้ดงั นี้
42

4.2 การซ่อมเครื่องจักรแบบเก่า

เมือ่ เครื่องจักรเสียทางฝ่ายผลิตที่ประจาเครื่องนัน้ จะทาการแจ้งให้ช่างไปทาการแก้ไขโดยเริม่


จากเปิ ดดู Alarm display จะทาให้ทราบว่าเครื่องจักรเสียที่ส่วนไหนของเครื่องจักรเป็ นจุดใหญ่ จากนัน้
เช็คเครื่องจักรโดยการเดินไปดูท่เี ครื่องจักรว่ามีอุปกรณ์ใดเสียใช้เวลาประมาณ 10-30 นาที หากเจอ
ปญั หาให้ท าการแก้ไขแต่ โ ดยส่ว นมากจะไม่พบป ญั หา สาเหตุ ท่ไี ม่พบอาจเป็ น เพราะต าแหน่ งของ
เซ็นเซอร์ถูกบังโดยเครื่องจักรทาให้เรามองเห็นได้ยาก หรือเป็ นเพราะการส่งสัญญาณของอุปกรณ์เกิด
ความผิดพลาด ซึง่ เราไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า ดังนัน้ จึงต้องทาการเช็คโปรแกรมพีแอลซีเพื่อ
หาปญั หา ซึง่ การเช็คทีโ่ ปรแกรมนัน้ จะทาให้เรารูว้ ่าเครื่องเสียทีจ่ ดุ ไหนอย่างแน่ นอนแต่ตอ้ งใช้เวลาในการ
ไปนาโน้ตบุก๊ และเปิ ดโปรแกรมนาน
เพือ่ ทีจ่ ะลดเวลาในจุดนี้ทางกลุม่ จึงได้หาวิธที จ่ี ะซ่อมเครื่องจักรให้เร็วขึน้ โดยการนาจอทัชสกรีน
มาประยุกต์ใช้ดงั แสดงในรูปที่ 4.1
43

เครื่องจักรเสีย

เปิ ดดู Alarm display

เช็ค Hard ware


ทาให้เราทราบส่วนทีเ่ ครื่องจักรเสีย (จุดใหญ่)

ใช้เวลาในการเช็ค 10-30 นาที


เช็ค Soft ware

Repair

Test

Run
นาโน้ตบุก๊ มาเช็คโปรแกรม ใช้เวลาในการตรวจเช็ค
20-30 นาที

รูปที่ 4.1 โฟวล์ชาร์ตแสดงการซ่อมเครื่องจักรแบบเก่า


44

4.3 การซ่อมเครื่องจักรแบบใหม่

เมือ่ เครื่องจักรเสียทางฝ่ายผลิตที่ประจาเครื่องนัน้ จะทาการแจ้งให้ช่างไปทาการแก้ไขโดยเริม่


จากเปิ ดดู Alarm display จะทาให้ทราบว่าเครื่องจักรเสียที่ส่วนไหนของเครื่องจักรเป็ นจุดใหญ่ ซึ่งจะ
เหมือนกับแบบเก่า แต่จะต่างตรงทีก่ ารซ่อมแบบใหม่จะนาเอาจอทัชสกรีนมาประยุคใช้คอื เมือ่ ทราบส่วน
ทีเ่ สียแล้วก็ทาการเปิ ดหน้าจอแสดงสถานะอินพุตเอาท์พุตเพื่อช่วยในการเช็คเครื่องจักร ซึ่งจะช่วยเช็ ค
เซ็นเซอร์ทม่ี องไม่เห็น สเต็ปของเครื่องจักร และเช็คสัญญาณของอุปกรณ์ต่างๆได้เปรียบเสมือนการเปิ ด
โปรแกรม ซึง่ จะใช้เวลาเพียง 5-10 นาทีเท่านัน้ แต่มบี างกรณีทห่ี าไม่เจอเราก็ตอ้ งเปิ ดโปรแกรมพีแอลซี
การนาจอทัชสกรีนมาช่วยในการตรวจเช็คเครื่องจักรจะทาให้เราทราบปญั หาได้อย่างรวดเร็ว
และง่ายต่อการทางานดังแสดงในรูปที่ 4.2
45

เครื่องจักรเสีย

เปิ ดดู Alarm display

ทาให้เราทราบส่วนทีเ่ ครื่องจักรเสีย(จุดใหญ่)
เช็คหน้ าจอ I/O

เช็ค Soft ware

Repair
เช็คอินพุตเอาท์พตุ ใช้เวลาในการเช็ค 5-10 นาที

Test

Run

นาโน้ตบุก๊ มาเช็คโปรแกรมใช้เวลาในการตรวจเช็ค 20 - 30
นาที

รูปที่ 4.2 โฟวล์ชาร์ตแสดงการซ่อมเครื่องจักรแบบใหม่


46

4.4 แนะนาวิ ธีการซ่อมโดยใช้หน้ าจอแสดงสถานะ การทางานของอุปกรณ์

การใช้หน้าจอแสดงสถานะ การทางานอินพุตเอาท์พตุ เพือ่ ช่วยในการซ่อมเครื่องจักรนัน้ แนะนา


ให้เปิ ดหน้า Output check ก่อนเพือ่ เป็ นการเช็คว่าปญั หาเกิดจากอุปกรณ์เอาท์พตุ ตัวนัน้ หรือเป็ นเพราะ
เงือ่ นไขในการสังงานอุ
่ ปกรณ์เอาท์พตุ คือ ถ้ามีไฟติดที่เอาท์พุตตัวนัน้ แสดงว่า เงื่อนไขการทางานครบ
แล้วให้ทาการเช็คทีต่ วั อุปกรณ์เอาท์พุตนัน้ ได้เลย แต่ถ้าไม่มไี ฟติดแสดงว่าเงื่อนไขไม่ครบให้ไปดูหน้ า
Input check เพือ่ เช็คว่าอุปกรณ์อนิ พุตตัวไหนมีปญั หา เมือ่ พบว่าอินพุตตัวไหนไฟไม่ตดิ ให้ไปทาการเช็ค
ทีต่ วั อุปกรณ์นนั ้ ได้เลย
วิธกี ารเช็คนี้จะช่วยให้เราทราบปญั หาทีเ่ กิดกับเครื่องจักรได้อย่างรวดเร็วดังแสดงในรูปที่ 4.3
47

เครื่ องจักรเสี ย

เปิ ดดู Alarm display

เช็คหน้าจอ I/O โดย


การดูที่ output

เงื่อนไขครบ Output ทางาน แต่ เงื่อนไขไม่ครบ เช็ค Sensor


เครื่ องจักรไม่ทางาน เช็ค (input ตัวที่ไม่ทางาน)
Hardware
Repair (input ตัวที่ไม่ทางาน)
Repair

เงื่อนไขครบแล้ว
Test
Output ทางานแล้ว

Run
Test

Output ทางาน เครื่ องจักรไม่


ทางาน เช็ค Hardware

Repair

Test

Run

รูปที่ 4.3 โฟวล์ชาร์ตแนะนาวิธกี ารซ่อม


48

4.5 คานวณเวลาการทางานของพนักงาน

เป็ นการคานวณเวลาการทางานของพนักงานฝ่ายผลิตทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ทเ่ี ครื่องขึน้ รูปยางโดยคิด


1 เครื่องต่อ 1 กะ ทางานวันละ 7.5 ชัวโมง ่ ประชุมก่อนและหลังปฏิบตั งิ าน 1.5 ชัวโมงพั
่ กรับประทาน
อาหาร 1 ชัวโมงจั
่ ดเตรียมวัสดุประมาณ 1 ชัวโมง่ เวลาในการผลิตยาง 4 ชัวโมง
่ ยาง 1 เส้นใช้เวลาใน
การผลิตประมาณ 3 นาที 1 ชัวโมง ่ ผลิตได้ 60/3 = 20 เส้น 4 ชัวโมงผลิ
่ ตได้ 20*4 = 80 เส้นดังนัน้ ใน 1
กะ สามารถผลิตยางได้ประมาณ 80 เส้น (ถ้าเครื่องจักรไม่เสีย ) 1 วัน มี 3 กะ จะผลิตยางได้ประมาณ
80*3 = 240 เส้น 1 สัปดาห์ จะผลิตยางได้ประมาณ 240*7 =1680 เส้น 1 เดือน จะผลิตได้ประมาณ
1680*4 = 6720 เส้น ดังนัน้ เครื่องขึน้ รูปยางจานวน 32 เครื่อง สามารถผลิตยางได้ 6720*32 = 215040
เส้น (ถ้าเครื่องจักรไม่เสีย)

สรุป

หากเครื่องจักรเสีย 1 ชัวโมงจะท
่ าให้การผลิตยางลดลง 20 เส้น

4.6 บันทึ กผลการทดลอง

โครงงานนี้ได้นาไปทดลองใช้กบั เครื่องขึ้นรูปยางทัง้ หมด 32 เครื่องของบริษัทแห่งหนึ่ง การ


บันทึกข้อมูลจะเป็ นการบันทึกก่อนและ หลังทดลองโดยคิดอัตราการหยุดเครื่องจักร 1 ชัวโมงยางจะติ
่ ด
ลบ จานวน20 เส้น จากกราฟจะเห็นว่าในเดือนมกราคมและ เดือนกุมภาพันธ์ ที่มกี ารนาหน้ าจอแสดง
สถานะ อินพุตเอาท์พุตไปใช้นัน้ เวลาในการซ่อมเครื่องจักรจะลดลงอย่างเห็นได้ชดั ทาให้ได้ยอดการ
ผลิตมากขึน้ ดังตารางที่ 4.1
49

ตาราง 4.1 กราฟบันทึกผลการทดลอง

เครื่องจักรหยุด สัปดาห์ ต่อชั่วโมง


ชั่วโมง
20
18
16
14
12
10
8
6
4
2
0 สั ปดาห์
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์

4.7 ตารางข้อมูลที่ ใช้ในการเขียนกราฟ

ข้อมูลนี้ได้บนั ทึกจากเครื่องขึน้ รูปยางของบริษทั แห่งหนึ่งโดยการบันทึกข้อมูลทุกสัปดาห์ซง่ึ การ


คิดเวลาในการหยุดเครื่องจักร จะคิดเป็ น Rank A, B, C ซึ่งแต่ละ Rank มีความหมายดังนี้ เครื่องจักร
หยุด 1-19 นาที เป็ น rank C เครื่องจักรหยุด 20-120 นาที เป็ น rank B ต้องมีการวิเคราะห์นาเสนอแก่
หัวหน้างานเพือ่ บอกสาเหตุทเ่ี ครื่องจักรหยุดนาน เครื่องจักรหยุด 120 นาทีขน้ึ ไป เป็ น rank A ต้องมีการ
วิเคราะห์นาเสนอแก่หวั หน้างานและมีการประชุมขยายผลเพิม่ เติม ตารางที่ 4.2 นี้ได้สรุปให้เห็นว่าแต่ละ
เดือนมียางติดลบเท่าไร
50

ตารางที่ 4.2 บันทึกข้อมูลก่อนและหลังทดลอง

เวลารวมต่อ ยางติดลบต่อ ยางติดลบต่อ


Rank (ชัวโมง)

เดือน สัปดาห์ สัปดาห์ สัปดาห์ เดือน
A B C (ชัวโมง)
่ (เส้น) (เส้น)
1 0 13.40 4.50 18.30 370
2 2.10 14.07 3.27 19.37 392
ธันวาคม 1495
3 0 13.37 4.17 17.54 360
4 0 15.09 3.29 18.38 373
1 0 8.08 5.03 13.13 264
2 2.10 6.40 4.32 13.22 265
มกราคม 926
3 0 5.47 4.23 10.10 203
4 0 6.05 4.30 10.35 212
1 0 4.07 4.38 8.45 175
2 0 5.08 4.33 9.41 195
กุมภาพันธ์ 778
3 0 6.00 4.46 10.46 225
4 0 4.39 4.31 9.10 183
51

บทที่ 5

บทสรุป

5.1 สรุปผลการดาเนิ นงาน

โครงการนี้ ได้ท ดลองใช้โดยช่างเทคนิค แผนกซ่อมบารุงเครื่อ งจักร ในส่วนของ Breakdown


electric ซึ่งมีหน้ าที่ซ่อมเครื่องจักรเมื่อเครื่องจักรเสีย โดยมีเวลาในการซ่อมดังนี้ เครื่องจักรหยุดดังนี้
1-19 นาที เป็ น rank C เครื่องจักรหยุด20-120 นาที เป็ น rank B ต้องมีการวิเคราะห์นาเสนอแก่หวั หน้า
งานเพื่อ บอกสาเหตุท่เี ครื่องจักรหยุด นาน เครื่องจักรหยุด 120 นาทีข้นึ ไป เป็ น rank A ต้องมีการ
วิเคราะห์นาเสนอแก่หวั หน้างานและมีการประชุมขยายผลเพิม่ เติม
ทางกลุม่ ได้ทาการออกแบบและเขียนโปรแกรมลงบนจอทัชสกรีน และนาไปใช้งานกับ เครื่องขึน้
รูปยางซึง่ มีทงั ้ หมด 32 เครื่อง ได้ผลดังนี้

5.2 สรุปเวลาในการซ่อมเครื่องจักร

เดือน ธันวาคม เครื่องจักรเสีย 74.45 ชัวโมง


่ ยางติดลบ 1495 เส้น
เดือน มกราคม เครื่องจักรเสีย 46.50 ชัวโมง
่ ยางติดลบ 926 เส้น
เดือน กุมภาพันธ์ เครื่องจักรเสีย 38.55 ชัวโมง
่ ยางติดลบ 778 เส้น

5.3 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไข

โครงงานทัง้ หมดได้ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อลดระยะเวลาที่สูญเสียในการซ่อมบารุงเครื่องจักร และ


อาจมีปญั หาในบางส่วนที่เกิดขึ้น เช่น โครงงานนี้ใช้ได้กบั เฉพาะเครื่องจักรที่ใช้ระบบโปรแกรมเมเบิล
ลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC) เท่านัน้ และผูท้ จ่ี ะสามารถใช้และเข้าใจโครงงานนี้ จะต้องมีพน้ื ฐานความรู้
เกีย่ วกับ พีแอลซี และตัวเครื่องจักรนัน้
การออกแบบต้องตรวจเช็ค อินพุต และเอาท์พุต ให้ถูกต้องตรงกับเครื่อ งจักรและชื่อที่บอกถึง
ตาแหน่ งของอุปกรณ์
การทดลองจะพบปญั หาเรื่อ ง การเกิด ปญั หาซ้อน ท าให้เกิด ความสับสนแก่ ผู้ใช้ท างกลุ่มจึง
ช่วยกันหาแนวทางในการแก้ไขโดยเพิม่ Alarm message ให้โชว์ทห่ี น้าจอแสดงสถานะ การทางานของ
อุปกรณ์ทไ่ี ด้เขียนขึน้ ใหม่ เพือ่ ให้ทราบถึงปญั หาทีเ่ กิดซ้อนขึน้ มา
52

5.4 แนวทางการพัฒนา

ตามทีก่ ล่าวมาแล้วคือ โครงงานนี้ใช้ได้กบั เครื่องจักรที่เป็ นระบบ พีแอลซี และผู้ท่จี ะใช้งานก้อ


จะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ พีแอลซี และตัวเครื่องจักรในระดับหนึ่ง จึงทาให้ผทู้ ไ่ี ม่มพี น้ื ฐานดังที่
กล่าวมาไม่สามารถใช้งานได้และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและความสามารถของโปรแกรมจึงควรพัฒนาให้
สามารถใช้ได้กบั เครื่องจักรทุกประเภท และพัฒนาการออกแบบการใช้งานให้ง่ายและสะดวกแก่ผู้ท่ไี ม่ม ี
พืน้ ฐานทางด้านนี้สามารถเรียนรูแ้ ละใช้งานได้
53

เอกสารอ้างอิง

[1] www.hmisource.com/otasuke/files/manual/gp_hard/GP2X00-MM02-ENG-PDF.pdf
[2] www.koratgroupengineering.com/koratgroup/mainfile/2C5t4DvqfM6S.PDF
[3] www.profaceamerica.com/cms/resource_library/datasheets/6bae0f4f498e5b13/gp_2600_t.pdf
54

ภาคผนวก
55

ภาคผนวก ก
วิ ธีการออกแบบ

คลิกทีไ่ อคอนแล้วโปรแกรมเริม่ ทางานจะปรากฏหน้าจอ Project Manager ขึน้

Project Manager
56

1. Project เลือก open ไฟล์โปรเจคทีม่ อี ยู่

2. Editor:เลือก Screen สร้างหน้าจอ


57

3. เลือก Open screen

4. เลือก หน้า B 30 เพือ่ เข้าสูห่ น้า Menu screen


58

5. เพิม่ Function switchตัง้ ชื่อ I/O CHECK

6. ดับเบิล้ คลิก ที่ Function switch


59

7. Set function go to screen ไปหน้า B34 ซึง่ เป็ นหน้าทีเ่ ราจะใช้ออกแบบหน้าจอ

8. Open screen อีกครัง้ เลือกหน้า B34


60

9. จะได้หน้าว่างทีต่ อ้ งการ

10. จากนัน้ ทาการเขียนหน้าจอ คลิกที่ Part เลือก Lamp


61

1.1 Set Browser เพือ่ เลือกรูปร่าง Set Bit Address ให้ตรงกับอินพุตเอาท์พุตที่ต้องการและ เลือกสีใน
ขณะทีอ่ นิ พุตเอาท์พตุ ตัวนัน้ ทางาน

เสร็จแล้วให้คลิก Place เพือ่ วาง


62

12. เลือก Text เพือ่ เขียนชื่อของอินพุตเอาท์พตุ นัน้


63

ทาแบบเดิมโดยเลือกอินพุตเอาท์พตุ ทัง้ หมดของเครื่องจักร


64

13. คลิก Part เลือก Function switch เพือ่ สร้างปุ่มกดสาหรับไปเมนู หลัก

Set Browser เพือ่ เลือกรูปร่าง Set Go to Screen เพือ่ กลับไปหน้า B1 แล้วคลิก Place เพือ่ วาง
65

14. คลิก Part เลือก Function switch เพือ่ สร้างปุ่มกดสาหรับไปหน้าถัดไป

Set Browser เพือ่ เลือกรูปร่าง Set Go to Screen เพือ่ ไปหน้า B35 แล้วคลิก Place เพือ่ วาง
66

15. คลิก Part เลือก Function switch เพือ่ สร้างปุ่มกดสาหรับกลับไปหน้าทีแ่ ล้ว

Set Browser เพือ่ เลือกรูปร่าง Set Go to Screen เพือ่ ไปหน้า B34 แล้วคลิก Place เพือ่ วาง
67

หน้าจอแสดงสถานะ อินพุตเอาท์พตุ ทีไ่ ด้ทาการออกแบบมีทงั ้ หมด 12 หน้าดังนี้

B34
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B34 INPUT CHECK 1/5
Screen Image
68

B35
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B35 INPUT CHECK 2/5
Screen Image
69

B36
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B36 INPUT CHECK 3/5
Screen Image
70

B37
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B37 INPUT CHECK 4/5
Screen Image
71

B38
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B38 INPUT CHECK 5/5
Screen Image
72

B39
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B39 OUTPUT CHECK 1/6
Screen Image
73

B40
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B40 OUTPUT CHECK 2/6
Screen Image
74

B41
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B41 OUTPUT CHECK 3/6
Screen Image
75

B42
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B42 OUTPUT CHECK 4/6
Screen Image
76

B43
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B43 OUTPUT CHECK 5/6
Screen Image
77

B44
Screen Information
Project Name BAND.prw
Screen B44 OUTPUT CHECK 6/6
Screen Image
78

16. เมือ่ เขียนเสร็จแล้วให้ทาการ ถ่ายโอนข้อมูล ไปยัง touch screen โดยเลือกTransfer

Send project ทีเ่ ขียนลง touch screen


79

หน้าจอแสดงสถานะขณะอุปกรณ์ไม่ทางาน

หน้าจอแสดงสถานะขณะอุปกรณ์ ทางาน
80

การแก้ไขปรับปรุง

เมือ่ นาโปรเจคทีเ่ ขียนไปทดลองใช้งานพบว่า สามารถใช้งานได้ แต่ในบางครัง้ ถ้าขณะที่ทาการ


ซ่อมเครื่องจักรอยู่เกิดปญั หาซ้อนขึน้ มา จะทาให้ไม่รวู้ ่าเกิดปญั หาขึน้ และไม่รวู้ ่าเกิดขึน้ ทีไ่ หน
ด้วยเหตุน้ีจงึ ทาการเพิม่ Alarm message แจ้งเตือนเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนเมื่อเกิดปญั หา
ซ้อนขึน้

ขณะทีท่ าการซ่อมเครื่องจักร โดยการเปิ ดหน้าจอแสดงผลอุปกรณ์อยู่ เมื่อเกิดปญั หาอื่นๆซ้อน


ขึน้ มาจะทาให้เราไม่รู้
จึงได้ทาการเพิม่ Alarm message ขึน้ โดย Alarm นี้จะโชว์บริเวณส่วนล่างของจอ
81

หน้าจอทีใ่ ช้แสดง Alarm แจ้งเตือน (เดิม)

Alarm แจ้งเตือน (เดิม)


82

เพิม่ Alarm message

จะมี Alarm message โชว์ดา้ นล่าง


83

ประวัติผ้จู ดั ทาโครงงาน

นายอนุ ชา ฤทธิทนั
์ นท์ จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูงจาก โรงเรียนวิศวกรรมแหลมฉบัง
อ.ศรีราชา จ.ชลบุร ี ป จั จุบนั กาลังศึกษาที่ภาควิชาไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิท ยาลัยบูรพา มี
ความสนใจทางด้านไฟฟ้ากาลัง

นายฤทธิชยั ฉิมไทย จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูงจาก วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร


อ.เมือง จ.กาแพงเพชร ปจั จุบนั กาลังศึกษาทีภ่ าควิชาไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มี
ความสนใจทางด้านไฟฟ้ากาลัง

นายภุชงค์ ลิม้ วัฒ นะ จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูงจาก โรงเรีย นเทคโนโลยีภาค


ตะวันออก อ.พานทอง จ.ชลบุร ี ปจั จุบนั กาลังศึกษาทีภ่ าควิชาไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
บูรพา มีความสนใจทางด้านไฟฟ้ากาลัง

You might also like