You are on page 1of 94

คูมือการติดตั้งอุปกรณและตัวถัง

FORD Ranger ป 2019

E289759

วันที่เผยแพร: 01/2020
ขอมูลทีอ
่ ยูใ นสิง่ พิมพฉบับนีเ้ ปนขอมูลทีถ
่ ก
ู ตองในขณะทีท
่ าํ การพิมพ ขอสงวนสิทธิใ์ นการเปลีย
่ นแปลงขอมูลทีจ
่ าํ เปนตางๆอันเนือ
่ งมาจากการพัฒนาและการปรับปรุงแกไขขอมูลอยาง
ตอเนื่อง โดยไมตองแจงลวงหนา หามทําซํ้า ดัดแปลงหรือแปลเอกสารฉบับนี้ หรือสวนหนึ่งสวนใดโดยไมไดรับอนุญาต ยกเวนขอผิดพลาดและขอมูลที่ละไว

© Ford Motor Company 2021

สงวนลิขสิทธิ์”
1 ขอมูลทั่วไป 2 แชสซี
1.1 เกี่ยวกับคูมือเลมนี้...................................................5 2.1 ระบบรองรับนํ้าหนัก...............................................30
1.1.1 ..........................................................................5 2.2 ระบบเบรก.............................................................31
1.1.2 บทนํ า ................................................................5 2.2.1 รายละเอียดโดยทั่วไป......................................31
1.1.3 คําแนะนําที่สําคัญตอความปลอดภัย..................5 2.2.2 ทอออนนํ้ามันเบรก..........................................31
1.1.4 คําเตือน ขอควรระวัง และ หมายเหตุตางๆ ใน 2.2.3 เบรกรถพวง....................................................31
คูมือนี้................................................................5
1.1.5 วิธีใชคูมือฉบับนี้................................................5
1.1.6 รถรุนตัวถังเตี้ยและสูง.......................................5
1.2 ความคาดหวังทางการคาและกฎหมาย.....................6
1.2.1 อภิธานศัพท.......................................................6
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง
1.2.2 การรับประกันรถยนตของ Ford.........................6
1.2.3 การอนุมัติทางกฎหมายและประเภท 3.1 ระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง.............................................32
รถยนต..............................................................6 3.1.1 ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง (หากติด
1.2.4 การอนุมัติประเภทสํารอง...................................6 ตั้ง)..................................................................32
1.2.5 ภาระผูกพันและความรับผิดชอบทาง 3.1.2 ตัวรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง..........................34
กฎหมาย............................................................6 3.1.3 ทอออนชองระบายทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง.......36
1.2.6 ขอกําหนดดานความปลอดภัยทั่วไปของ 3.1.4 ถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกล.............................37
ผลิตภัณฑ..........................................................6 3.1.5 ทอออนระบายอากาศเพลา..............................37
1.2.7 ความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ............................7
1.2.8 ระบบนิรภัย........................................................7
1.2.9 การเจาะและการเชื่อม........................................7
1.2.10 ขอกําหนดขัน ้ ตํา่ สําหรับระบบเบรกและวาวลปรับ
แรงดันนํ้ามันเบรก.............................................7
4 ระบบไฟฟา
1.2.11 ความปลอดภัยบนถนน......................................7
1.3 การแปลงที่สัมพันธกัน.............................................8 4.1 คําแนะนําในการวางและเดินสายไฟ.......................38
1.4 ความสอดคลองของแมเหล็กไฟฟา (EMC).............9 4.1.1 ขั้นตอนการเชื่อมตอสายไฟ.............................38
1.4.1 ..........................................................................9 4.2 แบตเตอรรี่และสายไฟ...........................................39
1.5 แนวทางจังหวะหนาที่การทํางานของรถยนต ( 4.2.1 ขอมูลแบตเตอรี่...............................................39
Vehicle Duty Cycle Guidelines)........................10 4.2.2 เจเนอเรเตอรและอัลเทอรเนเตอร...................45
1.5.1 การขับขีร่ ถยนตและคุณลักษณะการควบคุมการ 4.3 ระบบชวยจอด.......................................................46
ขับขี่................................................................10 4.3.1 ตําแหนงเซ็นเซอร...........................................47
1.6 การขึ้นแมแรง........................................................11 4.4 อิเล็กทรอนิคสควบคุมเครื่องยนต..........................49
1.7 การยก...................................................................12 4.4.1 เอาตพุตความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุนตัวถัง
1.8 เสียงดัง, การสั่นสะเทือนและการกระแทก ( เตี้ยเทานั้น).....................................................49
NVH)....................................................................13 4.4.2 เอาตพต ุ ความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุน  ตัวถังสูง
1.9 อุปกรณชวยในการขนสงรถยนตและการจัดเก็บ เทานั้น)...........................................................53
รถยนต..................................................................14 4.5 ไฟแสงสวางภายนอก.............................................54
1.10 แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and 4.5.1 ชุดรวมไฟทาย.................................................55
Ergonomics).........................................................16 4.5.2 ไฟตัดหมอกดานหลัง.......................................55
1.10.1 แนวทางสําหรับชุดสวนประกอบทั่วไป.............16 4.5.3 ไฟสองปายทะเบียนดานหลัง...........................56
1.10.2 ระยะการใชงานของคนขับ...............................16 4.5.4 ไฟถอยหลัง กลองมองหลัง สัญญาณเตือนการ
1.10.3 ขอบเขตการมองเห็นของคนขับ......................16 ถอยหลัง (เกียรธรรมดา).................................58
1.10.4 การแปลงสภาพมีผลกระทบกับระบบชวย 4.5.5 หลอดไฟภายนอกเพิ่มเติม - (รถรุนตัวถังเตี้ย
จอด.................................................................16 เทานั้น)...........................................................58
1.10.5 ระบบชวยสําหรับการเขาและออกจากรถ.........16 4.5.6 การลากจูงรถพวง............................................58
1.10.6 แผนปายทะเบียน............................................17 4.5.7 โหลดไฟแสงสวางเสริม (รถรุนตัวถังเตี้ย
1.11 แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and เทานั้น)...........................................................60
Ergonomics)—ขอมูลจําเพาะ..............................18 4.5.8 หลอดไฟ – ไฟฉุกเฉิน / ไฟเลี้ยว...................61
1.11.1 ขนาดตัวถังที่แนะนํา........................................18 4.5.9 กระจกประตูที่ควบคุมดวยไฟฟา......................61
1.11.2 ตัวถังแชสซีแค็ป - ขนาดและนํ้าหนัก 4.5.10 หลอดไฟเบรกดวงที่สามดานบนตรงกลาง (
พื้นฐาน............................................................19 CHMSL) - การประกอบโครงหลังคา - รถรุน
1.11.3 นํ้าหนักรถเปลาและนํ้าหนักบรรทุก.................20 ตัวถังเตี้ย.........................................................61
1.11.4 แผนปองกันตัวถังดานลาง ดานขาง 4.5.11 หลอดไฟเบรกดวงที่สามดานบนตรงกลาง (
ดานหนา..........................................................20 CHMSL) - การประกอบโครงหลังคา - รถรุน
1.12 ฮารดแวร (Hardware)—ขอมูลจําเพาะ................21 ตัวถังสูง...........................................................62
1.13 การกระจายนํ้าหนัก—ขอมูลจําเพาะ....................22 4.6 มือเปด, ล็อก, กลอนและระบบการเขารถยนต......64
1.13.1 การคํานวณการกระจายนํ้าหนัก - การกระจาย 4.6.1 ระบบเซ็นทรัลล็อก..........................................64
นํ้าหนักของคนขับและผูโดยสาร......................22 4.7 ฟวสและรีเลย........................................................65
1.13.2 จุดศูนยถวง.....................................................25 4.7.1 รถรุนตัวถังเตี้ยและสูง.....................................65
1.14 การลากจูง.............................................................29 4.7.2 แบตเตอรี่เสริมและกลองฟวส - รถรุนตัวถัง
1.14.1 ขอกําหนดการลากจูง.......................................29 เตี้ย..................................................................65
1.14.2 การลากจูง.......................................................29 4.7.3 กลองฟวสเสริม (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ) (
1.14.3 นํ้าหนักที่ใชในการลากจูงและขอมูล รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น)....................................66
จําเพาะ............................................................29

3
5 ตัวถังและสี
5.1 ตัวถัง......................................................................69
5.1.1 โครงสรางตัวถัง - ขอมูลทั่วไป..........................69
5.1.2 ตัวถังที่ติดตั้งมาและการดัดแปลง.....................69
5.1.3 ประทุนแชสซี....................................................70
5.1.4 ความแข็งแรงของสวนดานหนาสําหรับการระบาย
ความรอน การชน อากาศพลศาสตร และไฟสอง
สวาง.................................................................73
5.1.5 ตัวถังแบบเททาย..............................................73
5.1.6 ตัวบรรทุกถังและตัวบรรทุกของแหง.................74
5.1.7 เหล็กกันชน อุปกรณเสริมของแทจาก
Ford.................................................................74
5.1.8 แร็กหลังคา.......................................................75
5.1.9 กันสาด.............................................................76
5.2 ระบบนิรภัยเสริมและถุงลมนิรภัย (SRS)................79
5.2.1 ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังเตี้ย)........................79
5.2.2 ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังสูง)..........................82
5.2.3 เซ็นเซอรระบบนิรภัยเสริม (ดานหนา)..............85
5.3 ระบบเข็มขัดนิรภัย – ออสเตรเลีย.........................87
5.4 การปองกันสนิม......................................................88
5.4.1 รายละเอียดโดยทั่วไป.......................................88
5.4.2 การซอมแซมสีที่เสียหาย..................................88
5.4.3 วัสดุและอุปกรณปองกันตัวถังดานลาง..............88
5.4.4 การทาสีลอที่ใชงานปกติ...................................88
5.4.5 การกัดกรอนจากการสัมผัส...............................88
5.5 เฟรมและการยึดตัวถัง............................................89
5.5.1 จุดยึดและทอ....................................................89
5.5.2 โครงสรางตัวถังที่พยุงตัวเอง.............................90
5.5.3 การเจาะเฟรมและการเสริมความแข็งแรงของ
ทอ....................................................................91
5.5.4 อุปกรณเสริม - ตัวยึดซับเฟรม.........................91
5.5.5 พืน ้ ทีส่ าํ หรับการติดตัง้ อุปกรณตด ิ ตัวถังอืน ่ ๆ กับ
กันชนดานหลัง.................................................91
5.5.6 ถังนํ้าบนรถแคมเปอร.......................................91

4
1 ขอมูลทั่วไป
1.1 เกี่ยวกับคูมือเลมนี้
1.1.1 ขอควรจํา : หมายเหตุ ใชเพือ
่ ใหขอ
 มูลเพิม
่ เติมทีจ
่ าํ เปนในการ
ซอม รวมทั้งซอมไดอยางสมบูรณ
ขอแนะนําใหอา นคูม อื เลมนีท้ ง้ั หมด BEMM เปนเอกสารฉบับ
ปจจุบันที่สามารถดูไดจาก www.etis.ford.com/BEMM หรือ ขณะอานคูมือนี้ คุณจะพบคําตอไปนี้ คําเตือน ขอควรระวัง
http://www.fordtechservice.dealerconnection.com/ ผูแปลง และหมายเหตุ
สภาพรถยนตตอ  งอานคูม อ
ื เวอรชน ั ออนไลนเพือ
่ ดูขอ
 มูลทีเ่ ปน คําเตือน, ขอควรระวัง หรือหมายเหตุ จะแสดงอยูที่สวนเริ่ม
ปจจุบันที่สุดกอนที่จะเริ่มการแปลงสภาพใดๆ ตนของชุดขั้นตอน ถาหากมีผลใชกับขั้นตอนหลายขั้นตอน
ถาคําเตือน, ขอควรระวัง หรือหมายเหตุ ซึง่ มีผลใชกบ ั ขัน
้ ตอน
เดียว จะแสดงอยูท  ส
่ี ว นเริม
่ ตนของขัน
้ ตอนดังกลาว (ตามหลัง
1.1.2 บทนํา หมายเลขขั้นตอน)
ขอควรจํา : ไมมีการควบคุมสําเนาฉบับพิมพ
คูมือเลมนี้มีการจัดทําตามการออกแบบเพื่อรองรับความ 1.1.5 วิธีใชคูมือฉบับนี้
ตองการของผูแ  ปลงสภาพรถยนต โดยมีวต ั ถุประสงคเพือ
่ ใหมี
การใชรป ู แบบทัว่ ไปกับคูม
 อ
ื ซอมซึง่ มีการใชงานโดยชางเทคนิค คูมือเลมนี้กลาวถึงขั้นตอนการแปลงสภาพรถยนต
ทั่วโลก หนาตางๆ ที่อยูตอนตนของคูมือเลมนี้แสดงเนื้อหาตามกลุม
คูม
 อ
ื เลมนีม
้ ก
ี ารเผยแพรโดย Ford และใหคาํ อธิบายทัว่ ไปและ ในหนึง่ กลุม
 จะประกอบดวยขอมูลของรถยนตสว  นหนึง่ คูม
 อ

คําแนะนําสําหรับการแปลงสภาพรถยนต ผูแ  ปลงสภาพรถยนต เลมนีแ
้ บงเนือ
้ หาออกเปนสีก
่ ลุม
 คือ ขอมูลทัว่ ไป แชสซี ระบบ
ตองปฏิบัติตามขอกําหนดเหลานี้กอนที่ตัวแทนจําหนายของ ไฟฟา ตัวถังและสี หมายเลขของกลุม คือ หมายเลขตัวแรก
Ford จะจัดสงอุปกรณเสริมของรถยนตจากซัพพลาย ของหมวด แตละหัวขอที่อยูในเนื้อหาจะเชื่อมโยงกับสวนที่
เออรภายนอกใหกับพวกเขาหรือในนามของลูกคารถยนต เกี่ยวของของคูมือ

โปรดเนนยํา้ วาการเปลีย
่ นแปลงใดๆ กับรถมาตรฐานทีไ่ มเปน บางสวนของคูมือเลมนี้อาจแนะนําใหคุณดูขอมูลในสวนอื่นๆ
ไปตามมาตรฐานในแนวทางทีแ ่ นบไวอาจขัดขวางความสามารถ ตามลิงกที่ใหไว ลิงกเหลานี้แสดงเปนขอความสีนํ้าเงิน
ในการทํางานของรถยนตอยางรายแรง ระบบกลไกขัดของ คูม
 อ
ื เลมนีอ
้ อกแบบมาเพือ ่ การใชงานในแบบออนไลนหรือเปน
โครงสรางบกพรอง การทํางานทีไ่ มนา เชือ
่ ถือของสวนประกอบ เอกสารสิง่ พิมพ ลิงกเอกสารสําหรับเวอรชน ั ออนไลนจะแสดง
หรือความไมเสถียรของรถจะทําใหลก ู คาเกิดความไมพงึ พอใจ หมายเลขหนาของเวอรชน ั สิง่ พิมพดว ย ซึง่ จะชวยนําคุณไปยัง
การออกแบบและการใชงานที่เหมาะสมของตัวถัง อุปกรณ จุดเริ่มตนของสวนที่มีขอมูลที่เกี่ยวของ
และอุปกรณเสริมเปนกุญแจสําคัญในการทําใหมั่นใจวาจะไม
นอกจากนี้ ดานหลังของคูมือยังมีดัชนีเรียงตามตัวอักษรระบุ
เกิดผลเสียตอความพึงพอใจของลูกคา
ไวดวย ซึ่งคุณสามารถเชื่อมโยงไปยังสวนตางๆ ไดเชนเดียว
ขอมูลที่อยูในเอกสารฉบับนี้มีลักษณะเปนคําแนะนําที่ตอง กับหนาสารบัญ โดยการคลิกที่หมายเลขหนา
ปฏิบัติตามเมื่อมีการดัดแปลงรถยนต อยาลืมวาการดัดแปลง
การอางอิงทางซายมือและขวามือทั้งหมดของรถยนตมาจาก
บางอยางอาจทําใหการอนุมต ั ทิ างกฎหมายเปนโมฆะ และอาจ
ตําแหนงของเบาะนัง่ คนขับเมือ
่ มองไปขางหนา เวนแตจะระบุ
จําเปนตองมีการสมัครขอการรับรองใหม
ไวเปนอยางอื่น
Ford ไมสามารถรับประกันการทํางานของรถยนตไดหากไมได
ติดตั้งระบบไฟฟาที่ไดรับอนุมัติจาก Ford ระบบไฟฟาของ
Ford ไดรบั การออกแบบและทดสอบใหสามารถทํางานภายใต 1.1.6 รถรุนตัวถังเตี้ยและสูง
สภาวะทรหด และอยูภ  ายใตเงือ
่ นไขทีเ่ ทียบเทากับการขับขีใ่ น
เงื่อนไขดังกลาวเปนเวลาสิบป คําเตือน: กอนทํางานกับรถยนตทจ ่ี ด
ั การอยู จําเปนอยาง
ยิง่ ทีต
่ อ
 งระบุประเภทของโครงสรางการเชือ ่ มตอทางไฟฟา
ทีร่ ถยนตคน ั นัน
้ ติดตัง้ ไว หากไมระบุโครงสรางการเชือ ่ ม
1.1.3 คําแนะนําที่สําคัญตอความปลอดภัย ตอทางไฟฟาของรถยนตกอ  นทํางาน อาจทําใหเกิดความ
เสียหายทางไฟฟาหรือผลกระทบตอความปลอดภัย
ขั้นตอนการแปลงสภาพที่เหมาะสมเปนสิ่งสําคัญสําหรับการ
รถยนต Ford Ranger ติดตั้งโครงสรางการเชื่อมตอทางไฟฟา
ทํางานทีป
่ ลอดภัยและเชือ
่ ถือไดของรถยนตทก
ุ คัน รวมถึงความ
จากหนึ่งในสองแบบ
ปลอดภัยสวนตัวของผูที่ปฏิบัติงาน
โปรดดู : 4.7 ฟวสและรีเลย (หนา 65)
คูม
 อื ฉบับนีไ้ มสามารถคาดการณถงึ คําแนะนําหรือขอควรระวัง
ทีห่ ลากหลายสําหรับขัน ้ ตอนแตละขัน้ ตอนไดครอบคลุมทัง้ หมด
ผูที่ไมปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือเลมนี้ตองรับทราบกอนวา
พวกเขาทําใหเกิดความเสี่ยงตอความปลอดภัยสวนตัวหรือ
ความถูกตองสมบูรณของรถยนตจากวิธีการ เครื่องมือ หรือ
สวนประกอบที่พวกเขาเลือก

1.1.4 คําเตือน ขอควรระวัง และ หมายเหตุตางๆ


ในคูมือนี้
คําเตือน: คําเตือนใชเพือ
่ ระบุวา หากไมปฏิบต
ั ต
ิ ามขัน
้ ตอน
อยางถูกตองอาจสงผลใหไดรับบาดเจ็บสาหัสหรือเสีย
ชีวิต
ขอควรระวัง : ขอควรระวัง ใชเพื่อแสดงสถานะวา หาก
ไมปฏิบัติตามขั้นตอนอยางถูกตอง อาจจะสงผลทําให
รถยนตหรืออุปกรณที่ใชงานอยูชํารุดเสียหายได

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:42 GMT 2021
5
1 ขอมูลทั่วไป 1.2 ความคาดหวังทางการคาและกฎหมาย
1.2.1 อภิธานศัพท
1.2.4 การอนุมัติประเภทสํารอง
ขอควรจํา : การดัดแปลงภาพรถยนตในลักษณะใดๆ ตองลง
บันทึกไวในคูมือสําหรับเจาของรถยนตหรือเอกสารคําอธิบาย หากมีการเปลีย
่ นแปลงทีส ่ าํ คัญ อูป
 ระกอบตัวถังตองเจรจาตกลง
ฉบับใหมทม ่ี าพรอมกับเอกสารประกอบสําหรับเจาของรถยนต กับหนวยงานที่เกี่ยวของ การเปลี่ยนแปลงใดๆ ตอสภาวะการ
ผูแปลงสภาพรถยนต หมายถึง ตัวแทนจําหนายที่มีการ ทํางานของรถยนตตองแจงใหลูกคารับทราบ
เปลีย
่ นแปลงรถยนตโดยการแปลงสภาพและเพิม ่ หรือดัดแปลง
อุปกรณใดๆ ที่แตเดิมไมไดมีการระบุไวและหรือจัดหาใหโดย 1.2.5 ภาระผูกพันและความรับผิดชอบทางกฎหมาย
Ford
สวนประกอบเฉพาะหรือถอยคําทีค ่ ลายกันหมายถึงการประกอบ ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตควรปรึกษากับทีป ่ รึกษาทางกฎหมายหาก
อุปกรณที่ Ford ไมไดระบุไวหรืออุปกรณหลังการขายที่ไมอยู มีคําถามใดๆ เกี่ยวกับภาระผูกพันและความรับผิดชอบทาง
ในการรับประกันของ Ford กฎหมาย
Ford ขอแนะนําวาผูแปลงสภาพรถยนตและตัวแทนจําหนาย
1.2.2 การรับประกันรถยนตของ Ford ของ Ford ตองทําความเขาใจความรับผิดชอบเฉพาะบุคคลและ
ความรับผิดชอบรวมกันของตนเองในการจัดหารถยนตที่
โปรดติดตอบริษัทขายแหงชาติในประเทศที่มีการจดทะเบียน ปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐานและมีอุปกรณเสริมที่
รถยนตหรือดูคูมือการใชงานรถยนตสําหรับรายละเอียดเกี่ยว ปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐาน
กับเงื่อนไขการรับประกันใดๆ ที่เกี่ยวของของ Ford
ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตควรรับประกันการออกแบบ วัสดุ และการ 1.2.6 ขอกําหนดดานความปลอดภัยทั่วไปของ
ประกอบเปนระยะเวลาอยางนอยเทากับการรับประกันใดๆ ที่ ผลิตภัณฑ
เกี่ยวของของ Ford
ผูแปลงสภาพรถยนตตองตรวจสอบใหแนใจวารถยนตใดๆ ที่
ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตตอ  งตรวจสอบใหแนใจวาการเปลีย
่ นแปลง จําหนายอยูในทองตลาดมีคุณสมบัติตามกฎหมายของทองที่
ใดๆ ทีท
่ าํ กับรถยนตหรือสวนประกอบของ Ford จะไมลดความ ทัง้ หมด รวมถึงกฎหมายทีเ่ กีย
่ วของกับการขนสงสิง่ ของบรรทุก
ปลอดภัย การทํางาน หรือความทนทานของรถยนต หรือ อยางปลอดภัยบนถนนสาธารณะ ผูแปลงสภาพรถยนตตอง
สวนประกอบใดๆ ตรวจสอบใหแนใจวาการเปลีย ่ นแปลงใดๆ ทีท
่ าํ กับรถยนตหรือ
ผูแปลงสภาพรถยนตจะรับผิดชอบแตเพียงผูเดียวตอความ สวนประกอบของ Ford ไมไดเปนการลดความสอดคลองกับ
เสียหายใดๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ทํากับสวนประกอบ มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
ของรถยนต Ford โดยผูแปลงสภาพรถยนตหรือตัวแทน ผูแปลงสภาพรถยนตตองเตรียมจุดผูกยึดสัมภาระใหเพียงพอ
ผูแปลงสภาพรถยนตตองไมนํา Ford เขาไปเกี่ยวของกับการ หรือพืน
้ ทีจ
่ ด
ั เก็บแบบแบงสวนเพือ
่ ชวยใหคนขับสามารถบรรทุก
เคลมทัง้ หมดของบุคคลทีส่ ามสําหรับคาใชจา ยหรือการสูญเสีย สัมภาระไดอยางปลอดภัยซึง่ ตรงกับเกณฑการใชงานทีอ่ อกแบบ
ใดๆ (รวมถึงความเสียหายใดๆ ที่เกิดตามมา) อันเกิดมาจาก มาของตัวถัง
การทํางานของผูแปลงสภาพรถยนต เวนแต Ford จะใหความ ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตตอ  งไมนาํ Ford เขาไปเกีย
่ วของกับความ
ยินยอมไวเปนลายลักษณอกั ษรลวงหนาสําหรับความรับผิดชอบ รับผิดชอบตอความเสียหายทุกอยางที่เกิดจาก:
ดังกลาว
• การไมปฏิบต
ั ต
ิ ามขอกําหนดในการติดตัง้ อุปกรณตวั ถังเหลา
นี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งคําเตือน
1.2.3 การอนุมัติทางกฎหมายและประเภทรถยนต
• การออกแบบ การผลิต การติดตั้ง การประกอบ หรือการ
• สวนประกอบทัง้ หมดทีป
่ ระกอบกันเปนรถยนต Ford ไดรบ
ั เปลี่ยนแปลงที่ผิดพลาดซึ่ง Ford ไมไดระบุไวแตเดิม
การอนุมัติตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ • การไมปฏิบต
ั ต
ิ ามหลักการพืน ้ ฐานสําหรับความเหมาะสมกับ
• รถยนตของ Ford มีการอนุมัติทางกฎหมายและประเภท วัตถุประสงคที่มีอยูในผลิตภัณฑดั้งเดิม
รถยนตสําหรับอาณาเขตทางการตลาดที่กําหนดไว
คําเตือน :
คําเตือน: ขอยกเวน - รถยนตที่ยังไมสมบูรณตองไดรับ
อยาใหเกินขีดจํากัดของอัตราเพลา นํา้ หนักมวลรวมของ
การอนุมต ั เิ พิม
่ เติมเมือ
่ ดําเนินการตกแตงใหเสร็จสมบูรณ
รถ อัตราเพลา และอัตรารถพวง
โดยอูประกอบตัวถัง
• รถรุน Ranger มีการอนุมัติประเภทสําหรับตลาดหลายๆ อยาเปลี่ยนขนาดยางหรืออัตราโหลด
แหง แมวารถยนตดังกลาวทุกรุนที่อยูในคูมือเลมนี้อาจไม
จําเปนตองมีการจําหนายในตลาดทุกแหงก็ตาม ติดตอ อยาดัดแปลงระบบบังคับเลี้ยว
เจาหนาที่บริษัทขายแหงชาติของ Ford ในทองถิ่นของคุณ
• การเปลีย่ นแปลงทีส
่ าํ คัญกับรถยนตอาจสงผลตอการปฏิบต
ั ิ ความรอนที่มากเกินไปอาจสะสมจากระบบไอเสีย โดย
ตามขอกําหนดของกฎหมาย จําเปนตองมีการปฏิบัติตาม เฉพาะอยางยิง่ จากแคทาลิตก
ิ คอนเวอรเตอรและจากกรอง
วัตถุประสงคในการออกแบบดั้งเดิมสําหรับเบรก การ อนุภาคดีเซล (DPF) ตรวจสอบใหแนใจวามีแผนกันความ
กระจายนํ้าหนัก ไฟสองสวาง ระบบไฟฟา ความปลอดภัย รอนเพียงพอ รักษาระยะหางจากชิ้นสวนที่รอนอยาง
ของผูโดยสาร และการปฏิบัติตามขอกําหนดดานวัสดุ เพียงพอ
อันตรายในกรณีเฉพาะอยางเครงครัด
อยาดัดแปลงหรือถอดแผนกันความรอนออก

หามเดินสายไฟใดๆ กับระบบเบรกปองกันลอล็อกและ
ระบบควบคุมการลื่นไถลเนื่องจากมีความเสี่ยงตอการ
รบกวนของสัญญาณภายนอก อยาแขวนสายไฟไวนอก
ชุดสายไฟหรือทอรอยสายที่มีอยู

6 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:42 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
อยาเปลี่ยนตําแหนงปายคําเตือนที่มาพรอมกับรถยนต 1.2.9 การเจาะและการเชื่อม
รุน
 พืน
้ ฐานออกจากตําแหนงเดิมหรือแกะออก เพือ ่ ใหคน
ขับมองเห็นได ตรวจสอบใหแนใจวาคนขับยังมองเห็น การเจาะและการเชือ
่ มเฟรมและโครงสรางตัวถังตองดําเนินการ
ปายคําเตือนของรถยนตรุนพื้นฐานไดทั้งหมดหลังจาก ตามแนวทางในเอกสารฉบับนี้
การแปลงสภาพแลว
ขอควรจํา : สําหรับขอมูลเพิม
่ เติม โปรดติดตอเจาหนาทีบ
่ ริษท
ั 1.2.10 ขอกําหนดขั้นตํ่าสําหรับระบบเบรกและวาว
ขายแหงชาติในทองถิ่นหรือตัวแทนจําหนายของ Ford ใน ลปรับแรงดันนํ้ามันเบรก
ทองถิ่น
• ไมจาํ เปนหรือไมแนะนําใหดด
ั แปลงวาวลปรับแรงดันนํา้ มัน
1.2.7 ความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ เบรก อยางไรก็ตาม หากมีการแปลงสภาพแบบพิเศษควร
ตองมีการดัดแปลง
ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตตอ  งมีความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ (ไม – รักษาการตั้งคาเดิมไว
วาจะเปนการเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือความเสียหายตอ – รักษาการกระจายโหลดที่มีการรับรองของเบรก
ทรัพยสิน) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงรถรถยนตหรือ
• ไมอนุญาตใหมก
ี ารเปลีย
่ นแปลงระบบเบรกปองกันลอล็อก
สวนประกอบของ Ford โดยผูแ  ปลงสภาพรถยนตหรือตัวแทน
(ABS) ระบบควบคุมการลืน ่ ไถล (TCS) และระบบควบคุม
Ford จะไมรับผิดชอบตอความรับผิดดังกลาว (ยกเวนตามที่
เสถียรภาพการทรงตัวแบบอิเล็กทรอนิกส (ESP)
กฎหมายกําหนดไว)
ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตแปลงหรือผูผ
 ลิตอุปกรณตอ
 งรับผิดชอบ
ตอ: 1.2.11 ความปลอดภัยบนถนน
• ความนาเชือ
่ ถือในการทํางานและความคุม
 คาตอการใชงาน ควรปฏิบัติตามคําแนะนําที่เกี่ยวของอยางเครงครัดเพื่อรักษา
บนถนนของรถตามวัตถุประสงคดั้งเดิม ความปลอดภัยในการทํางานและความปลอดภัยในการขับขีบ ่ น
• ความนาเชือ่ ถือในการทํางานและความคุม
 คาตอการใชงาน ถนนของรถยนต
บนถนนของสวนประกอบหรือการแปลงสภาพใดๆ ซึ่งไม
ไดระบุไวในเอกสารประกอบดั้งเดิมของ Ford
• ความนาเชือ่ ถือในการทํางานและความคุม  คาตอการใชงาน
บนถนนของรถโดยรวม (ตัวอยางเชน การเปลีย ่ นแปลงตัว
ถังและ/หรืออุปกรณเพิ่มเติมตองไมสงผลเสียตอลักษณะ
การขับขี่ การเบรก หรือการบังคับเลี้ยวของรถยนต)
• ความเสียหายใดๆ ทีเ่ กิดจากการแปลงสภาพหรือการเชือ
่ ม
ตอและการติดตั้งสวนประกอบเฉพาะ รวมถึงระบบไฟฟา
หรือระบบอิเล็กทรอนิกสเฉพาะ
• ความปลอดภัยในการใชงานและการเคลื่อนที่ไดอยาง
คลองตัวของชิน
้ สวนทีเ่ คลือ
่ นทีท
่ ง้ั หมด (ตัวอยางเชน เพลา
สปริง เพลาขับ กลไกบังคับเลี้ยว เบรก และกานตอระบบ
เกียร)
• ความปลอดภัยในการใชงานและความยืดหยุนอยางอิสระ
ที่ผานการทดสอบและการรับรองของโครงสรางตัวถังและ
สวนประกอบสําคัญ

1.2.8 ระบบนิรภัย
คําเตือน :
ไมอนุญาตใหมีการดัดแปลงระบบนิรภัย

ถุงลมนิรภัยสามารถระเบิดได สําหรับการถอดและการ
เก็บรักษาอยางปลอดภัยในระหวางการแปลงสภาพ ให
ปฏิบัติตามขั้นตอนในคูมือซอมของ Ford หรือปรึกษา
เจาหนาที่บริษัทขายแหงชาติในทองถิ่นของคุณ
หามเปลี่ยนแปลง ดัดแปลง หรือยายตําแหนงถุงลม
นิรภัย เซ็นเซอร และโมดูลของระบบนิรภัยหรือ
สวนประกอบใดๆ ของระบบ
การเชือ
่ มตอหรือการดัดแปลงสวนปลายดานหนาของรถ
อาจสงผลกระทบตอจังหวะการพองตัวของถุงลมนิรภัย
และสงผลใหเกิดการทํางานที่ควบคุมไมได
การดัดแปลงโครงสรางตัวถังตําแหนงเสา B อาจสงผลก
ระทบตอจังหวะการพองตัวของถุงลมนิรภัย และสงผล
ใหเกิดการทํางานของถุงลมนิรภัยดานขางที่ควบคุมไม
ได
โปรดดู : ระบบนิรภัยเสริมและถุงลมนิรภัย (SRS) (หนา ?)

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:42 GMT 2021
7
1 ขอมูลทั่วไป 1.3 การแปลงที่สัมพันธกัน
ผูเปลี่ยนแปลงรถยนตตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับที่กฎหมาย
กําหนด เมื่อการเปลี่ยนแปลงจําเปนตองไดรับการอนุมัติใหม
ตองแสดงขอมูลตอไปนี้
• ขอมูลทั้งหมดเกี่ยวกับขนาด นํ้าหนัก และจุดศูนยถวง
• การแกไขตัวถังที่ทํากับรถยนตผูบริจาค
• สภาวะการทํางาน
งานบริการเทคนิคที่รับผิดชอบอาจตองใชขอมูลเพิ่มเติมและ/
หรือตองการการทดสอบ
ขอควรจํา : สําหรับขอมูลเพิม
่ เติม โปรดติดตอเจาหนาทีบ
่ ริษท

ขายแหงชาติในทองถิ่นหรือตัวแทนจําหนายของ Ford ใน
ทองถิ่น

8 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:42 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
1.4 ความสอดคลองของแมเหล็กไฟฟา (EMC)
1.4.1 รักษาระยะหางระหวางเสาอากาศ และสายไฟ ไปยังกลอง
ควบคุมอิเลกทรอนิกสใดๆ และระบบถุงลมนิรภัย อยาง
คําเตือน : นอย 100 มม
หามวางสิง่ ของหรือติดตัง้ อุปกรณบนหรือใกลฝาครอบถุง ขอควรจํา : เราทดสอบและรับรองรถของคุณเพื่อใหเปนไป
ลมนิรภัย ทางดานขางพนักพิง (ของเบาะนั่งดานหนา) ตามกฎหมายความเขากันไดทางแมเหล็กไฟฟาในทองถิน ่ หรือ
หรือในบริเวณเบาะนั่งดานหนา ซึ่งอาจสัมผัสกับถุงลม เทียบเทา หากเกีย ่ วของ คุณมีหนาทีต่ อ
 งตรวจสอบใหแนใจวา
นิรภัยทีใ่ ชงานอยู หากไมปฏิบต
ั ต
ิ ามคําเตือนเหลานี้ อาจ อุปกรณใดๆ ทีต่ วั แทนจําหนายทีไ่ ดรบ
ั อนุญาตติดตัง้ บนรถยนต
เพิ่มความเสี่ยงของการบาดเจ็บในกรณีที่เกิดการชน ของคุณเปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
อยารัดสายเสาอากาศกับสายไฟของรถ ทอนํ้ามัน ขอควรจํา : อุปกรณสงคลื่นความถี่วิทยุใดๆ ในรถของคุณ (
เชื้อเพลิง และทอเบรก เชน โทรศัพทมอื ถือและเครือ
่ งสงคลืน
่ วิทยุสมัครเลน) ตองตรง
ตามพารามิเตอรที่แสดงในตารางตอไปนี้ เราไมมีขอกําหนด
พิเศษหรือเงื่อนไขสําหรับการติดตั้งหรือใชงาน

E239121

ชวงคลื่นความถี่วิทยุ MHz วัตตของกําลังเอาตพุตสูงสุด (RMS สูง ตำแหนงเสาอากาศ


สุด)
1-30 50 1
50-54 50 2. 3
68-88 50 2. 3
142-176 50 2. 3
380-512 50 2. 3
806-870 10 2. 3

ขอควรจํา : หลังจากติดตัง้ เครือ


่ งสงสัญญาณความถีค่ ลืน
่ วิทยุ
ใหตรวจสอบการรบกวนสัญญาณระหวางเครือ ่ งสงและอุปกรณ
ไฟฟาทั้งหมดภายในรถ โดยรวมทั้งในโหมดสแตนดบายและ
โหมดสงสัญญาณ
ตรวจสอบอุปกรณไฟฟาทั้งหมด
• ขณะที่สวิตชกุญแจเปด
• ขณะเครื่องยนตทํางาน
• ระหวางการขับทดสอบบนถนนที่ความเร็วระดับตางๆ
ขอควรจํา : ตรวจสอบวาปริมาณสนามแมเหล็กไฟฟาที่เกิด
ขึน
้ ภายในหองโดยสารซึง่ เกิดจากเครือ
่ งสงสัญญาณทีต
่ ด
ิ ตัง้ อยู
เกินจากขอกําหนดดานการรับสัมผัสของมนุษยที่มีผลบังคับ
ใชหรือไม

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:42 GMT 2021
9
1 ขอมูลทั่วไป 1.5 แนวทางจังหวะหนาที่การทํางานของรถยนต (Vehicle Duty Cycle
Guidelines)
ขอควรจํา : สําหรับขอมูลเพิม
่ เติม โปรดติดตอเจาหนาทีบ
่ ริษท

ขายแหงชาติหรือผูจําหนาย Ford ในพื้นที่
จําเปนตองคํานึงถึงโปรไฟลการใชงานของผูใ ชและรอบการทํา
งานของรถยนตทค ่ี าดไวของรถยนตทด
่ี ด
ั แปลง เพือ
่ เลือกขอมูล
จําเพาะของรถยนตพื้นฐานที่เหมาะสม
จําเปนตองเลือกการขับเคลื่อน เครื่องยนต อัตราทดเกียร
นํ้าหนักมวลรวมของรถ มวลรวมของขบวน คากําหนดของ
เพลาและนํา้ หนักบรรทุกของรถยนตพน ้ื ฐานเพือ
่ ใหตรงกับความ
ตองการของลูกคา
ตรวจสอบวาไดสง่ั ซือ
้ รถยนตพน
้ื ฐานทีม
่ าพรอมตัวเลือกทีต
่ ด
ิ ตัง้
จากโรงงานที่จําเปน หากทําได
ขอแนะนําใหใชอัตราทดเกียรคาสูงสําหรับรถยนตที่ลูกคา
ตองการ:
• นํ้าหนักบรรทุกสูง
• รถพวง
• ขับแบบเคลื่อนตัวสลับหยุดนิ่งบอยๆ
• ขับที่ระดับความสูงสูงและทางลาดชัน
• สภาพการขับขี่แบบที่พบในอาคารและสถานที่กอสราง

1.5.1 การขับขี่รถยนตและคุณลักษณะการควบคุม
การขับขี่
ขอควรระวัง : อยาใหเกินคากําหนดของเพลา นํ้าหนัก
มวลรวมของรถ คากําหนดของรถพวงและมวลรวมของ
รถพวง
การแปลงสภาพเปนรถยนตพื้นฐานที่เปลี่ยนศูนยถวงอาจสง
ผลตอการขับขี่และคุณลักษณะการควบคุมการขับขี่
ขอควรจํา : ควรประเมินการทํางานที่ปลอดภัยของรถยนตทุก
คันกอนการขาย

10 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
1.6 การขึ้นแมแรง
คําเตือน :
ตรวจสอบใหแนใจวามีการหลอลื่นเกลียวสลักอยาง
เพียงพอกอนการใชงาน
ควรใชแมแรงบนพื้นระดับที่มั่นคงหากทําได

บิดสวิตชกญ
ุ แจปดและดึงเบรกจอดใหสด
ุ กอนยกรถยนต

ขอแนะนําใหตด ิ ทีก
่ น
้ั ลอของรถยนต และไมควรมีคนอยู
ในรถยนตที่กําลังใชแมแรงยก
ไมควรใหสวนใดสวนหนึ่งของรางกายอยูใตทองรถยนต E166722
ที่ยกขึ้นดวยแมแรง
คําเตือน: หามอยูใตทองรถยนตที่ยกขึ้นดวยแมแรง คําเตือน: แมแรงทีใ่ หมาพรอมกับรถยนตมไี วสาํ หรับการ
เปลี่ยนลอเทานั้น อยาใชแมแรงยกรถยนตในกรณีอื่น
นอกเหนือจากการเปลี่ยนลอในกรณีฉุกเฉินเทานั้น
ขอควรระวัง : ตรวจสอบวายังคงสามารถเขาถึงลออะไหล
ไดอยูเมื่อเปลี่ยนทิศทางรถหรือยายตําแหนงลออะไหล
ขอควรจํา : เมื่อใชแมแรงยกรถ โปรดอานคูมือผูใชสําหรับคํา
แนะนําการใชงานที่ถูกตอง
เครื่องยกลออะไหลอยูเหนือลออะไหล และเขาถึงไดจากดาน
หลังของโครงแชสซี
ตองประกอบและติดตัง้ แมแรงกับตัวถังอยางเหมาะสมเพือ
่ ให
มั่นใจถึงความปลอดภัย ความทนทาน และสามารถเขาถึงได

จุดขึ้นแมแรงรถยนตและตําแหนงแทนตั้งเพลา

E212163

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
11
1 ขอมูลทั่วไป 1.7 การยก
คําเตือน: เมื่อยกรถดวยที่ยกแบบสองเสาเพื่อถอด ขอควรระวัง :
เครื่องยนต/ระบบเกียรหรือเพลาดานหลัง ตรวจสอบวา
รถยึดเขากับทีย่ กโดยใชสายรัดยึดรถเพือ
่ ปองกันการเอียง เมือ
่ ยกรถดวยทีย่ กแบบสองเสา ตองใชอะแดปเตอรแขน
การไมปฏิบัติตามคําแนะนําเหลานี้ อาจสงผลใหไดรับ ยกใตจุดที่มีการยก
บาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวิต เมื่อยกรถดวยที่ยกแบบสองเสา นํ้าหนักรถเปลาตองไม
เกินขีดจํากัดสูงสุด
ขอสําคัญคือตองใชตําแหนงของการยกและการรองรับที่
ถูกตองเสมอ

รถทุกรุน

E133943

12 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
1.8 เสียงดัง, การสั่นสะเทือนและการกระแทก (NVH)
คําเตือน: ตรวจสอบใหแนใจวารถยนตที่ดัดแปลงนั้น
สอดคลองกับขอกําหนดของกฎหมายทัง้ หมดทีเ่ กีย
่ วของ
การเปลีย่ นแปลงระบบสงกําลัง เครือ
่ งยนต ระบบเกียร ระบบ
ไอเสีย ระบบไอดี หรือยางอาจสงผลใหเกิดเสียงดังภายนอก
ดังนั้นระดับเสียงภายนอกของรถยนตที่เปลี่ยนแปลงตองได
รับการตรวจยืนยัน
ระดับเสียงภายในไมควรแยลงจากการเปลีย ่ นแปลง เสริมความ
แข็งแกรงที่แผงและโครงสรางตามความเหมาะสมเพื่อหลีก
เลี่ยงการสั่นสะเทือน ลองพิจารณาใชวัสดุลดเสียงที่แผง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
13
1 ขอมูลทั่วไป 1.9 อุปกรณชวยในการขนสงรถยนตและการจัดเก็บรถยนต
ขอควรระวัง : การตรวจสอบกอนการสงมอบ (PDI) เปนโอกาสสุดทายที่จะ
ตรวจสอบใหแนใจวาแบตเตอรีใ่ ชงานไดตามวัตถุประสงคกอ  น
ไมเชื่อมตอแบตเตอรี่หากตองเก็บรถยนตนานเกิน 30
ทีล
่ ก
ู คาจะไดรบ
ั รถยนตใหม ตองตรวจสอบแบตเตอรีแ ่ ละดําเนิน
วัน
การอยางเหมาะสมกอนสงมอบรถยนตใหลก ู คา ตองบันทึกผล
ตรวจสอบใหแนใจวาไมมีการถอดฝาครอบจากรถยนตที่ การทดสอบในคําสั่งซอมของ PDI
ยังไมเสร็จสมบูรณจนกวาจะเริ่มทําการเปลี่ยนแปลง
แบตเตอรี่ เพื่อใหมั่นใจวาแบตเตอรี่ไดรับการบํารุงรักษาอยาง
ตรวจสอบวาสวนประกอบที่ถอดในระหวางการ ถูกตองและเพือ่ ชวยปองกันการเสือ
่ มสภาพเร็วกวากําหนด จึง
เปลี่ยนแปลงนั้นถูกเก็บรักษาในสภาพที่สะอาดและแหง จําเปนตองตรวจสอบและชารจแบตเตอรี่เปนประจําระหวางที่
ไมไดใชรถ หากปลอยใหแบตเตอรีม่ ปี ระจุตา่ํ กวาระดับการชารจ
ตรวจสอบวาสวนประกอบที่ถอดในระหวางการ
ที่เหมาะสมเปนเวลานาน อาจทําใหแบตเตอรี่เสื่อมสภาพเร็ว
เปลี่ยนแปลงนั้นถูกติดตั้งกลับไปที่รถคันเดิม
กวากําหนด
โหมดการขนสงมีคณ ุ สมบัตกิ ารเปรียบเทียบเพือ ่ ลดความ
เสีย
่ งการกัดกรอนของชุดหัวฉีดนํา้ มันเชือ
้ เพลิง การออก การดําเนินการ / เวลาใน รายเดือน ทุก 3 เดือน
จากโหมดการขนสงกอนการปรับแตง/ การแปลงสภาพ การจัดเก็บ
จะเพิ่มความเสี่ยงในการที่หัวฉีดจะทํางานลมเหลวกอน
เวลา ตรวจสอบวารถสะอาด X -

นอกจากนี้: กำจัดสิง่ ปนเปอ


้ นภายนอ X -

• ควรยกทีป
่ ด
 นํา้ ฝนกระจกหนาออกจากกระจกและจับตัง้ ขึน

ตรวจสอบสภาพ เชื่อมตอแลว ปลดขั้วตอ
• ควรปดระบบไอดีทั้งหมด แบตเตอรี่ - ชารจใหม
• เพิ่มแรงดันลมยางปกติอีก 0.5 บาร หากจําเปน
• ไมควรใชระบบเบรกมือ ตรวจสอบยางดวยสายตา X -
• ใชโชคลอที่เหมาะสมเพื่อปองกันการไหล ตรวจหาการควบแนนภา - X
ความเสีย
่ งอยางมากประการหนึง่ ในระหวางจัดเก็บคือการเสือ
่ ม ยในรถ
สภาพของงานตัวถังรถยนต ดังนัน ้ ตองปฏิบต
ั ต
ิ ามขัน
้ ตอนการ เดินเครือ
่ งยนตจนกระทัง่ - X
จัดเก็บที่เหมาะสมรวมทั้งการตรวจสอบและบํารุงรักษาเปน เกจนํ้าหลอเย็นถึง
ระยะๆ อุณหภูมิ (60 ° C) ขณะ
Ford ไมรับผิดชอบตอการเคลมที่เกิดขึ้นจากการเสื่อมสภาพ สวิตชปรับอากาศเปดอยู
เนื่องจากการจัดเก็บ การบํารุงรักษา หรือการดูแลที่ไมถูกตอง หากเปนไปได
ผูเ ปลีย
่ นแปลงรถยนตตอ
 งกําหนดขัน ้ ตอนและขอควรระวังของ
การปองกันการกัดกรอนของชุดหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงระหวาง
ตนเอง โดยเฉพาะอยางยิง่ เมือ่ จัดเก็บรถยนตในทีโ่ ลงเนือ
่ งจาก
กระบวนการปรับแตง/ การแปลงสภาพฝายวิศวกรรมของ Ford
รถจะสัมผัสกับสิ่งปนเปอนมากมายในอากาศ
ระบุปญหาชุดหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต 2.0L
แนวทางตอไปนี้อาจถือวาสมเหตุสมผลในการจัดเก็บ: EcoBlue / Duratorq วาชุดหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงอาจเกิดการ
การจัดเก็บในระยะสั้น กัดกรอน
• หากเปนไปไดควรจัดเก็บรถยนตในสถานที่ปดลอม แหง ปญหานี้มีสาเหตุจากการควบแนนซึ่งเกิดขึ้นกับหัวฉีดเมื่อ
อากาศถายเทไดดี อยูบ นพืน
้ ซึง่ มัน
่ คงและมีการระบายนํา้ ที่ เครื่องยนตยังใหมและทํางานซํ้าๆ ในชวงเวลาสั้นๆ ขณะ
ดี ปราศจากหญาหรือวัชพืช และมีการปกปองจากแสงแดด เครื่องยนตเย็น (นอยกวา 60 องศาเซลเซียส) ผลที่ตามมาคือ
โดยตรงหากเปนไปได ชุดหัวฉีดนํา้ มันเชือ
้ เพลิงอาจทํางานลมเหลวระหวางการจัดเก็บ
รถยนตหรือตองเขารับบริการกอนเวลา
• รถยนตตอ  งไมจอดใกลกบ
ั หรือจอดใตกง่ิ ไม หรือใกลกบ
ั นํา้
ซึ่งอาจจําเปนตองมีการปกปองเพิ่มเติมในบางบริเวณ หากไมสามารถยกรถยนตในโหมดการขนสง ควรดําเนินการ
ตามขัน้ ตอนในการตัดการเชือ่ มตอขัว้ ตอไฟฟาเซ็นเซอรวด
ั ความ
การจัดเก็บในระยะยาว:
ดันสัมบูรณในทอรวมไอดี (MAPT) เพื่อใหไดผลลัพธแบบ
• ไมเชื่อมตอแบตเตอรี่แตไมถึงกับถอดออกจากรถยนต เดียวกัน จนกวารถยนตจะมีการเตรียมการสงมอบใหลูกคา
• ควรถอดใบปดนํ้าฝนออกและวางไวขางในรถยนต ตรวจ ประสบการณแสดงใหเห็นวารถยนตที่อยูระหวางดําเนินการ
สอบวามีการปองกันไมใหกานปดนํ้าฝนวางบนกระจกบัง แปลงสภาพโดยมีการสตารทเครือ ่ งยนตเปนประจําในชวงเวลา
ลมหนา สั้นๆ ขณะเครื่องเย็นสวนใหญมีความเสี่ยง ตัวอยางเชน รถที่
• เขาเกียรหนึ่งแลวปลดเบรกมือใหสุด หนุนลอกอนหาก อยูระหวางการแปลงสภาพเปนรถบาน
รถยนตไมไดอยูบนพื้นที่ราบเสมอกัน
รถยนตที่จอดไวในที่จัดเก็บเปนเวลานานอาจเกิดปญหานี้ได
• ตั้งคาการควบคุมสภาพอากาศเปนตํ่าแหนง "เปด" เพื่อให งายเปนพิเศษ เชน รถทีร่ อดําเนินการหรืออยูร ะหวางการแปลง
อากาศถายเทหากเปนไปได สภาพ
• หากมีการติดฟลมปองกันมาจากโรงงาน ตองทิ้งไวเชนนั้น
เพื่อจัดการปญหานี้และปองกันชุดหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงจาก
จนกวาจะเตรียมการจัดสง แตตอ  งเอาฟลม
 ออกหลังจากจัด
การทํางานลมเหลวกอนเวลา ตองตัดการเชือ ่ มตอเซ็นเซอรแรง
เก็บรถยนตนานสูงสุด 6 เดือน (ฟลมมีการประทับตราวัน
ดันสมบูรณทอรวมไอดีและอุณหภูมิ (MAPT) โดยทําตามขั้น
ที่เพื่อระบุวันที่ตองเอาออก)
ตอนงายๆ ตอไปนี้
• ตรวจสอบใหแนใจวาหนาตาง ประตู ฝากระโปรงหนา ประตู
ทาย และฝาปดหองเก็บสัมภาระทั้งหมดปดอยูและล็อกรถ ขัน
้ ตอนสําหรับการตัดการเชือ
่ มตอเซ็นเซอรแรงดันสมบูรณทอ

รวมไอดีและอุณหภูมิ (MAPT)

14 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
E350348
• ถอดขั้วตอไฟฟา
• สตารทและดับเครื่องยนต 4 ครั้งเพื่อใหแนใจวาไฟแสดง
การทํางานผิดพลาด (MIL) ติดสวางและขอความแสดง
ขอมูลที่เกี่ยวของปรากฏขึ้นในแผงกลุมมาตรวัด
– รถยนตสามารถใชงานไดอยางปลอดภัยขณะตัดการ
เชื่อมตอเซ็นเซอร MAP ระหวางการแปลงสภาพใดๆ
ที่อาจดําเนินการกับรถ ตัวอยางเชน การแปลงสภาพ
เปนรถบาน
• กอนทีจ ่ ะสงมอบรถยนตใหลกู คา ตองเชือ
่ มตอเซ็นเซอรแรง
ดันสมบูรณทอรวมไอดีและอุณหภูมิ (MAPT) กลับเขาที่
และสตารทเครื่องยนต 4 ครั้งเพื่อปดไฟแสดงการทํางาน
ผิดพลาด (MIL) ลบขอความแสดงขอมูลและคืนกลับให
เปนกําลังเครื่องยนตและเอาทพุทแรงบิดปกติ
ขอควรจํา : เมือ
่ ตัดการเชือ
่ มตอเซ็นเซอรวด
ั ความดันสัมบูรณ
ในทอรวมไอดี (MAPT) ตองใชรถภายในสถานทีจ ่ ด
ั เก็บเทานัน

และหามใชบนถนนสาธารณะ
เพื่อลดโอกาสที่แบตเตอรี่จะเสื่อมสภาพเร็วกวากําหนด ขอ
แนะนําวา:
• ถาปลอยใหแบตเตอรี่มีการเชื่อมตอ – ใหตรวจสอบทุก
เดือน
• ถาแบตเตอรีไ่ มไดเชือ
่ มตอ – ควรตรวจสอบอยางนอยทุก
3 เดือน

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
15
1 ขอมูลทั่วไป 1.10 แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and Ergonomics)
1.10.1 แนวทางสําหรับชุดสวนประกอบทั่วไป สําหรับการแปลงสภาพที่ตองมีกลองหลัง อาจตองมีการใช
สัญญาณถอยหลังตามที่อธิบายไวในสวนไฟถอยหลัง
คําเตือน: หามดัดแปลง ตัด หรือเชือ
่ มสวนประกอบใดๆ
ของระบบรองรับนํ้าหนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบเฟอง โปรดดู : ไฟแสงสวางภายนอก (หนา ?)
พวงมาลัย ซับเฟรม หรือเหล็กกันโครง สปริง หรือ
โชกอัพ รวมทั้งขายึด 1.10.5 ระบบชวยสําหรับการเขาและออกจากรถ
ผูแปลงสภาพรถยนตตองทําใหมั่นใจวามีระยะหางเพียงพอใน
ทุกสภาวะการขับขีส
่ าํ หรับชิน
้ สวนทีเ่ คลือ
่ นที่ เชน เพลา พัดลม
พวงมาลัย ระบบเบรก ฯลฯ ขั้นตอน
ผูแปลงสภาพรถยนตตองรับผิดชอบสวนประกอบที่ติดตั้ง คําเตือน :
ทั้งหมดในระหวางการแปลงสภาพ ใชขั้นตอนการทดสอบที่
เหมาะสมเพื่อยืนยันความทนทาน ตรวจสอบใหแนใจวารถยนตทด
่ี ด
ั แปลงนัน
้ สอดคลองกับ
ขอกําหนดของกฎหมายทั้งหมดที่เกี่ยวของ
หากการดัดแปลงนี้เปลี่ยนแปลงขนาดที่กําหนดไว อาจ
1.10.2 ระยะการใชงานของคนขับ จําเปนตองขอรับการอนุมัติใหม
ตัวควบคุมและ/หรืออุปกรณที่จําเปนตองใชขณะขับรถควรอยู ขอควรระวัง : ตรวจสอบใหแนใจวามีการติดตั้งอุปกรณ
ในระยะที่คนขับเขาถึงไดงาย เพื่อไมใหคนขับเสียการควบคุม เสริมความแข็งแรง เพือ
่ รักษาความสมบูรณของโครงสราง
ตัวถังของเดิมไว
1.10.3 ขอบเขตการมองเห็นของคนขับ บันไดสามารถสัง่ ซือ
้ เปนอุปกรณเสริมสําหรับรถยนตรน
ุ พืน
้ ฐาน
ได โปรดตรวจสอบการจําหนาย
คําเตือน: ตรวจสอบใหแนใจวารถยนตที่ดัดแปลงนั้น หากมีการติดตั้งบันไดเพิ่มเติม ตองมีการรักษาระยะหางจาก
สอดคลองกับขอกําหนดของกฎหมายทัง้ หมดทีเ่ กีย
่ วของ พื้นตามที่กําหนดไว
ผูแ
 ปลงสภาพรถยนตตอ  งตรวจสอบใหแนใจวาบันไดทีถ ่ อดออก
1.10.4 การแปลงสภาพมีผลกระทบกับระบบชวย ไดอยูในตําแหนงสําหรับจัดเก็บเมื่อกําลังขับรถ พื้นผิวบันได
จอด ตองไมลื่น

คําเตือน: ตรวจสอบใหแนใจวาจอภาพที่ติดตั้งในหอง
โดยสารเปนไปตามขอกําหนดการตกแตงภายในและขอ กระจกมองหลัง
กําหนดดานความปลอดภัย
ขอควรจํา : ความกวางโดยรวมพรอมกระจกมองหลังภายนอก
ที่กางออกคือ 2163 มม.

16 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
E278311

รายกา รายละเอียด

X ความกวางสูงสุดของตัวถัง: 1860 มม.

1.10.6 แผนปายทะเบียน

แผนปายทะเบียนดานหนา

คําเตือน :
การติดตั้งแผนปายทะเบียนที่ดานหนาของรถยนตตอง
เปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
อยาใหสวนใดๆ ของแผนปายทะเบียนรถถูกบดบังจาก
อุปกรณมาตรฐาน อุปกรณเสริมตามการผลิตปกติ ตาม
มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
แผนปายทะเบียนตองติดอยูท
 ด
่ี า นหนาของรถยนตโดยอยูข
 า ง
หนาและขนานกับ "เพลา" ดานหนาตามมาตรฐานขอบังคับใน
ทองถิ่น

แผนปายทะเบียนดานหลัง

คําเตือน :
การติดตั้งแผนปายทะเบียนดานหลังของรถตองเปนไป
ตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
อยาใหสวนใดๆ ของแผนปายทะเบียนรถถูกบดบังจาก
อุปกรณมาตรฐาน อุปกรณเสริมตามการผลิตปกติ ตาม
มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
แผนปายทะเบียนตองติดอยูที่ดานหลังของรถยนตตาม
มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
17
1 ขอมูลทั่วไป 1.11 แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and Ergonomics)—ขอมูลจําเพาะ
1.11.1 ขนาดตัวถังที่แนะนํา ขอควรจํา : เมื่อทําการขยายความยาวของเฟรมไปดานหลัง
ของเพลาหลัง ควรจํากัดใหระยะยืน
่ ดานหลังไมเกิน 50% จาก
คําเตือน : ระยะฐานลอของรถยนต
หามดัดแปลงฐานลอหรือเพิ่มสวนขยายเฟรมชนิดใดๆ ขอควรจํา : หากติดตั้งหวงลากจูงกับรถยนต มิติตัวถังตอง
กับรถยนตที่ติดตั้งระบบควบคุมเสถียรภาพการทรงตัว สอดคลองกับระยะหางหวงลากจูงตามขอกําหนดทางกฎหมาย
แบบอิเล็กทรอนิกส (ESP) ในทองถิ่น สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดดูขอกําหนดทาง
กฎหมายในทองถิ่น
ตรวจสอบใหแนใจวานํา้ หนักทีเ่ พิม
่ ลงในรถยนตไมสง ผลก
ระทบตอเสถียรภาพของรถยนต หากการเปลีย ่ นแปลงตองการระยะยืน่ มากกวา 50% โปรดติดตอ
เจาหนาทีบ
่ ริษท
ั ขายแหงชาติในทองถิน
่ หรือผูจ
 าํ หนายของ Ford
ขอควรจํา : ระยะยื่นดานหลังที่มากเกินไปอาจทําใหเกิดการ ใกลบาน
บรรทุกนํ้าเกินไดงาย ซึ่งอาจทําใหนํ้าหนักถายออกจากเพลา
ดานหนา ทําใหการบังคับควบคุมรถและการเบรกทําไดยากขึน ้ โครงสรางรับนํา้ หนักไมควรติดตัง้ ลงบนกระบะบรรทุกของหรือ
ตรวจสอบใหแนใจวาจุดศูนยถว  งของตัวถังและนํา้ หนักบรรทุก ตูบรรทุกของที่มี จุดติดตัวถังจะอยูบนเฟรม
ไมอยูนอกโซนที่แนะนํา โปรดดู : ตัวถัง (หนา ?)
ขอควรจํา : จุดศูนยถวงที่สูงเกินไปอาจทําใหเสถียรภาพของ
รถยนตลดลง ตรวจสอบใหแนใจวาจุดศูนยถวงของตัวถังและ
นํ้าหนักบรรทุกไมอยูนอกโซนที่แนะนํา
โปรดดู : (หนา ?)

ตัวถังแชสซีแค็ป - ภาพที่แสดงคือซิงเกิลแค็ป

F
H

D E
G

B
A

E278312

18 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
ขนาด - ไมเกินความยาวของตัวถังแชสซีแค็ป
คำอธิบาย ขนาด (มม.)
ซิงเกิ้ลแค็บ ซุปเปอรแค็บ ดับเบิ้ลแค็บ
A ความยาวเฟรมดานหลังแค็ป (ไมรวมคานขวางบริเวณไฟทาย) 2251 1781 1483
B คานลางและอุปกรณลากพวงที่ติดตั้งตองเปนไปตามที่กฎหมายกำหนด
C ความสูงตัวถังภายนอกสูงสุดที่แนะนำ 2,400 เหนือเฟรมดานบน ใหการกระจายนํ้าหนัก
บรรทุกเปนไปตามที่กําหนด
D ดานหนาภายนอกตัวถังถึงเพลาดานหลัง 1241 771 473
E ระยะยื่นดานหลังสูงสุดที่แนะนำ 1,610 (50% ของฐานลอรถยนต) ใหการกระจาย
นํ้าหนักบรรทุกเปนไปตามที่กําหนด
F ระยะหางระหวางดานหลังแค็ปและตัวถัง ตํ่าสุด 25
G ตรวจสอบใหแนใจวาการสองสวางเปนไปตามที่กฎหมายกำหนด โปรดดู : ไฟแสงสวางภายนอก (หนา ?)
H ระยะหางระหวางดานบนแค็ปและตัวถัง 30
J ความกวางตัวถังภายนอกสูงสุด 1860
ขนาดทั้งหมด (แสดงในหนวย มม.) อาจมีความคลาดเคลื่อนจากการผลิต และโปรดอางอิงขอมูลจําเพาะขั้นตํ่ารุนซึ่งไมรวม
อุปกรณเสริม ภาพที่แสดงเปนแคคําแนะนําเทานั้น

1.11.2 ตัวถังแชสซีแค็ป - ขนาดและนํ้าหนักพื้นฐาน

ตัวถังแชสซีแค็ป - ภาพที่แสดงคือซิงเกิลแค็ป

D F

E278313

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
19
1 ขอมูลทั่วไป
ตัวถังแชสซีแค็ป - ขนาดและนํ้าหนักพื้นฐาน
คำอธิบาย ซิงเกิ้ลแค็บ ดับเบิ้ลแค็บ
A ความยาวโดยรวม (มม.) 5110
B ความกวางโดยรวม - ไมรวมกระจกภายนอก (มม.) 1860
C ความสูงโดยรวม 4x2 (มม.) 1703 1716
C ความสูงโดยรวม 4x4 (มม.) 1800-1806 1815 - 1821
D ฐานลอ (มม.) 3220
*
E ความกวางยาง - หนา (มม.) 1590
E ความกวางยาง - หนา (มม.)** 1560
E ความกวางยาง - หลัง (มม.)* 1590
**
E ความกวางยาง - หลัง (มม.) 1560
F ระยะยื่นดานหลังพรอมกันชนหลังที่ติดตั้ง (มม.) 985 1234
- โหลดบนเพลาดานหนา (กก.)* 1325
**
- โหลดบนเพลาดานหนา (กก.) 1480
*
- โหลดบนเพลาดานหลัง (กก.) 1755
**
- โหลดบนเพลาดานหลัง (กก.) 1850
*
รถ 4x2 แบบตัวเตี้ย
**
รถ 4x2 แบบยกสูง / รถยนต 4x4

1.11.3 นํ้าหนักรถเปลาและนํ้าหนักบรรทุก
คําเตือน: ตรวจสอบขอบังคับทางกฎหมายในทองถิ่น

รายละเอียดของนํ้าหนักรถเปลาและนํ้าหนักบรรทุกที่รับได
สามารถขอรับไดจากตัวแทนบริษัทขายแหงชาติ

1.11.4 แผนปองกันตัวถังดานลาง ดานขาง


ดานหนา
คําเตือน: ตรวจสอบขอบังคับทางกฎหมายในทองถิ่น

แผนปองกันตัวถังดานลาง การปองกันตัวถังดานลางและตัวถัง
ดานขางใชการปองกันตองเปนไปตามขอกําหนดการตกแตง
ออกแบบในพื้นที่

20 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
1.12 ฮารดแวร (Hardware)—ขอมูลจําเพาะ
ขอมูลจําเพาะของวัสดุ ความแข็งแรงและแรงบิด
ฮารดแวรมาตรฐานและแรงบิดยึด (Nm) สลักเกลียว/สตัดเกลียว: ISO 898-1, น็อต: ISO 898-2
เกรด 4.8 เกรด 8.8 เกรด 10.9
ขนาดเกลียว ตํ่าสุด สูงสุด ตํ่าสุด สูงสุด ตํ่าสุด สูงสุด
M4 1.1 1.4 2.4 3.4
M5 2.2 2.7 4.9 6.7
M6 3.7 4.7 8.5 11.5 11.0 15.0
M8 20.0 28.0 25.0 35.0
M10 41.0 55.0 50.0 70.0
M12 68.0 92.0 95.0 125.0
M14 113 153 150 200
M16 170.0 230.0 230.0 310.0
M18 252.0 317.0 317.5 399.4
M20 345.0 430.0 434.7 541.8
M22 470.0 590.0 592.2 743.4
M24 600.0 750.0 756.0 945.0
ตารางแรงบิดนี้เปนขอมูลที่แนะนํา ผูเปลี่ยนแปลงรถยนตตองรับผิดชอบตอแรงบิดที่เหมาะสมสําหรับขอตอที่เฉพาะเจาะจง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
21
1 ขอมูลทั่วไป 1.13 การกระจายนํ้าหนัก—ขอมูลจําเพาะ
1.13.1 การคํานวณการกระจายนํ้าหนัก - การ ขอควรจํา : การกระจายนํ้าหนักบรรทุกที่ไมสมํ่าเสมออาจสง
กระจายนํ้าหนักของคนขับและผูโดยสาร ผลใหมีลักษณะการควบคุมรถและการเบรกที่ไมสามารถยอม
รับได
ขอควรระวัง :
ขอควรจํา : การบรรทุกนํ้าหนักรถยนตเกินขีดจํากัดอาจสงผล
อยาใหเกินพิกัดนํ้าหนักที่เพลากําหนด ใหระยะหางจากพื้นถนนนอยเกินไป
ขอควรจํา : จุดศูนยถว งของตัวถังและนํา้ หนักทีร่ ถยนตบรรทุก
อยาใหเกินนํ้าหนักมวลรวมของรถยนต ควรจะอยูในมิติตที่กําหนดให
ขอควรจํา : หลีกเลีย
่ งการบรรทุกนํา้ หนักไปเฉพาะดานใดดาน
ตองใหเปนไปตามขอมูลจําเพาะจากผูผลิตยาง
หนึ่ง
ขอควรจํา : สําหรับขอมูลเพิม
่ เติม โปรดติดตอเจาหนาทีบ
่ ริษท

ขายแหงชาติในทองถิ่นหรือผูจําหนาย Ford ในพื้นที่

22 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
ซิงเกิ้ลแค็บ

E278314

การกระจายนํ้าหนักของคนขับและผูโดยสารในซิงเกิลแค็ป
'A' ฐานลอ (มม.) 'B' เบาะนัง่ แถวหนาและ กระจายนํ้าหนักตอคน (กก.)
คนขับ (มม.)
บนเพลาดานหนา บนเพลาดานหลัง รวม
3220 1490 40 35 75

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
23
1 ขอมูลทั่วไป
ซุปเปอรแค็บ

B
C
A

E278316

การกระจายนํ้าหนักของคนขับและผูโดยสารในรถกระบะแบบซุปเปอรแค็บ
'A' ฐานลอ (มม.) 'B' เบาะนัง่ แถวหนา 'C' เบาะนั่งแถวที่ กระจายนํ้าหนักตอคน (กก.)
และคนขับ (มม.) สอง (มม.)
บนเพลาดานหนา บนเพลาดานหลัง รวม
3220 1490 - 40 35 75
- - 2180 24 51 75

24 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
ดับเบิ้ลแค็บ

B
C
A

E278315

การกระจายนํ้าหนักของคนขับและผูโดยสารในดับเบิลแคป
'A' ฐานลอ (มม.) 'B' เบาะนั่งแถว 'C' เบาะนั่งแถวที่ กระจายนํ้าหนักตอคน (กก.)
หนาและคนขับ ( สอง (มม.)
มม.)
บนเพลาดานหนา บนเพลาดานหลัง รวม
3220 1490 - 40 35 75
- - 2310 21 54 75

1.13.2 จุดศูนยถวง "นํ้าหนักที่เพิ่ม" หมายถึงอุปกรณตัวถังที่ติดตั้งเพิ่มเติมและ


สัมภาระ แตไมรวมไปถึงผูโ ดยสารทีน่ ง่ั ตามทีก
่ าํ หนดในหัวเกง
ขอควรจํา : การคํานวณที่แสดงยังไมรวมขอพวงลากและ มาตรฐาน
อุปกรณเสริมอื่นๆ ที่ผูจําหนายติดตั้งเพิ่มเติม สําหรับดับเบิลแค็ป นํา้ หนักทีเ่ พิม
่ จะมีการจํากัดซึง่ ตองปฏิบต
ั ิ
ตารางตอไปนี้จะระบุตําแหนงจุดศูนยถวงที่แนะนําสําหรับ ตาม เพื่อไมใหเกินนํ้าหนักรวมของเพลาและระบบสงกําลัง
นํ้าหนักที่เพิ่มเขากับรถโดยตัวแปลงรถ

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
25
1 ขอมูลทั่วไป
ซิงเกิ้ลแค็บ

E278317

โซนจุดศูนยถวงที่สําคัญสําหรับซิงเกิลแค็ป
รุ่น C ที่แนะนําของตําแหนง G สําหรับนํ้าหนักที่เพิ่ม
'A' ตํ่าสุด (มม.) 'B' สูงสุด (มม.) 'C' สูงสุด (มม.)
4x2 1965 3220 740
4X2* 1965 3435 590
4x4 1965 3435 590
*
รถ 4x2 แบบยกสูง

26 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
ซุปเปอรแค็บ

E278319

โซนจุดศูนยถวงที่สําคัญสําหรับรถกระบะซุปเปอรแค็บ
รุ่น C ที่แนะนําของตําแหนง G สําหรับนํ้าหนักที่เพิ่ม
'A' ตํ่าสุด (มม.) 'B' สูงสุด (มม.) 'C' สูงสุด (มม.)
4x2 2395 3220 740
4X2* 2365 3435 590
4x4 2365 3435 590
*
รถ 4x2 แบบยกสูง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
27
1 ขอมูลทั่วไป
ดับเบิ้ลแค็บ

E278318

โซนจุดศูนยถวงที่สําคัญสําหรับดับเบิลแค็ป
รุ่น C ที่แนะนําของตําแหนง G สําหรับนํ้าหนักที่เพิ่ม นํ้าหนักที่เพิ่มรวมสูงสุด (
กก.)
'A' ตํ่าสุด (มม.) 'B' สูงสุด (มม.) 'C' สูงสุด (มม.)
4x2 2585 3615 740 700
4X2* 2435 3615 590 625
4x4 2435 3615 590 700
*
รถ 4x2 แบบยกสูง

28 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
1 ขอมูลทั่วไป
1.14 การลากจูง
1.14.1 ขอกําหนดการลากจูง
เมื่อตองการอุปกรณสําหรับลากจูง ผูแปลงสภาพรถยนตควร
ใชขอลากพวงที่ไดรับการอนุมัติจาก Ford
โปรดดู : (หนา ?)
การกระจายนํ้าหนัก
โปรดดู : การขึ้นแมแรง (หนา ?)

1.14.2 การลากจูง
คําเตือน :
อยาใหเกินนํ้าหนักรวมสูงสุด (GCM) หรือนํ้าหนักที่ใช
ในการลากจูงสําหรับรถยนตของคุณ ดูคม ู อ
ื ผูใ ชรถสําหรับ
ขอมูลจําเพาะที่เกี่ยวของกับนํ้าหนักที่ใชในการลากจูง
และมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
ตรวจสอบใหแนใจวานํ้าหนักของชุดลากรถอยูในชวงที่
ระบุ
การลากจูงรถพวงเกินนํ้าหนักรวมของรถพวงที่แนะนํา
สูงสุดจะเกินขีดจํากัดของรถยนตของคุณ และอาจสงผล
ใหเครื่องยนตเสียหาย ระบบเกียรเสียหาย โครงสราง
เสียหาย การสูญเสียการควบคุมรถยนต รถยนตพลิก
ควํ่า และการบาดเจ็บ
อยาตัด เจาะ เชื่อม หรือดัดแปลงจุดพวงของชุดพวง
โดยเด็ดขาด การดัดแปลงจุดพวงของชุดพวงอาจลด
ระดับความสามารถในการลากพวง
อยาบรรทุกนํ้าหนักเกินระดับสูงสุดในแนวตั้งตรงที่หัว
ลาก หากไมปฏิบัติตามคําแนะนําอาจทําใหสูญเสียการ
ควบคุมรถยนต ไดรับบาดเจ็บรุนแรง หรือเสียชีวิต
สําหรับอุปกรณลากจูงที่ติดตั้งโดยผูแปลงสภาพรถยนต ตอง
คํานึงถึงสิ่งตอไปนี้:
• นํา้ หนักทีใ่ ชในการลากจูงตองไมเกินนํา้ หนักของรถยนตท่ี
ยังไมไดแปลงสภาพ
• การดัดแปลงใดๆ ทีเ่ กิดขึน
้ กับรถยนตตอ งมีการจดบันทึก
ไวในเอกสารคําอธิบายสําหรับเจาของรถซึง่ มีอยูใ นเอกสาร
เจาของรถยนต
• การติดตั้งขอพวงลากตองเปนไปตามขอกําหนดของ
มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
• เมื่อมีการเจาะเฟรม ตองมีการใชทอเสริมความแข็งแรง
โปรดดู : 5.5 เฟรมและการยึดตัวถัง (หนา 89)

1.14.3 นํา้ หนักทีใ่ ชในการลากจูงและขอมูลจําเพาะ


ขอควรจํา : ดูคูมือผูใชรถสําหรับขอมูลจําเพาะที่เกี่ยวของกับ
นํ้าหนักที่ใชในการลากจูงและมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
29
2 แชสซี 2.1 ระบบรองรับนํ้าหนัก
คําเตือน :
หามดัดแปลง ตัด หรือเชือ
่ มสวนประกอบใดๆ ของระบบ
รองรับนํ้าหนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบเฟองพวงมาลัย
ซับเฟรม หรือเหล็กกันโครง สปริง หรือโชกอัพ รวมทั้ง
ขายึด
สปริงแผนดานหลังถูกอัดแรงลวงหนาแลวขณะผลิตและ
ไมควรแกไขอัตราหรือความสูงใดๆ ในระหวางแปลงระบบ
รถ การเพิม ่ หรือถอดสปริงแผนอาจทําใหสปริงทํางานผิด
พลาดหรือลดประสิทธิภาพของสปริงรวมถึงปญหาอื่นๆ
ที่เกี่ยวกับรถยนต Ford Motor Company ไมมีหนาที่
รับผิดชอบ

ขอควรระวัง :
การดัดแปลงระบบรองรับนํา้ หนักอาจเปนสาเหตุของการ
เสื่อมสภาพของความทนทานและการดูแลรถยนต
ขณะทํางานเชื่อมตองคลุมสปริงเพื่อปองกันสปริงจาก
ประกายของการเชื่อม
อยาแตะสปริงดวยลวดเชื่อมหรือหัวเชื่อม

ขอควรจํา : หามดัดแปลงฐานลอหรือเพิม
่ สวนขยายเฟรมชนิด
ใดๆ กับรถยนตที่ติดตั้งระบบควบคุมเสถียรภาพการทรงตัว
แบบอิเล็กทรอนิกส (ESP)
ขอควรจํา : อยาทําใหพื้นผิวหรือสารปองกันการกัดกรอนของ
สปริงเสียหายขณะถอดแยกชิ้นสวนและติดตั้ง
ขอควรจํา : หามใสเพลาเพิ่มเติม

30 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
2 แชสซี
2.2 ระบบเบรก
2.2.1 รายละเอียดโดยทั่วไป
2.2.3 เบรกรถพวง
ระบบเบรกตองทํางานไดโดยสมบูรณเมื่อการแปลงรถเสร็จ
สมบูรณแลว ตองตรวจสอบโหมดการทํางานของการเบรกรถ คําเตือน: สายไฟเบรกของรถพวงที่ติดตั้งไวลวงหนาจะ
รวมทั้งระบบแจงเตือนและเบรกจอด ใหสัญญาณเบรกแบบพัลสของความถี่ตางๆ สัญญาณ
คําเตือน: อยาจํากัดการไหลเวียนของอากาศและการ แบบพัลสนี้ไมใชสัญญาณไฟฟากระแสตรง (DC) ตัว
ระบายความรอนไวที่ระบบเบรกเทานั้น ควบคุมเบรกรถพวง FLA ที่ผานการรับรองจาก Ford
(หมายเลขชิ้นสวน VGB3Z2C405E) สามารถใชไดกับ
ขอควรจํา : อยากีดขวางมุมมองระดับกระปุกนํ้ามันเบรก สัญญาณแบบพัลสเหลานี้ หากมีการติดตั้งตัวควบคุม
จําเปนตองเขาถึงกระปุกนํ้ามันเบรกไดเพื่อใหบริการและเติม เบรกทีต ่ ด
ิ ตัง้ หลังการขายอืน
่ เจาของรถหรือผูต ด
ิ ตัง้ ตอง
นํ้ามันเบรก ตรวจสอบวาตัวควบคุมนัน ้ สามารถใชไดกบ
ั สัญญาณแบบ
พัลสทั้งหมดจากสายไฟเบรกของรถพวงที่ติดตั้งไว
ลวงหนา หากไมตรวจสอบความเขากันไดของตัวควบคุม
2.2.2 ทอออนนํ้ามันเบรก เบรก อาจทําใหรถสูญเสียการควบคุม ซึ่งอาจสงผลให
เกิดอุบัติเหตุรายแรงหรือเสียชีวิตได หากตองการคํา
ขอควรระวัง : ตรวจสอบวาทอออนนํา้ มันเบรกดานหนา อธิบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับขอกําหนดของสัญญาณพัลส
และดานหลังไมบิดเปนเกลียว และอยูหางจาก โปรดติดตอผูจําหนายที่ไดรับอนุญาตของ Ford
สวนประกอบตัวถังและแชสซีอยางเหมาะสม
ขอควรจํา : มีการรับประกันรถใหมของ Ford ใหสําหรับตัว
ทอออนนํ้ามันเบรกดานหนาและดานหลังตองไมถู เสียดสี ควบคุมเบรกรถพวง (TBC) ของอุปกรณเสริมที่ไดรับใบ
หรือพาดบนตัวถังหรือสวนประกอบของแชสซีหรือตัวถัง ตอง อนุญาตจาก Ford (FLA) เมื่อติดตั้งในรถโดยผูจําหนายที่ได
มีระยะหางภายใตสภาวะการทํางานทั้งหมด ระหวางกําลังอัด รับอนุญาตของ Ford (หมายเลขชิ้นสวน VGB3Z2C405E)
สูงสุดและสวนขยาย และล็อกสุดกับล็อก Ford ไมรบ
ั ผิดชอบสําหรับการรับประกันหรือประสิทธิภาพการ
ตองไมใชผาเบรกเพื่อรองรับหรือยึดสวนประกอบอื่นๆ ทํางานของตัวควบคุมเบรกหลังการขายอื่นๆ ที่ไมไดรับการ
รับรองจาก Ford

การเชื่อมตอเบรกรถพวง

E275788

ขอควรจํา : แสดงแบบ RHD (พวงมาลัยขวา), เหมือนกับ


LHD (พวงมาลัยซาย)
สายไฟทีต
่ ดิ ตัง้ ไวลว
 งหนาจะอยูท
 างดานหลังแผงขางทีว
่ างเทา
เสา A ที่ทําเครื่องหมายวาตัวควบคุมเบรกรถพวง
ติดตอผูจําหนายที่ไดรับอนุญาตของ Ford สําหรับขอมูล
เพิ่มเติมเกี่ยวกับอุปกรณเสริมที่ไดรับใบอนุญาตจาก Ford
และตัวควบคุมเบรกรถพวงที่ผานการรับรองจาก Ford

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
31
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง 3.1 ระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง
คําเตือน : โหมดการขนสงมีคณ ุ สมบัตกิ ารเปรียบเทียบเพือ ่ ลดความ
ตรวจสอบใหแนใจวารถยนตทด
่ี ด
ั แปลงนัน
้ สอดคลองกับ เสีย
่ งการกัดกรอนของชุดหัวฉีดนํา้ มันเชือ
้ เพลิง การออก
ขอกําหนดของกฎหมายทั้งหมดที่เกี่ยวของ จากโหมดการขนสงกอนการปรับแตง/ การแปลงสภาพ
จะเพิ่มความเสี่ยงในการที่หัวฉีดจะทํางานลมเหลวกอน
อยาถอดหรือยายตําแหนงอุปกรณระบายความรอนนํา้ มัน เวลา
เชื้อเพลิง (หากติดตั้ง) เมื่อทําการปรับแตงรถยนต
ขั้นตอนสําหรับการปองกันการกัดกรอนของชุดหัวฉีดนํ้ามัน
ขอควรระวัง : เชื้อเพลิงระหวางกระบวนการปรับแตง/การแปลงสภาพ:
ตรวจสอบใหแนใจวาการปรับแตงรถยนตไมไดกีดขวาง โปรดดู : 1.9 อุปกรณชวยในการขนสงรถยนตและการจัดเก็บ
การไหลของอากาศไปยังอุปกรณระบายความรอนนํ้ามัน รถยนต (หนา 14)
เชื้อเพลิง
ตรวจสอบใหแนใจวามีระยะหางมากพอสําหรับชิน ้ สวนที่ 3.1.1 ขายึดรองทอเติมนํา้ มันเชือ
้ เพลิง (หากติดตัง้ )
รอนและชิ้นสวนที่เคลื่อนไหวในทุกสภาวะการขับ
ขอควรระวัง : ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงในรถหัว
ตรวจสอบใหแนใจวาไมมป
ี ลายแหลม รวมถึงตัวรัดทีห
่ น
ั แค็ปซึ่งออกแบบมาเพื่อรถประเภทดังกลาวเทานั้น
ดานมีคมไปยังสวนประกอบระบบนํ้ามันเชื้อเพลิงใดๆ
ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงติดตั้งกับรถหัวแค็ปซึ่งออก
ทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงตองมีการติดตั้งจุดรองรับตาม แบบมาเพื่อใหถอดออกเมื่อติดตั้งตัวถังหรือกระบะกับรถยนต
แนวทางในหมวดนี้ ตัวถังหรือกระบะตองมีขายึดทอเติมนํา้ มันเชือ
้ เพลิงเปนไปตาม
แนวทางในหมวดนี้ ขายึดรองสามารถติดตั้งทิ้งไวกับรถได
เฉพาะเมื่อมีการใชขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงเพิ่มเติม
ตามแนวทางในหมวดนี้

ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง - ซิงเกิลแค็ป

E145838

32 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง
ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง - รถกระบะซุปเปอรแค็ป

E145839

ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง - ดับเบิลแค็ป

E213151

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
33
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง 3.1.2 ตัวรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง หากตัวถังรถยนตและขายึดรองไมเปนสายกราวนดสําหรับคอ
ทอเติมนํา้ มันเชือ
้ เพลิง ตองทําการเพิม
่ สายกราวนด โดยเชือ
่ ม
ขอควรระวัง : ตรวจสอบใหแนใจวาขายึดรองทอเติม ตอคอทอเติมเขากับโครงแชสซี
นํา้ มันเชือ
้ เพลิงทํามาจากวัสดุตวั นํา และสามารถเปนสาย
กราวนดสําหรับคอทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง

โครงขายึดทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง

E145833

หมายเหตุการติดตั้งทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง
รายกา รายละเอียด

A ความกวางของโครง ซึ่งเชื่อมตอกับตัวถังอยางนอย 180 มม.
1 จุดยึดฮารดแวรทั้ง 3 จุด บนคอทอเติมตองใชงานครบทุกจุด

34 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง
องศาของคอทอเติม

B
A

E145836

มิติการติดตั้งคอทอเติม
รายกา รายละเอียด

A ความหนาโครงขั้นตํ่า 2 มม.
B 30° - เปนองศาการติดตั้งเพื่อใหแนใจวานํ้ามันเชื้อเพลิงจะไหลไดอยางดี เมื่อทําการเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงและปองกัน
การไหลยอนกลับ

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
35
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง
ระยะหางจากตัวถังรถยนต

E145835

รายกา รายละเอียด

A ตองมีระยะหางอยางนอย 9 มม. ระหวางฝาทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงและตัวถังรถยนต ในกรณีที่เลวรายที่สุดเปนองศาที่
เปด หากทําได

3.1.3 ทอออนชองระบายทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง ฝาระบายอากาศทอระบายทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง


• ทอออนชองระบายอากาศของถังนํ้ามันเชื้อเพลิงและฝา
ระบายอากาศตองเดินสายจากตําแหนงรองรับไปยังตําแหนง
ทีร่ ะบุในเอกสารตามลําดับเพือ่ ใหเปนไปตามขอมูลจําเพาะ
เพื่อใหนํ้าไหลและปองกันนํ้าเขาไปยังถังนํ้ามันเชื้อเพลิง
• ใหใชฝาระบายอากาศถังนํ้ามันเชื้อเพลิงที่ใหมา
• ทอออนสําหรับนํ้ามันเชื้อเพลิงแบบยืดหยุนไดตองยึดเขา
กับตัวถังรถยนต โดยใหอยูสูงกวาพื้นอยางนอย 600 มม.
(4x2) หรือ 800 มม. (4x4 หรือ 4x2 ยกสูง) เหนือพื้น ให
วัดความสูงขณะวัดนํ้าหนักขณะรถบรรทุกนํ้าหนักเต็มที่
• ทอออนชองระบายอากาศของถังนํ้ามันเชื้อเพลิงควรไดรับ
การปองกันและจัดตําแหนงไมใหโดนนํา้ นํา้ กระเซ็นจากลอ
และโคลนกระเซ็นโดยตรง และรวมถึงรูนํ้าทิ้งที่อาจมี E212453

• ฝาระบายอากาศทอออนชองระบายอากาศของถังนํ้ามัน ขอควรจํา : ติดตอผูจ าํ หนายทีไ่ ดรบ


ั อนุญาตเพือ
่ ยืนยันหมายเลข
เชื้อเพลิงตองหันขึ้นโดยใหลูกศรหันขึ้น ชิ้นสวนที่ถูกตองสําหรับรถยนตของคุณ

36 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
3 เครื่องยนตและชุดสงกําลัง
ตัวอยางตําแหนงติดตั้งทอออนระบายอากาศถังนํ้ามันเชื้อเพลิง

E212452

รายการ คำอธิบาย
1 แผนกระบะหนาดานลางของกระบะบรรทุกของ (หมุนกระบะบรรทุกของเพื่อความชัดเจน)
2 ทอออนชองระบายถังนำมันเชื้อเพลิง

3.1.4 ถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกล
3.1.5 ทอออนระบายอากาศเพลา
ขอควรจํา : ถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกลไมไดออกแบบโดย
Ford Motor Company และ Ford Motor Company ไมได ทอออนระบายเฟองดิฟเฟอเรนเชียลดานหลังควรติดตัง้ เขากับ
เปนผูกําหนดเกี่ยวกับการติดตั้ง สภาพตัวถัง คุณภาพหรือ คอทอเติม/ตัวถังรถยนต การเดินทอออนระบายเพลาตองเปน
ความทนทานของชิ้นสวนเหลานี้ ไปในทิศทางเดียวกับชองระบายอากาศของถังนํา้ มันเชือ ้ เพลิง
ขอควรจํา : แมฟงกชันการทํางานจะไดรับการปรับปรุงจาก ที่ยายตําแหนง เมื่อติดตั้งตัวถังเสริม อุปกรณเสริม หรือการ
การปรับแตงนี้ การคํานวณระยะทางจนหมดอาจมีความ ยายตําแหนงทอเติมนํา้ มันเชือ
้ เพลิง เมือ
่ จําเปน ทอออนสําหรับ
คลาดเคลื่อนเมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นสวนและการคํานวณ นํ้ามันเชื้อเพลิงแบบยืดหยุนไดตองยึดเขากับตัวถังรถยนต
มาตรฐาน โดยใหอยูสูงกวาพื้นอยางนอย 600 มม. (4x2) หรือ 800 มม
. (4x4 หรือ 4x2 ยกสูง) เหนือพื้น ใหวัดความสูงขณะวัด
การติดตั้งถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกล ฟงกชันระยะทางจน นํ้าหนักขณะรถบรรทุกนํ้าหนักเต็มที่ ฝาทอระบายสามารถใช
หมด (DTE) จะถูกจํากัด กับทอออนระบายเพลา
หากตองการปรัลปรุงฟงกชันระบบ ใหใช IDS/FDRS ที่
เหมาะสม
• เสียบ IDS/FDRS เขากับรถยนต
• อนุญาตให IDS/FDRS อานคาพารามิเตอรและแสดงเม
นูที่ใชงานได
• ในการกําหนดคาพารามิเตอร เลือกปริมาณความจุถงั นํา้ มัน
เชื้อเพลิง (ขนาดถัง A)
• เลือกตัวเลือกทีเ่ หมาะสมจากหนาตางตัวเลือกดําเนินการ:
ความจุถังนํ้ามันเชื้อเพลิง (Fuel Tank Capacity) > คํา
อธิบายการกําหนดคา (Configuration Description)
– มาตรฐาน 80 ล.
– 140 ล. ถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกล ARB

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
37
4 ระบบไฟฟา 4.1 คําแนะนําในการวางและเดินสายไฟ
4.1.1 ขั้นตอนการเชื่อมตอสายไฟ
หัวตอแบบหัวหนีบ TYCO-RAYCHEM

E131081

Ford Motor Company ไมแนะนําใหใชการเชื่อมตอสายไฟ


เนื่องจากลักษณะที่ผันแปรและคาดเดาไมไดของรอยตอที่เกิด
ขึ้น อยางไรก็ตาม หากพบวาไมสามารถหลีกเลี่ยงการใชหัวตอ
สายไฟได ตองดําเนินการโดยใช หัวตอแบบหัวหนีบหุมฉนวน
ไนลอนกันนํ้าและเปนชนิดหดรัด DuraSeal (ที่ผลิตโดย
TYCO-RAYCHEM) ตัวอยางเชน ซีรีส D406 เพื่อเปนการ
ปรับปรุงหัวตอใหสมบูรณมากขึ้น ควรซีลหัวตอเพิ่มเติมดวย
ทอหดที่เหมาะสม ดูรูปภาพที่ E131081

38 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
4.2 แบตเตอรรี่และสายไฟ
4.2.1 ขอมูลแบตเตอรี่
ขอควรระวัง :
หากมีการตัดการเชือ ่ มตอแบตเตอรี่ ไมจาํ เปนตองตัง้ โปรแกรม อยาหวังพึงี่ เจเนเรเตอรในการชารจแบตเตอรีท
่ ค
่ี ายประจุ
รถยนตใหม รถยังคงรักษาการตัง้ คาการจัดการพลังงาน "ปกติ จนหมดแตเพียงอยางเดียว เพราะทานอาจตองใชเวลา
" ไวอยู และจดจําสิง่ ทีม
่ ก
ี ารตัง้ คากอนหนานีไ้ วได (แมวา สลัก ในการขับรถติดตอกันเพื่อชารจแบตเตอรี่นานเกินกวา
ของเซ็นทรัลล็อกอาจหมุนหากเปดประตูหรือสลักล็อกถูกเปด 8 ชั่วโมงโดยที่ระบบชารจตองไมมีโหลดอื่นเพิ่มเติม
ดวยมือในชวงเวลาการดําเนินการ) การตั้งคาวิทยุทั้งหมดจะ
ยังคงมีการเก็บรักษาไว แตตอ  งใสรหัสคียเ พือ ่ เรียกคืนฟงกชน
ั ตรวจสอบใหแนใจวา ระดับนํ้ายาอิเล็กโทรไลตสูงถึงขีด
การทํางาน นาฬิกาจะตองไดรับการรีเซ็ต ตองมีการรีเซ็ตโมดู บอกระดับสูงสุด
ลควบคุมหนาตางดวย โปรดดูคม ู อ
ื ผูใ ชรถสําหรับขอมูลเพิม
่ เติม ตอสายเครื่องชารจแบตเตอรี่เขากับแบตเตอรี่กอนเปด
สวิตชเครื่องชารจแบตเตอรี่

ขอกําหนดแรงดันแบตเตอรี่และการทดสอบ ปดสวิตชเครือ
่ งชารจแบตเตอรีก
่ อ
 นปลดสายเครือ
่ งชารจ
แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่
แรงดันแบตเตอรี่ทั้งหมดตองมีการวัดดวยความแมนยํา: +/- ขอควรจํา : แบตเตอรีข ่ องฟอรดเปนแบตเตอรีช
่ นิดทีไ่ มจาํ เปน
5% ของคาที่ประกาศไว ตองผานการบํารุงรักษา อยางไรก็ตาม ในบางสถานการณอาจ
เพือ่ ยืดอายุการใชงานของแบตเตอรีใ่ หนานทีส
่ ด
ุ เมือ
่ รถมาถึง เปนไปไดที่นํ้ายาอิเล็กโทรไลตในแบตเตอรี่จะลดตํ่ากวาระดับ
ผูแปลงสภาพรถยนต แบตเตอรี่ทั้งหมดตองมีแรงดันไฟฟาที่ ตํ่าสุด
วงจรเปด (OCV) ตํ่าสุดไมนอยกวา 12.75 โวลต ขอควรจํา : ขอแนะนําใหใชเครือ่ งตรวจวัดและชารจแบตเตอรี่
เมือ
่ แบตเตอรีไ่ ดรบ
ั การติดตัง้ และเชือ
่ มตอกับระบบไฟฟาของ Midtronics รุน GR-590 ซึ่งไดรับการออกแบบมาเปนพิเศษ
รถยนตโดยไมโหลด แรงดันไฟฟาที่วงจรปด (CCV) ตองไม สําหรับใชกับแบตเตอรี่ประเภทซิลเวอรแคลเซียม เมื่อเชื่อม
นอยกวา 12.65 โวลต เมือ ่ มีการสงมอบรถยนตใหลก ู คา CCV ตอเครื่องชารจแบตเตอรี่เขากับแบตเตอรี่แลว เครื่องชารจ
ตองไมนอยกวา 12.50 โวลต แบตเตอรีจ ่ ะตรวจสอบสถานะการชารจของแบตเตอรี่ จากนัน ้
จึงจายไฟชารจในอัตราและชวงเวลาทีเ่ หมาะสม เมือ ่ แบตเตอรี่
ชารจเต็มแลว เครือ
่ งชารจแบตเตอรีจ ่ ะเปลีย
่ นไปทีโ่ หมดพรอม
การสลายประจุบนพื้นผิว ใชงาน และคงสภาพแบตเตอรี่ใหอยูในสภาพชารจเต็มที่ เพื่อ
ปองกันการระบายกาซและการโอเวอรชารจ นอกจากนี้ เครือ ่ ง
กอนทีจ ่ ะตรวจสอบแรงดันไฟฟาดวยตนเอง จําเปนตองตรวจ ตรวจวัดและชารจแบตเตอรี่ Midtronics รุน GR-590 ยังใช
สอบวาแรงดันแบตเตอรีม ่ ค
ี วามเสถียรและไมมป ี ระจุไฟบนพืน ้ โปรแกรมซอฟตแวรทม ่ี ค
ี ณ
ุ สมบัตช
ิ ว ยฟน
 สภาพของแบตเตอรี่
ผิวทีเ่ กิดจากสภาวะการทํางานของเครือ่ งยนต ซึง่ ทําใหการอาน ที่คายประจุติดตอกันเปนเวลานาน (เกิดตะกั่วซัลเฟต)
แรงดันไฟฟาไมนาเชื่อถือและไมถูกตอง ขอควรจํา : วิธกี ารชารจแบตเตอรีแ ่ ละประเภทของเครือ ่ งชารจ
เพื่อใหแนใจวาไมมีประจุไฟฟาอยูบนพื้นผิว ขอแนะนําให แบตเตอรีม ่ มี ากมายหลายแบบ ไมวา จะใชวธิ ก ี ารใดก็ตาม ตอง
ดําเนินการตอไปนี้: ดําเนินการดวยความระมัดระวังเพือ ่ หลีกเลีย
่ งความเสียหายตอ
แบตเตอรี่ และโอกาสที่จะทําใหเกิดการบาดเจ็บ ตองปฏิบัติ
1. เปดไฟหนา 5 วินาที หรือไฟจอด 15 วินาที ตามขั้นตอนในคูมือคําแนะนําที่ไดมาพรอมกับเครื่องชารจ
2. ปดโหลดไฟฟาทั้งหมด (รวมถึงหลอดไฟ พัดลม ชุด แบตเตอรีอ ่ ยางเครงครัด ผูป
 ฏิบต
ั งิ านไมควรละเลยการใชงาน
ทําความรอน ฯลฯ) เครื่องปองกันที่ไดจากผูผลิตอุปกรณ
3. รอ 10 นาที ขอควรจํา : แบตเตอรี่ที่เก็บไวในสภาพไฟชารจใกลหมดอาจ
ตองใชเวลานานในการเริม
่ ตนชารจ ในกรณีดงั กลาว แบตเตอรี่
บางใบอาจใชเวลาในการเริ่มตนชารจนานจนแอมมิเตอรบน
รถยนตที่ไมใชงาน เครื่องทดสอบแบตเตอรี่บางตัวไมแสดงสถานะการชารจใดๆ
เปนเวลานาน 5 ถึง 10 นาที
รถยนตทเ่ี ก็บไวในสถานทีต ่ ง้ั ของผูแ
 ปลงสภาพและไมไดใชงาน
นานกวา 4 วัน ควรถอดสายไฟขัว ้ ลบแบตเตอรีอ่ อก กอนทีจ่ ะ ขอควรจํา : นอกจากนี้ เครือ่ งชารจแบตเตอรีอ ่ ต
ั โนมัตย
ิ งั มีได
จัดสงรถยนตใหลก ู คา ตองตอสายไฟขัว ้ ลบแบตเตอรีใ่ หมและ รับการปองกันการตอขัว้ ผิด ซึง่ ทําใหไมจาํ เปนตองปรับตัง้ หรือ
ตรวจสอบแรงดันไฟฟาอีกครัง้ แรงดันไฟฟาตองไมนอ  ย 12.5 ตรวจสอบใดๆ
โวลต ขอควรจํา : การชารจอยางชาๆ จะฟน  สภาพแบตเตอรีใ่ หกลับ
ไปอยูในสภาพชารจเต็มที่ และเนื่องจากกระแสไฟที่ใชชารจ
คอนขางตํา่ โอกาสทีจ
่ ะเกิดการโอเวอรชารจจึงมีนอ
 ยมาก อัตรา
ขั้นตอนการชารจแบตเตอรี่ การชารจที่ใชควรอยูที่ประมาณ 5% ของความจุสํารองของ
แบตเตอรี่ที่กําลังชารจอยู (ประมาณ 3 ถึง 6 แอมป ทั้งนี้ขึ้น
คําเตือน :
อยูกับขนาดของแบตเตอรี่) ควรปรับกระแสไฟที่ใชชารจเมื่อ
โปรดปฏิบัติตามคําแนะนําในการใชงานเครื่องชารจ เวลาผานไป 10 นาทีหลังจากการตั้งคาเริ่มตน และปรับอีก
แบตเตอรี่จากผูผลิตอยางเครงครัด ครัง้ หลังจากเวลาผานไป 1 ชัว่ โมงกอนทีจ
่ ะปลอยใหแบตเตอรี่
ชารจตามปกติอีก 8 ถึง 12 ชั่วโมง
อยาจัม
๊ สตารตแบตเตอรีโ่ ดยใชระบบชารจแบตเตอรีจ
่ าก
รถยนตคันอื่น
อยาเติมนํา้ กรดแบตเตอรีม ่ ากเกินไปจนลน เพราะจะเปน
สาเหตุทาํ ใหนา้ํ กรดรัว่ ซึมออกมาและทําความเสียหายให
รถยนต และอาจทําใหไดรับบาดเจ็บได

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
39
4 ระบบไฟฟา ขอควรจํา : เครื่องชารจแบตเตอรี่แบบแรงดันคงที่จะชารจ
แบตเตอรีท ่ แ่ี รงดันสูงสุดทีต
่ ง้ั ไว แรงดันทีใ่ ชขน
้ึ อยูก
 บ
ั การออก
แบบและสภาพของเครื่องชารจแบตเตอรี่ รวมถึงอายุและ
อุณหภูมิของแบตเตอรี่ เครื่องชารจแบตเตอรี่ประเภทนี้จะเริ่ม
ตนชารจทีก ่ ระแสไฟสูง และคอยๆ ลดกระแสไฟลงเมือ ่ แรงดัน 40 mm
แบตเตอรีเ่ ริม ่ ฟน
 กลับมา เมือ
่ ใชงานเครือ ่ งชารจแบตเตอรีแ ่ บบ
แรงดันคงที่ ควรจดบันทึกกระแสไฟทีใ่ ชชารจหลังชารจไปแลว
5 นาที และเมื่อเครื่องชารจแบตเตอรี่ปดทํางานเมื่อกระแสไฟ
ทีใ่ ชชารจลดลงเหลือหนึง่ ในสามของคาทีบ ่ น
ั ทึกไว หรือหลังจาก
เวลาผานไป 8 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับวาสภาพใดถึงกอน
ขอควรจํา : เครื่องชารจแบตเตอรี่แบบมัลติออกแบบมาให
สามารถชารจแบตเตอรี่พรอมกันไดหลายใบ เครื่องชารจ
แบตเตอรี่แบบมัลติที่มีจําหนายแบงออกเปน 2 ประเภทแตก DTZ9722102

ตางกัน ทั้งนี้ควรเลือกใชเครื่องชารจแบตเตอรี่ประเภทที่ใช
ขอควรจํา : ระดับนํ้ายาอิเล็กโทรไลตแบตเตอรี่สูงสุดอยูที่
วิธีการตอชารจแบบอนุกรม สิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงคือ
ประมาณ 40 มม. ตํา่ กวาสวนบนสุดของฝาครอบหมอแบตเตอรี่
แบตเตอรีท ่ น
่ี าํ มาชารจตองเปนประเภทเดียวกันหรือมีอต
ั ราไฟ
ซึ่งจะตรงกับใตขอบลางของฝาครอบหมอแบตเตอรี่พอดี
และแรงดันใกลเคียงกันมาก ไมแนะนําใหใชเครื่องชารจ
แบตเตอรี่แบบมัลติที่ใชวิธีการตอชารจแบบขนาน 3. ตรวจสอบใหแนใจวา ระดับนํา้ ยาอิเล็กโทรไลตแบตเตอรีส ่ งู
ถึงขีดบอกระดับสูงสุด ถาจําเปนใหเติมนํ้ากลั่นและนํ้า
ขอควรจํา : ไมแนะนําใหใชเครือ ่ งชารจแบตเตอรีแ ่ บบชารจเร็ว
ปราศจากไอออน
เพราะอาจสงผลใหแบตเตอรี่เสียหาย การชารจเร็วเปนเพียง
การฟนสภาพแบตเตอรี่ใหอยูสภาพชารจ ซึ่งเพียงพอให 4. ตอขั้วบวกสีแดงของเครื่องชารจแบตเตอรี่เขากับขั้วบวก
แบตเตอรี่สามารถทํางานที่จําเปนอยางการหมุนเครื่องยนตได ของแบตเตอรี่
การชารจเร็วจะไมสามารถฟนสภาพแบตเตอรี่ใหอยูในสภาพ 5. ตอขั้วลบสีดําของเครื่องชารจแบตเตอรี่เขากับขั้วลบของ
ชารจเต็มที่ได ซึ่งตองใชการชารจแบบชาตออีกเปนเวลาชวง แบตเตอรี่
หนึ่ง การชารจเร็วเกินไปจะสงผลใหแบตเตอรี่เสียหาย ดวย 6. ปฏิบัติตามคูมือคําแนะนําวิธีการชารจแบตเตอรี่ที่มาพรอม
เหตุนี้จึงจําเปนตองควบคุมจํานวนครั้งที่ใชวิธีการชารจแบบนี้ กับเครื่องชารจแบตเตอรี่
ไมใหบอ ยเกินไป เครือ ่ งชารจแบตเตอรีแ ่ บบเร็วหลายยีห ่ อ ออก
7. เมือ่ ตองการถอดเครือ
่ งชารจแบตเตอรี่ ใหถอดออกโดยยอน
แบบมาแตกตางกัน ดังนัน ้ จึงเปนเรือ ่ งสําคัญมากทีจ ่ ะตองปฏิบต ั ิ
ขั้นตอนการตอ
ตามคําแนะนําของผูผ  ลิตเครือ่ งมืออยางเครงครัด การใชกระแส
ไฟชารจ 30 แอมปเปนเวลานาน 30 นาทีถือเปนวิธีการปกติ
ของการชารจแบบเร็ว ถาแบตเตอรีเ่ หลือไฟชารจนอยมาก และ แรงบิดในการขันยึดสายไฟแบตเตอรี่
จําเปนตองชารจไฟใหม ควรใชกระแสไฟชารจเพิ่มเติม 20
แอมปเปนเวลาไมเกินหนึ่งชั่วโมงครึ่ง การชารจแบบเร็วนาน สายไฟแบตเตอรี่ควรจะยึดเขากับขั้วดวยแรงบิด 4.8 Nm -/+
กวา 2 ชัว่ โมงจะเพิม่ ความเสีย ่ งทีแ่ บตเตอรีจ ่ ะเสียหายขึน ้ อยาง 0.8Nm
มาก
ขอควรจํา : เมื่อตอหรือปลดการเชื่อมตอแบตเตอรี่ออกจาก
รถยนต ตองแนใจวาไดปลดสายกราวนดของแบตเตอรี่ออก กฎของแบตเตอรี่:
เปนอันดับแรก และตอกลับเขาไปเปนลําดับสุดทาย รวมถึง
อุปกรณไฟฟาทั้งหมดปดการทํางานเรียบรอยแลว จดบันทึก คําเตือน :
รหัสผานของชุดเครื่องเสียงและความถี่ของสถานีวิทยุที่ตั้งไว สําหรับรถยนตที่ติดตั้งแบตเตอรี่ชนิดเปดฝาได (ตองมี
กอนปลดการเชื่อมตอกับแบตเตอรี่ การบํารุงรักษา) จําเปนตองหมั่นตรวจสอบเพื่อดูวามี
1. ถอดแบตเตอรี่ออก ระดับอิเล็กโทรไลต (นํ้ากรด) อยางถูกตอง
2. ถอดสายกราวดแบตเตอรี่ออก เมือ
่ ชารจ ตรวจสอบใหแนใจวาเครือ
่ งชารจแบตเตอรีเ่ ชือ
่ ม
ตอกับสายดินของรถอยางแนนหนาและไมไดตอ  กับขัว้ ลบ
แบตเตอรี่ การดําเนินการดังกลาวจะทําใหแนใจวา BMS
แสดงการชารจแบตเตอรี่
• สําหรับการชารจแบตเตอรี่ภายนอก ตรวจสอบใหแนใจวา
แรงดันไฟฟาสูงสุดไมเกิน 14.6V

หมายเลขชิ้นสวนแบตเตอรี่และการใชงาน

โรงงาน Ford ประเภท คากำหนด ขนาด


แบตเตอรี่มาตรฐาน 75Ah, 750CCA H7

ไทย แบตเตอรี่ระบบสตา 80Ah, 800CCA, เทคโนโลยี AGM Deep Cycle H7


รตและดับเครื่องยน
ตอัตโนมัติ

หากประเภทแบตเตอรีข ่ องรถยนตเปลีย
่ นไปเปนแบตเตอรีแ่ บบ
อืน
่ ทีใ่ ชงานรวมกันได ตองมีการกําหนดคาคุณสมบัตริ ถยนตให
ใชประเภทแบตเตอรีแ ่ บบใหมจากตัวแทนจําหนาย อัปเดตการ
ตั้งคาสวนกลางรถยนตที่ศูนยบริการของตัวแทนจําหนาย

40 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
ระบบการตรวจสอบแบตเตอรี่ (BMS) ขอควรจํา : การปด BMS จะทําใหเสียประโยชนของการ
ประหยัดเชื้อเพลิงที่ไดรับจาก BMS
รถรุนตัวถังเตี้ย
ขอควรจํา : โหลดเสริมตองเชื่อมตอกับสายดินของรถยนต
เสมอและตองไมเชื่อมตอกับขั้วลบแบตเตอรี่
ขอควรจํา : ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอแบตเตอรี่เสริม
ยึดแนนดีแลวโดยใชตัวยึดที่เหมาะสม เพื่อลดความเสียหาย
จากการสั่นสะเทือนหรือการสัมผัสกับสวนประกอบโดยรอบ
สําหรับรถยนตที่มี BMS สามารถเชื่อมตอแบตเตอรี่เพิ่มเติม
ไดโดยใชหนึ่งในวิธีตอไปนี้:
1. ใชเครื่องชารจแบตเตอรี่ในรถยนต (คอนเวอรเตอร DC/
DC) เชน รุน BCDC1220 จาก Redarc (
www.redarc.com.au) (หรือที่คลายกัน) เชื่อมตอผานขั้ว
เพิ่มเติมไปยังขั้วสตารทเตอรของ B+ โดยใชการเชื่อมตอ
E181583 ฟวส 30A และตอกราวดกับตัวถังของรถยนตในตําแหนง
ที่แสดง
รถรุนตัวถังสูง ขอควรจํา : ขั้วเพิ่มเติมตองติดตั้งที่ดานบนของขั้วสตารทเต
อรโดยใชน็อตที่มีอยู
ขอควรจํา : ความหนาสูงสุดของขั้วเพิ่มเติมที่ติดตั้งดานบน
ของขั้วสตารทเตอรตองไมเกิน 2.0 มม.
ขอควรจํา : อยาลืมนําน็อตที่มีอยูกลับมาใชใหม

การเชื่อมตอ B+ สําหรับการชารจแบตเตอรี่เสริม

E223579

รถยนต Ford Ranger มีคุณสมบัติที่เรียกวา ระบบการตรวจ


สอบแบตเตอรี่ (BMS) ระบบนี้จะวัดโหลดของแบตเตอรี่เพื่อ
ทําใหสามารถชารจแบตเตอรีไ่ ดอยางมีประสิทธิภาพพรอมกับ
ชวยประหยัดเชื้อเพลิง
สิ่งสําคัญคือ ตองตรวจสอบใหแนใจวามีการตอกราวดโหลด E251317
ไฟฟาหรืออุปกรณเสริมเพิ่มเติมเขากับตัวถังรถยนตอยางถูก
ตองเพือ ่ ใหระบบสามารถระบุโหลดเพิม
่ เติมได หากมีการเชือ
่ ม การเชื่อมตอ B+ ควรยึดเขากับขั้วโดยใชน็อตที่มีอยูดวยแรง
ตอกับขัว้ ลบแบตเตอรี่ BMS จะไมระบุโหลดหรือการชารจ ซึง่ บิด 13.5 Nm -/+ 2.1 Nm
อาจทําใหแบตเตอรี่มีประจุเหลืออยูนอย จึงทําไมสามารถส
ตารตรถยนตไดอีกครั้ง ขอควรจํา : ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอแบบใชฟวสยึด
ไวแนนดวยอุปกรณยึดที่เหมาะสม เพื่อลดความเสียหายจาก
การสั่นสะเทือนหรือการสัมผัสกับสวนประกอบโดยรอบ
แบตเตอรี่เสริมสําหรับรถยนตที่มีระบบการตรวจสอบ
แบตเตอรี่ (BMS)

ขอควรจํา : การเพิ่มแบตเตอรี่เสริมในรถยนตที่มี BMS จะ


ทําใหแบตเตอรี่ทั้งคูไมสามารถชารจประจุจนเต็มได ระบบจะ
ยอมใหมก ี ารชารจแบตเตอรีใ่ นระหวางการลดความเร็วเทานัน

ดูทห
่ี ว
ั ขอแบตเตอรีค ่ ท
ู ม
่ี รี ะบบการตรวจสอบแบตเตอรี่ (BMS
) ในสวนนี้

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
41
4 ระบบไฟฟา
จุดตอลงกราวดสําหรับเครื่องชารจแบตเตอรี่ในรถ

E251326

รายกา รายละเอียด

1 จุดเชื่อมตอกราวดที่เปนไปไดโดยใช W705661-S901
การเชื่อมตอจุดกราวดขันใหแนนดวยแรงบิด 12 Nm -/+ 1.8 ขอควรจํา : ความหนาสูงสุดของขัว้ เพิม
่ เติมทีต
่ ด
ิ ตัง้ ดานบนของ
Nm ขั้วสตารทเตอรตองไมเกิน 2.0 มม.
2. ขอใหตัวแทนจําหนายของ Ford ปด BMS การปด BMS ขอควรจํา : อยาลืมนําน็อตที่มีอยูกลับมาใชใหม
จะชวยใหระบบแบตเตอรี่คูแบบรีเลยที่ไวตอแรงดันไฟฟา
สามารถทํางานได การเชื่อมตอ B+ สําหรับการชารจแบตเตอรี่เสริม

แบตเตอรีเ่ สริมทีต
่ ด
ิ ตัง้ ใหกบ
ั รถยนตทไ่ี มมรี ะบบการตรวจ
สอบแบตเตอรี่ (BMS)

ขอควรจํา : โหลดเสริมตองเชือ
่ มตอกับสายดินของรถยนตเสมอ
และตองไมเชื่อมตอกับขั้วลบแบตเตอรี่
ขอควรจํา : ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอแบบใชฟวสยึด
ไวอยางแนนหนาดวยอุปกรณยึดที่เหมาะสม เพื่อลดความ
เสียหายจากการสัน
่ สะเทือนหรือการสัมผัสกับสวนประกอบโดย
รอบ
ระบบการชารจของแบตเตอรี่เสริมสามารถเชื่อมตอไดโดยใช E251317
หนึ่งในวิธีตอไปนี้:
1. ใชเครือ
่ งชารจแบตเตอรีใ่ นรถยนต (คอนเวอรเตอร DC/DC การเชื่อมตอ B+ ควรยึดเขากับขั้วโดยใชน็อตที่มีอยูดวยแรง
) เชน รุน
 BCDC1220 จาก Redarc (www.redarc.com.au บิด 13.5 Nm -/+ 2.1 Nm
) (หรือทีค่ ลายกัน) เชือ
่ มตอผานขัว้ เพิม
่ เติมไปยังขัว้ สตารท ขอควรจํา : ทําใหแนใจวาการเชื่อมตอแบบใชฟวสยึดไวแนน
เตอรของ B+ โดยใชการเชื่อมตอฟวส 30A และตอ ดวยอุปกรณยึดที่เหมาะสม เพื่อลดความเสียหายจากการสั่น
กราวดกับตัวถังของรถยนตในตําแหนงที่แสดง สะเทือนหรือการสัมผัสกับสวนประกอบโดยรอบ
ขอควรจํา : ขั้วเพิ่มเติมตองติดตั้งที่ดานบนของขั้วสตารทเต
อรโดยใชน็อตที่มีอยู

42 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
จุดตอลงกราวดสําหรับเครื่องชารจแบตเตอรี่ในรถ

E251326

รายกา รายละเอียด

1 จุดเชื่อมตอกราวดที่เปนไปไดโดยใช W705661-S901
การเชื่อมตอจุดตอลงกราวดควรขันใหแนนดวยแรงบิด 12 • สําหรับโหลดไฟฟาเสริมของลูกคา ตองใชการเชือ
่ มตอแบบ
Nm -/+ 1.8 Nm ใชฟวสที่เหมาะสม
• หากตองใชโหลดเสริมหลายตัว ขอแนะนําใหติดตั้งกลอง
ฟวสเสริมเขากับรถยนต
การเชื่อมตอโหลดเสริม - รถรุนตัวถังเตี้ย
• สําหรับการเชื่อมตอไฟสองสวางภายนอกเสริม ดูแนวทาง
คําเตือน : ที่กําหนดไวในสวนไฟสองสวางภายนอก

ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอทางไฟฟาและสายไฟ โปรดดู : ไฟแสงสวางภายนอก (หนา ?)


ทั้งหมดเปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น โหลดเสริมสําหรับอุปกรณภายนอกทีต ่ อ
 งการชุดจายไฟสําหรับ
การจุดระเบิด (เชน วิทยุ UHF / CB) สามารถเชื่อมตอผานรี
ตองไมเชื่อมตอแบบไมใชฟวสโดยตรงกับขั้วแบตเตอรี่
เลยที่มีกําลังไฟจากชุดจายไฟ IG + ไปยังโมดูลควบคุมตัวถัง
ของรถอยางเด็ดขาด
คําเตือน: ไมควรใชชุดจายไฟ IG + ในการขับเคลื่อน
หากแบตเตอรีห ่ มดประจุเพิม
่ ขึน
้ เนือ
่ งจากโหลดเสริมจะ
โหลดเสริมโดยตรง ตองใชรีเลยที่เหมาะสม
ทําใหการรับประกันแบตเตอรี่เปนโมฆะ
โมดูลควบคุมตัวถังอยูในตําแหนงดานคนขับของรถยนตขาง
ขอควรจํา : โหลดเสริมตองเชื่อมตอกับสายดินของรถยนต
ใตแผงหนาปด
เสมอและตองไมเชื่อมตอกับขั้วลบแบตเตอรี่

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
43
4 ระบบไฟฟา
การเชื่อมตอ IG+ ที่โมดูลควบคุมตัวถัง

2
2

E211057

รายกา รายละเอียด

1 โมดูลควบคุมตัวถัง
2 ชุดจายไฟ IG+

การเชื่อมตอกับโหลดเสริม - รถรุนตัวถังสูง • สําหรับโหลดไฟฟาเสริมของลูกคา ตองใชการเชือ


่ มตอแบบ
ใชฟวสที่เหมาะสม
คําเตือน : • หากตองใชโหลดเสริมหลายตัว ขอแนะนําใหติดตั้งกลอง
ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอทางไฟฟาและสายไฟ ฟวสเสริมเขากับรถยนต
ทั้งหมดเปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น • สําหรับการเชื่อมตอไฟสองสวางภายนอกเสริม ดูแนวทาง
ที่กําหนดไวในสวนไฟสองสวางภายนอก
ตองไมเชื่อมตอแบบไมใชฟวสโดยตรงกับขั้วแบตเตอรี่
ของรถอยางเด็ดขาด โปรดดู : ไฟแสงสวางภายนอก (หนา ?)
ขอควรจํา : โหลดเสริมตองเชือ
่ มตอกับสายดินของรถยนตเสมอ โหลดเสริมสําหรับอุปกรณภายนอกทีต่ อ
 งการชุดจายไฟการจุด
และตองไมเชื่อมตอกับขั้วลบแบตเตอรี่ ระเบิด (เชน วิทยุ UHF / CB) สามารถเชื่อมตอผานรีเลยที่มี
กําลังไฟจากชุดจายไฟ IG + ไปยังโมดูลควบคุมตัวถัง
คําเตือน: ไมควรใชชุดจายไฟ IG + ในการขับเคลื่อน
โหลดเสริมโดยตรง ตองใชรีเลยที่เหมาะสม
โมดูลควบคุมตัวถังอยูใ นตําแหนงดานคนขับของรถยนตขา งใต
แผงหนาปด

44 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
การเชื่อมตอ IG+ ที่โมดูลควบคุมตัวถัง

E223580

รายกา รายละเอียด

1 โมดูลควบคุมตัวถัง
2 ชุดจายไฟ IG+

หมายเลขชิ้นสวน
คำอธิบาย หมายเลขชิน
้ สวน/หมายเลขชิน
้ สวน ผู้ผลิต
บริการ
ขั้วตอ CU5T-14489-XA TE (Tyco Electronics)
ขา 7C3T-14474-DA / DU2Z-14474 Molex
-DA

4.2.2 เจเนอเรเตอรและอัลเทอรเนเตอร

เอาตพุตกระแสไฟอัลเทอรเนเตอร

ติดตอตัวแทนจําหนายทีไ่ ดรบ
ั อนุญาตในพืน ้ ทีข
่ องคุณเพือ
่ สอบ
ถามขอมูลจําเพาะของกระแสไฟเอาตพต ุ อัลเทอรเนเตอรสาํ หรับ
รถยนตของคุณ

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
45
4 ระบบไฟฟา 4.3 ระบบชวยจอด
คําเตือน : ขอควรจํา : อุปกรณเพิ่มเติมบางอยางที่ติดตั้งรอบกันชนหรือ
หนารถยนตอาจทําใหเกิดการแจงเตือนทีผ
่ ดิ พลาด ตัวอยางเชน
เพือ
่ ปองกันไมใหเกิดการบาดเจ็บ โปรดใชความระมัดระวัง
ตะขอเทียมรถพวงขนาดใหญหรือราวแขวนเซิรฟบอรด ฉาก
ขณะขับถอยหลัง (R) และขณะใชงานระบบตรวจจับ
ยึดปายทะเบียน ฝาครอบกันชน หรืออุปกรณอื่นใดที่อาจปด
ระบบอาจไมสามารถตรวจวัตถุทม ่ี พ
ี น
้ื ผิวทีส
่ ามารถดูดซับ กั้นโซนการตรวจจับตามปกติของระบบ ถอดอุปกรณเพิ่มเติม
การสะทอนแสง โปรดขับขีด่ ว ยความระมัดระวังและใสใจ ออกเพื่อปองกันการแจงเตือนที่ผิดพลาด
เสมอ หากไมใชความระมัดระวัง อาจทําใหเกิดการชนได
ระบบตรวจจับของชุดชวยจอดจะเตือนคนขับเกี่ยวกับสิ่ง
ระบบควบคุมการจราจร สภาพอากาศแปรปรวน เบรก กีดขวางที่อยูภายในระยะที่กําหนดของรถยนตของคุณ ระบบ
ลม มอเตอรและพัดลมภายนอกอาจสงผลกระทบตอการ จะเปดขึ้นโดยอัตโนมัติ เมื่อทานบิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง
ทํางานทีถ
่ ก
ู ตองของระบบตรวจจับ ซึง่ อาจทําใหการแจง เปด คุณสามารถปดระบบผานทางเมนูบนหนาจอขอมูลหรือ
เตือนมีประสิทธิภาพลดลงหรือผิดพลาด ผานทางขอความปอปอัพทีป ่ รากฏขึน
้ เมือ
่ คุณเขาเกียรถอยหลัง
(R) หากพบขอบกพรองในระบบ ขอความเตือนจะปรากฏบน
ระบบอาจจะตรวจไมพบวัตถุที่มีขนาดเล็กหรือกําลัง
หนาจอขอมูล ดูคมู อ
ื ผูใ ชรถสําหรับขอมูลเพิม่ เติมเกีย
่ วกับการ
เคลื่อนไหว โดยเฉพาะอยางยิ่งวัตถุที่อยูใกลกับพื้นดิน
ทํางานที่ถูกตองของระบบชวยจอด
ขอควรจํา : อยาใหเซ็นเซอรทต ่ี ด
ิ ตัง้ อยูท
 ก
่ี น
ั ชนหรือบริเวณหนา
ชุดอุปกรณปอ  งกันทีต
่ ด
ิ ตัง้ อยูด
 า นหนาของรถ เชน กันชนเสริม
รถมีหมิ ะ นํา้ แข็งเกาะ หรือสิง่ สกปรกสะสมในปริมาณมาก หาก
/กันชนอัลลอย และชุดปองกันการชนดานหนาและกันสัตว
เซ็นเซอรถูกปกคลุมดวยวัตถุตางๆ จะสงผลกระทบตอความ
กระแทกอาจจําเปนตองมีการยายตําแหนงของเซ็น
ถูกตองในการทํางาน อยาทําความสะอาดเซ็นเซอรดว ยวัตถุมค ี ม
เซอรชวยจอดไปยังตําแหนงอื่นนอกเหนือจากตําแหนงเดิมที่
ขอควรจํา : หากกันชนของรถยนตเกิดความเสียหาย เสียรูป Ford กําหนดไว ควรปฏิบัติตามแนวทางและรายละเอียดดาน
หรือบิดงอ ขอบเขตการตรวจวัดอาจจะมีการเปลีย ่ นแปลงทําให ลางเพื่อดูแลใหระบบชวยจอดทํางานอยางเหมาะสมโดยการ
การวัดสิ่งกีดขวางไมถูกตอง หรือการแจงเตือนที่ผิดพลาด ตรวจสอบวามุมการตรวจจับของเซ็นเซอรยงั คงอยูใ นตําแหนง
ตามขอมูลจําเพาะที่เหมาะสม
หากเปนไปได เซ็นเซอรชวยจอดดานหนาไมควรยายจาก
ตําแหนงเดิมในระนาบ X, Y และ Z การรักษาตําแหนงเซ็น
เซอรบนระนาบเหลานี้สําคัญตอการทํางานที่ถูกตองของระบบ

46 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
ระนาบของตําแหนงบนรถ

E292617

4.3.1 ตําแหนงเซ็นเซอร
ขอควรจํา : ตองติดตัง้ เซ็นเซอรทย
่ี า ยตําแหนงในตําแหนงเดิม
ทีเ่ คยติดตัง้ ไวบนแผงกันชน ตรวจสอบใหแนใจวาไดตด ิ ตัง้ เซ็น
เซอรแตละตัวในตําแหนงที่สอดคลองกันอยางถูกตอง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
47
4 ระบบไฟฟา
ตําแหนงเซ็นเซอรชวยจอดดานหนา

1 2 3 4

E292623

เซ็นเซอร จำนวน
ภายนอกดานหนาขวา 1
ภายในดานหนาขวา 2
ภายในดานหนาซาย 3
ภายนอกดานหนาซาย 4

เซ็นเซอรชวยจอดดานหนา - มุมสําคัญและความสูง
มุมเซ็นเซอรภายใน ความสูงของเซ็นเซอรภายใน มุมเซ็นเซอรภายนอก ความสูงของเซ็นเซอรภายใน
ภายในระยะ 2-4 องศา* นอยกวาหรือเทากับ 440 มม. เหนือ ภายในระยะ 2-4 องศา* ไมมี
พื้นดิน
* องศาเหนือระนาบแนวนอน

48 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
4.4 อิเล็กทรอนิคสควบคุมเครื่องยนต
4.4.1 เอาตพต ุ ความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุน
 ตัวถัง ขอควรจํา : มีสญ
ั ญาณความเร็วรถทีเ่ ชือ
่ มตอดวยสายไฟ หาก
เตี้ยเทานั้น) จําเปนตองมีการผนวกรวม
ขอควรจํา : สัญญาณความเร็วรถเปนคลื่นรูปสี่เหลี่ยมคูของ
ขอมูลทั่วไป ไฟฟากระแสตรงที่มีความถี่แตกตางกันตามสัดสวนความเร็ว
รถ ซึ่งแสดงสัญญาณรูปคลื่นสี่เหลี่ยม (รอบการทํางาน 50%)
คําเตือน: อยาติดตอกับ CAN (ตัวควบคุมระบบเครือ
ขาย) สําหรับความเร็วรถ

ฮารดแวรวงจร

E180281

ลักษณะของคลื่นรูปสี่เหลี่ยม - สัญญาณเอาตพุต

ขอกำหนดของสัญญาณ เอาตพุตความเร็วแท็กซี่ที่มีซันรูฟ
สัญญาณสูงที่สูงที่สุด แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
สัญญาณสูงที่ตำที่สุด 3.67 โวลต
สัญญาณตำที่สูงที่สุด 1.1 โวลต
สัญญาณตำที่ตำที่สุด -1.1 โวลต
คาออฟเซ็ตสายดินสูงสุด +/- 1.0 โวลต
เวลาที่เพิ่มสูงขึ้น 10μ วินาที <= tr <= 250μ วินาที
เวลาที่ลดตำลง 10μ วินาที <= tf <= 250μ วินาที
รอบการทำงาน 50% +/- 10%
ความถี่ 1.38 * v (ความเร็วรถ (CAN) กม./ชม.) ± 2% ระหวาง 1
กม./ชม. - 250 กม./ชม.
ความเร็วตำสุด 1.38 Hz (1 กม./ชม.)
ขอผิดพลาดเชิงเสนตรง <0,3%
ความถี่สูงสุด 398 Hz
Rload 1 K โอหม

คําแนะนําสําหรับการเชื่อมตอ 2. เอาตพต
ุ ตองเชือ่ มตอกับอุปกรณทม
่ี ค
ี วามตานทาน 1,000
โอหม (600 โอหมถึง 2,000 โอหมเปนแนวทาง) เพื่อให
1. มีเอาตพุตความเร็วรถที่: [ขั้วตอ 3 หมายเลขขา 52] หรือ ทํางานได ซึง่ จะปองกัน BCM (โมดูลควบคุมตัวถัง) ไมให
[ขั้วตอ 4 ขา 3] เลือกการเชื่อมตอรายการใดรายการหนึ่ง เกิดความเสี่ยงที่กระแสเกิน
และตอขั้วตอเขากับขาตอและสายไฟ 3. เอาตพุตตองเชื่อมตอกับแหลงจายไฟ

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
49
4 ระบบไฟฟา 4. เมือ่ เชือ
่ มตออุปกรณแลว ใหรเี ซ็ต BCM โดยถอดแบตเตอรี่ เพื่อใหขอมูลเทานั้น
รถยนตออก
5. เชื่อมตอแบตเตอรี่รถยนตใหม หมายเลขชิ้นสวนของขาตอ: 96AG-14474-RSA
6. บิดสวิตชกุญแจไปที่ ON (เปด) ขนาดสายไฟและสี: 0.5 CSA, นํ้าเงิน - เขียว
7. สัญญาณควรปรากฏใหเห็นแลวในตอนนี้
ขอควรจํา : ควรมี Rload และเชื่อมตอกับแรงดันแบตเตอรี่
เพื่อใหฟงกชันนี้ใชงานได

การเสียบขาตอ

1 2

E180282

รายกา รายละเอียด

1 ขั้วตอ C3 ขา 52
2 ขั้วตอ C4 ขา 3

1. ตองถอดปลั๊กขั้วตอ C3 หรือ C4 เพื่อเสียบขาตอสัญญาณ 2. เมื่อถอดขั้วตอ C3 หรือ C4 ออกแลว ตองถอดตัวครอบสี


ความเร็ว เทาโดยถอดแถบรัดสายออกกอน แลวยกตัวล็อกสองตัว
ทางดานขางขึน้ จากนัน
้ จะสามารถเลือ
่ นตัวครอบออกมาได

50 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
E180283

E180284

E180285

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
51
4 ระบบไฟฟา

E180286

3. มีแผนล็อกขาตอสีแดงที่ตองถอดออก

E180287

4. เสียบสายไฟพรอมขาตอลงในชอง C3: 52 หรือ C4: 3 –


มีแท็บบนขาตอที่ควรใหเสียบสายไฟแบบทางเดียวเทานั้น

E180293

5. เลือ
่ นแผนล็อกขาตอไปดานหลัง ติดตัวครอบสีเทากลับเขาที่
(และติดแถบรัดสายกลับเขาที่ตามที่จําเปน) และเสียบทั้ง
สองขั้วตอกลับเขาไปใน BCM ติดแผนกั้น/ฝาครอบกลับ
เขาที่

52 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
E180294

E180295

E180296

4.4.2 เอาตพตุ ความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุน


 ตัวถัง วิธีการใชเอาตพุตความเร็วรถจาก BCM บนรถรุนตัวถังสูงยัง
สูงเทานั้น) ไมมีใหใชงานในขณะนี้

คําเตือน: อยาพยายามใชเอาตพต
ุ ความเร็วรถจากรถรุน

ตัวถังสูง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
53
4 ระบบไฟฟา 4.5 ไฟแสงสวางภายนอก
คําเตือน : ขอควรจํา : กอนทํางานกับรถยนตทจ ่ี ด
ั การอยู จําเปนอยางยิง่
ที่ตองระบุระดับของรถ (รุนตัวถังเตี้ยหรือรุนตัวถังสูง) ตาม
ตรวจสอบใหแนใจวารถยนตทด ่ี ด
ั แปลงนัน
้ สอดคลองกับ
ประเภทของโครงสรางการเชื่อมตอทางไฟฟาที่รถยนตคันนั้น
มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่นทั้งหมด
ติดตัง้ หากไมระบุโครงสรางการเชือ่ มตอทางไฟฟาของรถยนต
ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอทางไฟฟาและสายไฟ กอนทํางาน อาจทําใหเกิดความเสียหายทางไฟฟาหรือผลกระ
ทั้งหมดเปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น ทบตอความปลอดภัย
ขอควรจํา : รถยนตแบบประทุนแชสซีมาพรอมชุดรวมไฟทาย โปรดดู : 4.7 ฟวสและรีเลย (หนา 65)
ไฟสองปายทะเบียน และไฟตัดหมอก หากมีการติดตัง้ ตองติด
ตั้งหลอดไฟเหลานี้ตามแนวทางตอไปนี้

54 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
4.5.1 ชุดรวมไฟทาย

F
G

B
A

E141460

การวางตําแหนงชุดรวมไฟทาย
คำอธิบาย ขนาด
A ระยะหางตำสุดจากพื้นดินถึงขอบลางของหลอดไฟ 250 มม.
B ระยะหางสูงสุดจากพื้นดินถึงขอบบนของหลอดไฟ 1,200 มม.
C มุมตำสุดของระยะปลอดสิ่งกีดขวางลงไปทางหลอดไฟ 15°
D มุมตำสุดของระยะปลอดสิ่งกีดขวางขึ้นไปทางหลอดไฟ 15°
E มุมตำสุดของงระยะปลอดสิ่งกีดขวางออกไปทางดานนอกรถยนต 80°
F มุมตำสุดของงระยะปลอดสิ่งกีดขวางไปทางกึ่งกลางของรถยนต 45°
G ระยะหางสูงสุดจากขอบดานนอกของรถยนตไปถึงขอบดานในของหลอดไฟ 400 มม.

4.5.2 ไฟตัดหมอกดานหลัง
ขอควรจํา : ในกรณีที่ติดตั้งไฟตัดหมอกดานหลังเพียงดวง
เดียว ตองติดตัง้ ใหอยูใ นตําแหนงเสนกึง่ กลางของรถยนตหรือ
ทางดานคนขับของรถยนต

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
55
4 ระบบไฟฟา

B
A

E141472

การวางตําแหนงของไฟตัดหมอกดานหลัง
คำอธิบาย ขนาด
A ระยะหางตำสุดจากพื้นดินถึงขอบลางของหลอดไฟ 250 มม.
B ระยะหางสูงสุดจากพื้นดินถึงขอบบนของหลอดไฟ 1,000 มม.
C มุมตำสุดของระยะปลอดสิ่งกีดขวางลงไปทางหลอดไฟ 5°
D มุมตำสุดของระยะปลอดสิ่งกีดขวางขึ้นไปทางหลอดไฟ 5°
E มุมตำสุดของงระยะปลอดสิ่งกีดขวางออกไปทางดานนอกรถยนต 25°
F มุมตำสุดของงระยะปลอดสิ่งกีดขวางไปทางกึ่งกลางของรถยนต 25°

4.5.3 ไฟสองปายทะเบียนดานหลัง

56 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
E

E141462

การวางตําแหนงไฟสองปายทะเบียนดานหลัง
คำอธิบาย ขนาด
A ระยะหางจากพื้นผิวดานหลังของแผนปายทะเบียนถึงตำแหนงกึ่งกลางของหลอด 35 มม.
ไฟพรอมกับพื้นผิวติดตั้งหลอดไฟ
B มุมระหวางปายทะเบียนกับพื้นผิวติดตั้งไฟสองปายทะเบียน 10°
C ระยะหางระหวางดานบนพืน
้ ผิวดานหลังของปายทะเบียนกับพืน
้ ผิวติดตัง้ ไฟสองป 35 มม.
ายทะเบียน
D ระยะหางระหวางเสนกึ่งกลางของปายทะเบียนกับตำแหนงกึ่งกลางของหลอดไฟ 175 มม.
E ระยะหางระหวางเสนกึ่งกลางของปายทะเบียนกับตำแหนงกึ่งกลางของหลอดไฟ 175 มม.

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
57
4 ระบบไฟฟา 4.5.4 ไฟถอยหลัง กลองมองหลัง สัญญาณเตือน 4.5.5 หลอดไฟภายนอกเพิม
่ เติม - (รถรุน
 ตัวถังเตีย

การถอยหลัง (เกียรธรรมดา) เทานั้น)
หลอดไฟถอยหลังมีการสัง่ งานโดยสวิตชถอยหลังในระบบเกียร เมื่อติดตั้งไฟทายเสริม Ford ขอแนะนําใหใชกําลังไฟผานโมดู
ผานทางขัว
้ ตอ C169 ไปยังกลองแยกสายไฟสวนกลางทีต ่ รวจ ลควบคุมปลั๊กรถพวงและวงจรที่เกี่ยวของ ดูขอมูลเพิ่มเติมที่
จับสัญญาณ กระแสไฟฟาทีเ่ พิม
่ ขึน
้ เล็กนอย (ผานรีเลยหรืออิน การลากจูงรถพวง
พุตไฟฟาแบบบัฟเฟอร) สามารถทําไดเพื่อจายไฟใหกับกลอง สําหรับหลอดไฟภายนอกเพิม ่ เติมอืน
่ ๆ ตองใชกาํ ลังไฟผานทาง
มองหลัง ไฟถอยหลังเสริม หรืออุปกรณสงเสียงเตือน กลองฟวสเสริมที่มีสวิตชและ/หรือรีเลย ตามความจําเปน
คําเตือน: การตอโดยตรงเขากับสายไฟรถยนตเพือ ่ ติดตัง้
หลอดไฟเสริมหรืออุปกรณไฟฟาอืน ่ ๆ อาจทําใหระบบทํา
งานหนักเกินไป และสงผลกระทบตอการทํางานของระบบ
อื่นๆ ของรถยนต
เมื่อติดตั้งหลอดไฟเสริมสําหรับการขับขี่ สามารถจายกําลังไฟ
ผานรีเลยที่จายไฟโดยใชชุดจายไฟของไฟหนา

E210761

รายกา รายละเอียด

1 ไฟตํ่า
2 ไฟสูง

ฟวสไฟสองสวาง
F20 10A ไฟแสดงการทำงานของไฟหนา
F75 15A ไฟตัดหมอกดานหนา
F76 10A ไฟถอย

4.5.6 การลากจูงรถพวง ขอควรจํา : ชุดอุปกรณไฟฟาสําหรับการลากจูงรถพวงสามารถ


ซื้อไดจากตัวแทนจําหนายที่ไดรับอนุญาตของ Ford
รถยนตที่ติดตั้งขอพวงลากมาจากโรงงานจะมีโมดูลลากจูงรถ สําหรับรถรุนที่ไมมีหูลากติดตั้งมาใหเปนอุปกรณมาตรฐาน
พวงสําหรับไฟสองสวางและการเปดใชงานการควบคุมรถพวง ฟอรดไดพัฒนาชุดอุปกรณไฟฟาสําหรับหูลากรถพวงซึ่งเปน
สาย นอกเหนือจากการจายไฟใหปลั๊กรถพวงทํางาน โมดู อุปกรณเสริมของแทจากฟอรดเพือ ่ ชวยใหสามารถติดตัง้ หูลาก
ลลากจูงรถพวงยังปองกันวงจรไฟฟาหลักของรถยนตจากปญหา ได ชุดอุปกรณดงั กลาวประกอบดวยโมดูลควบคุมการลากจูงรถ
ทางไฟฟาหรือความบกพรองที่รถพวงของลูกคาอาจประสบ พวง ปลัก๊ รถพวง สายไฟ และสวนประกอบฮารดแวรทเ่ี กีย ่ วของ

58 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
เมือ
่ มีการติดตัง้ ชุดอุปกรณดงั กลาว ตองกําหนดคารถยนตโดย ขอควรจํา : วงจรตรวจจับรถพวงเปนสวนหนึง่ ของโมดูลลากจูง
ใชเครื่องมือการวินิจฉัย IDS ของ Ford ตัวแทนจําหนายที่ได รถพวงของ Ford โดยสามารถใชงานไดกบ ั รถยนตทม ่ี รี ะบบล็อก
รับอนุญาตของ Ford สามารถกําหนดคานี้ได ไฟฟาและสัญญาณเตือนโดยรอบหรือสัญญาณเตือน CAT 1
คําเตือน: การติดตั้งชุดอุปกรณไฟฟาของหูลากรถพวง โมดูลลากจูงรถพวง (TTM) สามารถรองรับหลอดไฟ LED
ยี่หออื่น หรือการตอโดยตรงเขากับสายไฟรถยนตเพื่อ รถพวงอยางเดียวไดตราบเทาทีข
่ นาดแตละวงจรเกิน 500mA
ติดตัง้ หลอดไฟทีร่ ถพวงหรืออุปกรณไฟฟาอืน
่ ๆ อาจทําให รายการดานลางและระบบดังกลาวตรวจไมพบวามีการเชื่อม
ระบบทํางานหนักเกินไป และสงผลกระทบตอการทํางาน ตอรถพวงและปดเอาตพุตทั้งหมด (โหมดสลีป) ขอแนะนําให
ของระบบอื่นๆ ของรถ กําหนดเปาหมายของโหลดขั้นตํ่าที่ 550mA เพื่อใหสามารถ
รับความคลาดเคลือ่ นของระบบได การดําเนินการนีต
้ อ
 งใชรว ม
Ford ขอแนะนําใหใชชุดลากจูงรถพวงที่เปนอุปกรณเสริมแท
กับตัวตานทานโหลดเสริม หากวงจรไฟ LED ตํา่ กวาคาเกณฑ
ของ Ford สําหรับการเชื่อมตอทางไฟฟาสําหรับการลากจูงรถ
นี้
พวงทั้งหมด
ตัวขับเอาตพุตแตละตัวสามารถจัดการกับกระแสไฟ 15A ได
เมือ
่ ติดตัง้ หลอดไฟ LED (ไฟแอลอีด)ี กําลังตํา่ ทีต
่ อ
 งการกําลัง
แตไมแนะนําใหใชคา สูงสุดนีท
้ ก
ุ ครัง้ กระแสไฟทีส
่ งู ขึน
้ จะมีการ
ไฟนอยกวา 2W หลอดไฟอาจกระพริบเมื่อใชงาน ควรใชชุด
ตีความวาเปนไฟฟาลัดวงจร หากตรวจพบการลัดวงจร เอาตพุ
สายไฟพวงสําหรับรถพวงที่มีหลอดไฟ LED กําลังไฟตํ่า
ตที่เกี่ยวของจะถูกปด ตารางตอไปนี้แสดงเอาตพุตสูงสุดที่
ขอควรระวัง : อยาเชื่อมตอชุดสายไฟรถพวงไปยัง แนะนําตอวงจร
รถยนตเมื่อรถพวงไมไดเชื่อมตอ
ขอควรจํา : คุณลักษณะและผลลัพธบางอยางอาจไมรองรับใน
ขอควรจํา : ชุดสายไฟพวงสําหรับรถพวงสามารถซื้อไดจาก บางตลาด ติดตอตัวแทนจําหนายที่ไดรับอนุญาตของ Ford
ตัวแทนจําหนายที่ไดรับอนุญาตของ Ford สําหรับขอมูลเพิ่มเติม

การเชื่อมตอโมดูลลากจูงรถพวง - รถรุนตัวถังเตี้ย
หมายเลขขัว้ สวนปร คุณลักษณะ กระแสไฟ (A) แรงดันไฟฟา (V)
ะกอบ
ตำสุด สูงสุด ตำสุด สูงสุด
ขั้วตอ A
1 ไฟเลี้ยวขวา 0.5 3 6 -
2 แบตเตอรี่ที่ชารจภายนอก - หากใชงาน - 10 9 16
3 ไฟเบรกซาย 0.5 4 6 -
4 ไมใช - - - -
5 ไมใช - - - -
6 ไฟถอยหลัง 0.5 4 6 -
7 ไฟเบรกขวา 0.5 4 6 -
8 ไฟตัดหมอก 0.5 2 6 -
9 ไมใช - - - -
10 ไฟเลี้ยวซาย 0.5 3 6 -
11 ไมใช - - - -
12 ไฟหรี่ 0.5 7 6 -
ขั้วตอ B
1 ไมใช - - - -
2 ขั้ว 30 (Ubat) - 30 6 16
ขั้วตอ C
1 CAN H - 0.1 6 -
2 CAN L - 0.1 6 -
3 สายตอเบรก (รถ -) - 0.1 6 -
4 สายดิน - 1 6 -
5 เอาตพุตการตรวจจับรถพวง - 0.1 - 16

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
59
4 ระบบไฟฟา
การเชื่อมตอโมดูลลากจูงรถพวง - รถรุนตัวถังสูง
หมายเลขขัว้ สวนปร คุณลักษณะ กระแสไฟ (A) แรงดันไฟฟา (V)
ะกอบ
ตำสุด สูงสุด ตำสุด สูงสุด
ขั้วตอ A
1 ไฟเลี้ยวซาย 0.5 3 6 -
2 ไฟเลี้ยวขวา 0.5 3 6 -
3 ไฟหรี่ 0.5 7 6 -
4 ไมใช - - - -
5 ไฟถอยหลัง 0.5 4 6 -
6 แบตเตอรี่ที่ชารจภายนอก - หากใชงาน - 10 9 16
7 ไฟเบรก 0.5 4 6 -
8 ไฟตัดหมอก 0.5 2 6 -
9 ไมใช - - - -
10 ไมใช - - - -
11 ไมใช - - - -
12 ไมใช - - - -
ขั้วตอ B
1 ฟวส B(+) 87 (40A) BJB - - - -
2 ฟวส B(+) 73 (30A) BJB - - - -
ขั้วตอ C
1 สายดิน - 1 6 -
2 CAN L - 0.1 6 -
3 CAN H - 0.1 6 -
4 ไมใช - - - -

4.5.7 โหลดไฟแสงสวางเสริม (รถรุนตัวถังเตี้ย


เทานั้น) โมดูลลากจูงรถพวง (หากติดตั้ง)
ขอควรจํา : การเชือ
่ มตอสําหรับโหลดไฟสองสวางเสริมตองใช การเชื่อมตอสําหรับโหลดไฟสองสวางเสริมสามารถทําไดผาน
กระแสไฟตํ่าและเสถียร ทางโมดูลลากจูงรถพวง (TTM) ที่อยูใตที่นั่งผูโดยสาร ดูการ
ลากจูงรถพวงในสวนนี้

E223617

60 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
ขั้วตอ TTM - รายละเอียด

E231982

4.5.8 หลอดไฟ – ไฟฉุกเฉิน / ไฟเลี้ยว


4.5.10 หลอดไฟเบรกดวงที่สามดานบนตรงกลาง
โหลดสูงสุดที่อนุญาตกับระบบมาตรฐานคือ: (CHMSL) - การประกอบโครงหลังคา - รถรุนตัว
• 3 x 5W – ไฟเลี้ยวดานหนาและดานหลัง + ไฟกะพริบ ถังเตี้ย
ดานขาง (ทางซายมือ)
คําเตือน: โหลดกระแสไฟสูงสุดที่สามารถใชไดกับวงจร
• 3 x 5W – ไฟเลี้ยวดานหนาและดานหลัง + ไฟกะพริบ
CHMSL คือ 1.72A สําหรับหลอดไส และ 0.38A
ดานขาง (ทางขวามือ)
สําหรับหลอดไฟ LED อยาตอไฟเกินพิกัดที่กําหนด
ขอควรจํา : ปด CHMSL ของเดิมที่ติดตั้งกับรถหากตองการ
4.5.9 กระจกประตูที่ควบคุมดวยไฟฟา ใช CHMSL บนโครงหลังคาเปน CHMSL หลัก
คําเตือน: อยาดัดแปลงระบบพื้นฐาน (ที่ควบคุมโดย ขอควรจํา : วงจร CHMSL เปนแบบมอดูเลตความกวางพัลส
กลองแยกสายไฟสวนกลางและสถาปตยกรรม (PWM)
แบบมัลติเพล็กซ) และชุดจายไฟใดๆ ที่ตอมาจากสาย ขอควรจํา : ตรวจสอบการทํางานของ CHMSL กอนสงมอบ
ไฟหรือตัวควบคุมที่เกี่ยวของ รถยนตใหลูกคา
ขอควรจํา : ตัวเลือกเหลานีไ้ มเหมาะสําหรับการติดตัง้ อุปกรณ ขอควรจํา : เมื่อเปลี่ยน CHMSL ที่ติดตั้งมาจากโรงงานดวย
หลังการขายหรือของอูประกอบตัวถัง CHMSL แบบติดตั้งบนโครงหลังคา ตองใชชนิดเดียวกัน
เปลี่ยนประเภทหลอดไฟ/หลอดไสดวยหลอดไฟ/หลอดไส
เทานั้น เปลี่ยนหลอดไฟประเภท LED ดวยประเภท LED
เทานั้น
เมื่อติดตั้งโครงหลังคาพรอม CHMSL ชุดจายไฟสําหรับ
CHMSL สามารถมาจาก BCM (ขั้วตอ 4 แบบ 2 ขา)

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
61
4 ระบบไฟฟา

E229158

รายกา รายละเอียด

1 ชุดจายไฟ BCM CHMSL (ขั้วตอ 4 แบบ 2 ขา)

4.5.11 หลอดไฟเบรกดวงที่สามดานบนตรงกลาง ( ขอควรจํา : ปด CHMSL ของเดิมที่ติดตั้งกับรถหากตองการ


CHMSL) - การประกอบโครงหลังคา - รถรุนตัวถัง ใช CHMSL บนโครงหลังคาเปน CHMSL หลัก
สูง ขอควรจํา : วงจร CHMSL เปนแบบมอดูเลตความกวางพัลส
(PWM)
คําเตือน :
ขอควรจํา : ตรวจสอบการทํางานของ CHMSL กอนสงมอบ
โหลดกระแสไฟสูงสุดที่สามารถใชไดกับวงจร CHMSL รถยนตใหลูกคา
คือ 1.72A สําหรับหลอดไส และ 0.38A สําหรับหลอด
ไฟ LED อยาตอไฟเกินพิกัดที่กําหนด ขอควรจํา : เมื่อเปลี่ยน CHMSL ที่ติดตั้งมาจากโรงงานดวย
CHMSL แบบติดตั้งบนโครงหลังคา ตองใชชนิดเดียวกัน
ตรวจสอบใหแนใจวาสายไฟทั้งหมดถูกหุมฉนวนและ เปลีย
่ นประเภทหลอดไฟ/หลอดไสดว ยหลอดไฟ/หลอดไสเทานัน ้
เดินสายไวอยางปลอดภัย เปลี่ยนหลอดไฟประเภท LED ดวยประเภท LED เทานั้น
ขอควรจํา : การประกอบโครงหลังคาสําหรับรถรุน
 ตัวถังสูงทีต
่ ด
ิ การประกอบโครงหลังคาสําหรับรถรุนตัวถังสูงที่ติดตั้งไฟ
ตั้งไฟ CHMSL / ไฟหองเก็บสินคาแบบรวม ตองมีการปดใช CHMSL / ไฟหองเก็บสินคาแบบรวม เบาหลอดไฟอาจไดรับ
งานคุณสมบัติของไฟหองเก็บสินคา ผลกระทบจากโครงหลังคา ตรวจสอบระยะหางของโครงหลังคา
กับ CHMSL และหากจําเปน ใหปฏิบัติตามขั้นตอนดานลาง

62 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
ตองติดตั้ง CHMSL สําหรับการเปลี่ยนแทน (ที่ไมมีฟงกชัน
ไฟหองเก็บสินคา) ชุดสายไฟพวงทีม ่ ข
ี ว้ั ตอแบบ 2 ขามีการตอ
เขากับสายไฟวงจร CHMSL ของรถยนต เพื่อใหโครงหลังคา
ทีม่ ี CHMSL ในตัวสามารถใชชดุ จายไฟของวงจรไฟเบรกจาก
ขั้วตอแบบ 2 ขาได ใหใชเทปพันขั้วตอแบบ 3 ขาของเดิมไว
ปฏิบัติตามขั้นตอนเพื่อติดตั้งเบาหลอดไฟ CHMSL สําหรับ
เปลี่ยนแทน:
1. ถอดชุดรวมไฟ CHMSL / ไฟหองเก็บสินคาตามคําแนะนํา
ในคูมือซอม
ขอควรจํา : เมื่อตัดสายไฟของไฟเบรกจากขั้วตอ CHMSL
แบบ 3 ขา ใหยายสายไฟที่ตัดออกเพื่อใหจุดรอยตอเปน
ระเบียบขึ้นและมีขนาดลดลง
2. คนหาตําแหนงขัว้ ตอไฟ CHMSL / ไฟหองเก็บสินคาแบบ
3 ขา ตัดสายไฟวงจรไฟเบรก (สีเหลือง-เทาหรือสีขาว-ฟา
แบบ 1 ขา, สีดาํ -มวงหรือสีดาํ -เหลืองหรือสีดาํ -นํา้ เงินแบบ
2 ขา) ออกจากสายไฟสีมวง (แบบ 3 ขา) ที่เชื่อมตอกับ
ขั้วตอ CHMSL แบบ 3 ขา
3. ใชเทปพันขั้วตอแบบ 3 ขาที่สายไฟสีมวง
4. ตอขัว้ ตอแบบ 2 ขาสําหรับเปลีย ่ นแทนและชุดสายไฟพวง
กับสายไฟที่ตัด:
1. สายไฟสีเหลือง + สีเทา (หรือสีอื่น - ดูที่ดานบน) กับ
สายไฟสีเหลือง + สีเทา
2. สายไฟสีดํา + สีมวง (หรือสีอื่น - ดูที่ดานบน) กับสาย
ไฟสีดํา + สีมวง
5. หุมฉนวนปองกันจุดรอยตอดวยทอหด
6. เดินสายไฟ CHMSL หลังคาผานหวงลอดสายทีเ่ หมาะสม
ไปยังหองโดยสาร เดินสายไฟทีด ่ า นหลังแผงตกแตงภายใน
และเชื่อมตอเขากับขั้วตอแบบ 2 ขาสําหรับเปลี่ยนแทน
7. ติดตั้ง CHMSL สําหรับเปลี่ยนแทนเขากับรถยนตตามคํา
แนะนําในคูมือซอม

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:43 GMT 2021
63
4 ระบบไฟฟา 4.6 มือเปด, ล็อก, กลอนและระบบการเขารถยนต
4.6.1 ระบบเซ็นทรัลล็อก ขอควรจํา : ควรคํานึงถึงตําแหนงของรีเลยเพิม
่ เติมอยางถีถ
่ ว น
ตําแหนงการติดตั้งที่เหมาะสมที่หางจากหองโดยสารจะทําให
ขอควรจํา : ล็อกเพิม
่ เติมจะไมครอบคลุมในสัญญาณเตือนของ สามารถติดตั้งไดอยางปลอดภัยยิ่งขึ้นและลดเสียงรบกวนใน
รถหรือใชระบบไฟสองสวางที่ควบคุมโดย BCM หองโดยสารได
ฟงกชันระบบเซ็นทรัลล็อกจะควบคุมโดย BCM (อยูใตแผง ขึ้นอยูกับฟงกชันการทํางานที่จําเปน ขาที่ใชจะเลียนแบบการ
หนาปด) ระบบล็อกของรถจะสัง่ งานโดยรีเลยทต
่ี ด
ิ ตัง้ บนพืน
้ ผิว ดําเนินการล็อก/ปลดล็อกพืน ้ ฐานของล็อกทีม ่ อ
ี ยู ควรเพิม
่ คอยล
ใน BCM – รีเลยเหลานี้จะสามารถจะจายกําลังไฟให ของรีเลยเพิ่มเติม (เชน รีเลยหนึ่งตัวสําหรับการล็อกทั้งหมด
ล็อกไดหนึ่งล็อกตอหนึ่งตัวเทานั้น รีเลยหนึง่ ตัวสําหรับการปลดล็อกทัง้ หมด) ระหวางขาทีเ่ กีย ่ วของ
และจุดตอกราวดที่เหมาะสม ควรรับกําลังไฟ (B+) สําหรับรี
ทั้งนี้สามารถเพิ่มล็อกเพิ่มเติมดวยการใชรีเลยที่ทริกเกอรโดย
เลยเพิ่มเติมจากฟด B+ ที่มีฟวสที่เหมาะสม
เอาตพุต BCM
การเลือกรีเลยสําหรับการติดตั้งล็อกเพิ่มเติมตองตรงกับเวลา
การทํางานของรีเลยติดตั้งบนพื้นผิว BCM

เอาตพุต BCM สําหรับระบบเซ็นทรัลล็อก (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น)


BCM ขา วงจร ฟวส หนาที่
C2280E 1 CPL11 ฟวส BCM 70 CTRL MOD - ล็อกประตู # ล็อกทั้งหมด
C2280E 8 CPL13 ฟวส BCM 70 CTRL MOD - ล็อกประตู # ปลดล็อกทั้ง
หมด

เอาตพุต BCM สําหรับระบบเซ็นทรัลล็อก (รถรุนตัวถังสูงเทานั้น)


BCM ขา วงจร ฟวส หนาที่
C2280F 35 CPL11 ฟวส BCM 24 CTRL MOD - ล็อกประตู # ล็อกทั้งหมด
C2280F 32 CPL13 ฟวส BCM 24 CTRL MOD - ล็อกประตู # ปลดล็อกทั้ง
หมด

64 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
4.7 ฟวสและรีเลย
4.7.1 รถรุนตัวถังเตี้ยและสูง กลองฟวสภายในหองโดยสาร - รถรุนตัวถังสูง
คําเตือน: กอนทํางานกับรถยนตทจ ่ี ด
ั การอยู จําเปนอยาง
ยิง่ ทีต
่ อ
 งระบุประเภทของโครงสรางการเชือ ่ มตอทางไฟฟา
ทีร่ ถยนตคน ั นัน
้ ใช การไมระบุประเภทของโครงสรางการ
เชื่อมตอทางไฟฟาที่มีบนรถยนตกอนเริ่มการทํางาน
อาจทําใหเกิดความเสียหายทางระบบไฟฟาหรือมีผลกระ
ทบตอความปลอดภัยได
คูมือนี้มีขอมูลที่อาจนําไปใชไดหรือนําไปใชไมได ทั้งนี้ขึ้นอยู
กับรุนของรถยนตที่คอนเวอรเตอรของรถยนตนั้นทํางานอยู
PX Ranger MkII ผลิตขึ้นมาพรอมระดับของขอมูลจําเพาะที่
แตกตางกัน ซึ่งครอบคลุมถึงประเภทของโครงสรางการเชื่อม
ตอทางไฟฟาที่แตกตางกันสองประเภท การระบุประเภทที่ติด
ตั้งบนระยนตสามารถชวยใหตรวจสอบกลองฟวสภายในหอง
โดยสารดวยสายตาได

กลองฟวสภายในหองโดยสาร - รถรุนตัวถังเตี้ย

E225624

4.7.2 แบตเตอรี่เสริมและกลองฟวส - รถรุนตัวถัง


เตี้ย
ขอควรจํา : รถรุน
 ตัวถังสูงไมสามารถติดตัง้ แบตเตอรีเ่ สริมและ
กลองฟวสที่ติดตั้งมาจากโรงงาน
แบตเตอรี่เสริมและกลองฟวสที่เกี่ยวของมีใหบริการเปนตัว
เลือกบนรถรุนตัวถังเตี้ยที่เรียกวาชุดอุปกรณพิเศษ รหัสตัว
เลือกสําหรับชุดอุปกรณพเิ ศษคือ AALSA แบตเตอรีเ่ สริมและ
กลองฟวสจะสงเอาตพต
ุ ไฟฟาสําหรับโหลดไฟฟาเสริมเพิม ่ เติม
E133602
ที่ถูกจายจากแบตเตอรี่เสริม

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
65
4 ระบบไฟฟา 4.7.3 กลองฟวสเสริม (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ) (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น)

รถรุนที่มีโหลดบ็อกซ (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ) (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น)

E231508

รายกา รายละเอียด

1 กลองฟวสเสริม

รถรุนที่มีอุปกรณยกแบตเตอรี่ชั่วคราว (รุนแชสซีแค็บเทานั้น) (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น) (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ)

E231507

รายกา รายละเอียด

1 กลองฟวสเสริม

66 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
4 ระบบไฟฟา
รถรุนแชสซีแค็บที่มีถาด (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น) (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ)

E231509

รายกา รายละเอียด

1 กลองฟวสเสริม

ตารางขอมูลจําเพาะสําหรับฟวสเสริม

ขอควรจํา : เมือ่ สงมอบรถยนต ตรวจสอบวาฟวส F10 ติดตัง้


เขาที่อยางถูกตอง ในระหวางการผลิต ฟวส F10 จะติดตั้งไว
แตไมดันจนสุดโดยเจตนา เพื่อปองกันไมใหมีการใชพลังงาน
แบตเตอรี่เสริมจนหมดในระหวางการจัดสงและขนยาย

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
67
4 ระบบไฟฟา

E174549

ฟวส ระดับแอมปของ ชิ้นสวนที่ปองกัน


ฟวส
1 25 ไฟหนา
2 15 ไฟหรี่
3 10 ไฟLED (ไฟแอลอีดี)บีคอน
4 15 ไฟทำงาน
5 20 อะไหล
6 20 ชองจายไฟฟาสำหรับอุปกรณเสริม
7 15 ไฟถอย
8 15 ไฟเลี้ยว, ไฟเบรก
9 5 แอปพลิเคชัน Crew chief
10 5 ฟวส "ปดใชงาน" แบตเตอรี่เสริม (ไอโซเลเตอรกราวด)
11 - ไมใช
12 - ไมใช

ตารางรีเลย
หมายเลขรีเลย ชิ้นสวนที่ปองกัน
R1 ไฟทำงาน
R2 ไฟLEDบีคอน
R3 อะไหล
R4 ไฟหรี่
R5 ไฟเลี้ยว (ซาย)
R6 ไฟเลี้ยว (ขวา)
R7 ไฟเบรก
R8 ไมใช
R9 ไมใช

68 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
5.1 ตัวถัง
5.1.1 โครงสรางตัวถัง - ขอมูลทั่วไป • ทําการพนสีบริเวณขอบเหล็กซํา้ หลังจากทําการตัดและเจาะ
ขอบเหล็กทัง้ หมดตองเปนไปตามขอบังคับดานการใหการ
คําเตือน: สวนทีย
่ น
่ื จากตัวรถทัง้ ภายในและภายนอกตอง ปกปองทั้งภายในและภายนอกของมาตรฐานขอบังคับใน
เปนไปตามมาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น ทองถิ่น
ขอควรระวัง : โครงสรางรับนํ้าหนักไมควรติดตั้งลงบน • จุดยึดทัง้ หมดทีพ
่ น
้ื ดานขาง หรือหลังคาตองไดรบ
ั การซีล
กระบะบรรทุกของหรือตูบรรทุกของที่มี • ตรวจสอบใหแนใจวาจุดยึดในบริเวณเสา 'B' ไมไดกด
ี ขวาง
เมื่อทําการดัดแปลง/แกไขรถยนต ใหคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้: เข็มขัดนิรภัยหรือการดึงกลับของเข็มขัดนิรภัย
• ตรวจสอบใหแนใจวาความแข็งแรงของโครงสรางรถยนต
ไมไดรับผลกระทบจากการดัดแปลงดังกลาว 5.1.2 ตัวถังที่ติดตั้งมาและการดัดแปลง
• อยาเจาะลงที่คานตัวถังเฟรม
คําเตือน: สวนที่เปนชองซุมลอทั้งหมดตองเปนไปตาม
• ตรวจสอบใหแนใจวางานออกแบบที่มีสวนเปลี่ยนแปลง มาตรฐานขอบังคับในทองถิ่น
และแกไขตัวถังหรือโครงสรางเพิม
่ เติมมีการกระจายนํา้ หนัก
อยางสมดุล สําหรับโครงสรางที่ติดตั้งมา เชน รถพยาบาลหรือรถบานที่มี
ระยะยื่นดานหลังเพิ่มขึ้นบนแชสซี จะเปนดังนี้:
ขอควรระวัง : การกระจายนํา้ หนักบรรทุกทีไ่ มสมํา่ เสมอ
อาจสงผลใหมีลักษณะการควบคุมรถและการเบรกที่ไม • มุมเงยลดลง เชน บันไดขึ้นดานหลัง ควรสอบถามจากผู
สามารถยอมรับได ใช / ลูกคา อาจใชชิ้นสวนที่ถอดไดเพื่อหลีกเลี่ยงความ
เสียหายเมื่อตองขึ้นเฟอรรี่หรือรถบรรทุกที่มีพื้นโหลดตํ่า
• อาจตองมีชอ  งเก็บลออะไหลเฉพาะหากลออะไหลกด ี ขวาง
บันไดดานหลัง ตรวจสอบความสะดวกในการเขาถึง
• ขนาดทีแ ่ นะนําสําหรับการดัดแปลงเปนชองซุม  ลอมีระบุใน
คาตอไปนี้

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
69
5 ตัวถังและสี
ชองซุมลอ

X 1
H
A B
K
C D
r r
L
G
F r
E E

r r

X-X

E134132

ขนาดซุ้มลอ
ขนาด 215/ 255/ 265/ 265/ ขนาด 215/ 255/ 265/ 265/60R18
70R16 70R16 65R17 60R18 70R16 70R16 65R17
A 455 มม. G* 190 มม.
B 425 มม. H 914 มม. 915 มม. 922 มม. 922 มม.
C 305 มม. K 588 มม.
D 275 มม. L 30 มม.
E 110° r 20 มม.
F 420 มม. 1 เสนแนวกึ่งกลางของรถ
X เสนกลางซุ้มลอ
*
ขนาด G คือดานลางของซุมลอ

5.1.3 ประทุนแชสซี • อยาเจาะลงที่คานตัวถังเฟรม


• ตรวจสอบใหแนใจวางานออกแบบทีม ่ ส
ี ว นเปลีย
่ นแปลงและ
คําเตือน: ความรอนที่มากเกินไปอาจสะสมจากระบบ
แกไขตัวถังหรือโครงสรางเพิ่มเติมมีการกระจายนํ้าหนัก
ไอเสีย โดยเฉพาะอยางยิ่งจากแคทาลิติกคอนเวอรเตอร
อยางสมดุล
ตรวจสอบใหแนใจวามีแผนกันความรอนเพียงพอ
• ทําการพนสีบริเวณขอบเหล็กซํา้ หลังจากทําการตัดและเจาะ
ขอควรระวัง : การกระจายนํ้าหนักบรรทุกที่ไมสมํ่าเสมอ ขอบเหล็กทั้งหมดตองเปนไปตามขอบังคับดานการใหการ
อาจสงผลใหมีลักษณะการควบคุมรถและการเบรกที่ไม ปกปองทั้งภายในและภายนอกของมาตรฐานขอบังคับใน
สามารถยอมรับได ทองถิ่น
เมื่อทําการดัดแปลง /แกไขรถยนต ใหคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้: • จุดยึดทั้งหมดที่พื้น ดานขาง หรือหลังคาตองไดรับการซีล
• ตรวจสอบใหแนใจวารูเสริมแรงทั้งหมดที่มีบนดานบนของ
โปรดดู : 5.4 การปองกันสนิม (หนา 88)
โครงแชสซีถกู ใชตลอดความยาวตัวถังหรือซับเฟรม ดูรป ู ที่
แสดง • ตรวจสอบใหแนใจวาอุปกรณเสริมที่อยูใกลกับถังนํ้ามัน
• ตรวจสอบใหแนใจวาความแข็งแรงของโครงสรางรถยนตไม เชื้อเพลิงจะไมทําใหถังนํ้ามันเชื้อเพลิงไดรับความเสียหาย
ไดรับผลกระทบจากการดัดแปลงดังกลาว ในกรณีที่เกิดการชน

70 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
สําหรับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางใดๆ ที่ติดหรือยึดเขากับ • แนะนําใหยด ึ ขอตอดวยสารยึดติดและใหใชกลไกยึดทีม
่ ใี ห
โครงสรางแค็ปของรถ ใหตรวจสอบดังตอไปนี้: ดวยเพื่อปองกันการฉีกขาดในชวงแรกและความเสียหาย
• ตรวจสอบใหแนใจวาการเปลี่ยนแปลงโครงสรางหรือ ในระยะยาว
โครงสรางทีม
่ อ
ี ยูม
 ก
ี ารบรรทุกนํา้ หนักในระหวางขัน
้ ตอนการ • กระจายนํ้าหนักบรรทุกบนสลักเกลียวเพื่อหลีกเลี่ยงไมให
ประกอบ จุดใดจุดหนึ่งรับนํ้าหนักมากเกินไป

รูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ซิงเกิลแค็ป

D A

E F G H

N
K
J

K
L M
L M
N

E134152

ขนาด (มม.) สําหรับรูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ซิงเกิลแค็ป


ขนาด ขนาด
A 16 H 1086
B 28 J 95
C 23 K 768
D 20 L 893
E 1244 M 509
F 1244 N 26
G 1244 P 20

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
71
5 ตัวถังและสี
รูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ซุปเปอรแค็ป

D A

C
E F G

L
H

J K

E134153

ขนาด (มม.) สําหรับรูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ซุปเปอรแค็ป


ขนาด ขนาด
A 16 G 1086
B 28 H 95
C 23 J 1191
D 20 K 509
E 1244 L 26
F 1244 M 20

72 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
รูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ดับเบิลแค็ป

B
C
A

E F G

H
J K
E134154

ขนาด (มม.) สําหรับรูติดตั้งตัวถังบนโครงแชสซี - ดับเบิลแค็ป


ขนาด ขนาด
A 16 G 1086
B 28 H 95
C 23 J 893
D 20 K 509
E 1244 L 26
F 1244 M 20

5.1.4 ความแข็งแรงของสวนดานหนาสําหรับการ ซีลแบบยึดอยูก  บ


ั ทีแ
่ ละแบบใหตวั ได และวัสดุเก็บพืน
้ ผิว ตรวจ
ระบายความรอน การชน อากาศพลศาสตร และไฟ สอบใหแนใจวาการซีลแนนหนาดีและสามารถปองกันนํา้ เกลือ
สองสวาง ฝุน และอื่นๆ ไมใหเขาไดหลังจากการตัดหรือเจาะตัวถัง ใช
ซีลและวัสดุเก็บพืน ้ ผิวและการปองกันการกัดกรอนตัวถังดาน
การระบายความรอน กระแสลมไหลผานอยางตอเนื่องผาน ลางที่ไดรับการรับรองจาก Ford
ดานหนาและหองเครือ
่ งยนตตอ
 งไมถก
ู กีดขวางจากการติดตัง้ โปรดดู : 5.4 การปองกันสนิม (หนา 88)
อุปกรณเสริมใดๆ หากไมแนใจ โปรดปรึกษาผูจําหนาย Ford
ไฟสองสวาง อยายุงกับระบบไฟสองสวาง
5.1.5 ตัวถังแบบเททาย
การชน อยาตัด เจาะ หรือเชือ
่ มชิน
้ สวนใหๆ ทีเ่ ปนสวนรับแรง
ในกรณีที่เกิดการชน อยาติดตั้งวัสดุลงไปเพิ่มในโซนรับแรง สําหรับการแปลงเปนแบบเททายทัง้ รุน  ประทุนแชสซีเดีย
่ วและ
ปะทะ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการปรับเทียบเซ็นเซอรการชน ประทุนแชสซีคส ู ามารถใชได ยกเวนโครงแชสซีแบบขยายดาน
ระบบถุงลมนิรภัยดานขางจะไมทํางาน หาก: หลัง ทุกรุนที่ใชงานไดสามารถเลือกติดตั้งแบบเททายหรือเท
สามทางได
• มีการติดตั้งอุปกรณหมุนในเบาะนั่งดานหนา
• มีการติดตั้งกําแพงหรือวัสดุเสริมหรือโครงสรางใดกับดาน ใชงานระบบเทเฉพาะเมื่อเครื่องยนตทํางานเทานั้น ใหติดตั้ง
ในของเสา B และ/หรือบริเวณภายนอก สวิตชควบคุมหลักในแค็ปเพือ
่ ความปลอดภัย สําหรับการเดิน
ทอไฮดรอลิก โปรดดูหมวดระบบยกไฮดรอลิก
ตรวจสอบใหแนใจวานํา้ หนักเพลาทีร่ ะบุรวมเพลาดานหนาขัน

ตํ่าไมเกินคา
สําหรับซับเฟรมแบบเททาย โปรดปฏิบต
ั ต
ิ ามแนวทางตอไปนี:้

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
73
5 ตัวถังและสี • ออกแบบมาเพือ ่ เฟรมชิน ้ เดียวแบบเต็มความยาวพรอมติด • ดังนัน
้ จึงควรใชจด ุ ติดตัง้ ใหครบตามทีก ่ าํ หนด โดยใหมค
ี วาม
ตั้งมอเตอร ชุดปม ถังไฮดรอลิก จุดหมุนและตัวยก คลาดเคลื่อนบวกลบไดไมเกิน 12 มม. ตามที่ระบุพรอม
• ใชจุดติดตั้งทั้งหมดบนโครงแชสซีเพื่อติดตั้งซับเฟรม รถยนตทบ ่ี รรทุกนํา้ หนักหรือไมบรรทุกนํา้ หนัก (ในกรณีใด
ก็ไดที่แยที่สุด) จุดติดตั้งที่ตองใชควรมีระยะสะทอน 2 มม
• ซับเฟรมที่แข็งมากอาจสรางความเสียหายใหกับโครงแชส
. ตอนํา้ หนัก 200 กก. ทีจ ่ ด
ุ ติดตัง้ ดานหนาโครงแชสซีแตละ
ซีโดยมีสาเหตุมาจากการที่โครงแชสซีไมสามารถใหตัวได
จุด จุดติดตั้งที่ตองใชจะมีสลักเกลียวแบบนิรภัย
ดังนัน
้ จึงควรใชจด ุ ติดตัง้ ใหครบตามทีก ่ าํ หนด โดยใหมค
ี วาม
คลาดเคลื่อนบวกลบไดไมเกิน 12 มม. ตามที่ระบุพรอม • ใชสลักเกลียว M10 เกรด 8.8 สองตัว แหวนรองและน็อต
รถยนตทบ ่ี รรทุกนํา้ หนักหรือไมบรรทุกนํา้ หนัก (ในกรณีใด ล็อกตัวเองตอจุดขายึดโครงแชสซีในตําแหนงที่ตองใช
ก็ไดที่แยที่สุด) จุดติดตั้งที่ตองใชควรมีระยะสะทอน 2 มม
. ตอนํา้ หนัก 200 กก. ทีจ ่ ด
ุ ติดตัง้ ดานหนาโครงแชสซีแตละ 5.1.7 เหล็กกันชน อุปกรณเสริมของแทจาก Ford
จุด จุดติดตั้งที่ตองใชจะมีสลักเกลียวแบบนิรภัย
• ใชสลักเกลียว M10 เกรด 8.8 สองตัว แหวนรองและน็อต เหล็กกันชน อุปกรณเสริมของแทจาก Ford มีขายึดซึง่ เปนจุด
ล็อกตัวเองที่ตําแหนงโครงแชสซีที่ตองใช ติดตั้งไฟสองสวาง สายอากาศ เสาอากาศ และธง
• ซับเฟรมตองยืน ่ ไปทางดานหลังแค็ปและติดเขากับตําแหนง
ติดตั้งทั้งหมด โดยมีการออกแบบปลายดานหนาเพื่อลด คําเตือน :
ความเครียดของเฟรมเดิม อยางไรก็ตาม ควรติดตั้งซับ ปฏิบตั ต
ิ ามขัน
้ ตอนการติดตัง้ ทัง้ หมดเมือ
่ ทําการตออุปกรณ
เฟรมลงบนขายึดโดยมีระยะหางจากพืน ้ ผิวดานบนของโครง เสริมและอุปกรณกับรถยนต
แชสซี
อยาติดตั้งกันชนเสริมที่ไมผานการรับรองจาก Ford กับ
• ซับเฟรมตองรองรับแรง/นํ้าหนักจากการเทดานขาง ไม
รถของคุณ เนื่องจากการติดตั้งนี้อาจรบกวนการทํางาน
แนะนําใหสรางความเครียดบนเฟรม
ของระบบความปลอดภัย รวมถึงการกระตุนถุงลมนิรภัย
และอาจทําใหเกิดการไดรับบาดเจ็บทั้งตอตัวคุณเองและ
5.1.6 ตัวบรรทุกถังและตัวบรรทุกของแหง ผูอื่น การติดตั้งกันชนเสริมยังอาจทําใหการสอดคลอง
ตามกฎขอบังคับวาดวยการออกแบบของออสเตรเลียของ
เนื่องจากความแข็งแรงของตัวถัง จึงตองแยกถังและซับ รถเปนโมฆะ
เฟรมจากโครงแชสซีเพื่อใหโครงแชสซีใหตัวได โปรดปฏิบัติ หามดัดแปลงแกไขดานหนาของรถยนต เนื่องจากอาจ
ตามแนวทางตอไปนี้: จะสงผลกระทบตอการทํางานของถุงลมนิรภัย หากไม
• ติดตั้งถังตลอดแนวความยาวของซับเฟรม ปฏิบตั ต
ิ ามคําเตือน อาจทําใหไดรบ
ั บาดเจ็บหรือเสียชีวต

• ติดตั้งซับเฟรมเขากับจุดติดตั้งทั้งหมดของโครงแชสซี หลังจากการติดตั้งเหล็กกันชน โปรดติดตอผูจําหนาย
• จุดติดตั้งดานหนาตองเปนไปตามที่กําหนดเพื่อใหมีการ Ford ทีไ่ ดรบ
ั อนุญาตเพือ ่ ปรับเทียบโมดูลเรดารระบบครุย
สะทอนจากโครงแชสซีไปยังซับเฟรม ซคอนโทรลแบบอะแดพทีฟใหถูกตอง (หากติดตั้ง) ซึ่ง
• ซับเฟรมตองยื่นไปทางดานหลังแค็ปและตองไมสัมผัสกับ เปนขัน
้ ตอนทีต ่ อ
 งทําเพือ
่ ใหการทํางานของคุณสมบัตริ ะบบ
โครงแชสซีทป ่ี ลายดานหนาหนาในกรณีทม่ี ก
ี ารสะทอนอยาง ความปลอดภัยขั้นสูงที่ติดตั้งในรถยนตคันนี้ทํางานได
รุนแรงที่สุด อยางถูกตอง
ขอควรจํา : โปรดดูหมวดความเขากันไดทางแมเหล็กไฟฟา (
EMC) ในหนังสือเลมนี้กอนการติดตั้งสายอากาศใดๆ

74 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
ตําแหนงติดตั้งอุปกรณเสริมเหล็กกันชน

2 1

E210762

รายการ คำอธิบาย
1 ตําแหนงติดตั้งสายอากาศ เสาอากาศ และธง
2 ตำแหนงติดตั้งไฟสองสวาง

การเดินสายเสาอากาศ • สิ่งของที่บรรทุกตองมีนํ้าหนักไมเกิน 80 กก. (อูประกอบ


ตัวถังตองทราบขอมูลขีดจํากัดดังกลาวจากคูม  อ
ื เจาของรถ)
คําเตือน : • สิง่ ของทีบ
่ รรทุกตองมีความสูงไมเกิน 300 มม. (ผูด ด
ั แปลง
ตรวจสอบใหแนใจวาสายเสาอากาศมีระยะหางจากชิ้น ตองทราบขอมูลขีดจํากัดดังกลาวจากคูมือเจาของรถ)
สวนที่รอนและเคลื่อนไหวไดอยางเพียงพอ • สิ่งของที่บรรทุกตองมีการกระจายนํ้าหนักอยางอยาง
สมํ่าเสมอ (ผูดัดแปลงตองทราบขอมูลขีดจํากัดดังกลาว
อยารัดสายเสาอากาศกับสายไฟของรถ ทอนํ้ามัน
จากคูมือเจาของรถ)
เชื้อเพลิง และทอเบรก
• แร็กและสิง่ ของทีบ ่ รรทุกตองมีจด
ุ รองรับในรางรองนํา้ หยด
รักษาระยะหางระหวางเสาอากาศ และสายไฟไปยังกลอง บนหลังคาโดยไมคํานึงถึงวิธีการยึดแร็ก
ควบคุมอิเลกทรอนิกสใดๆ ระบบถุงลมนิรภัยและสาย
ไฟที่เกี่ยวของอยางนอย 100 มม
ขอควรจํา : ตรวจสอบใหแนใจวาการซีลแนนหนาดีเพือ
่ ปองกัน ดับเบิลแค็ป / ซุปเปอรแค็ป
ไมใหมท
ี างเขาของนํา้ ไปยังหองโดยสารขณะเดินสายผานหวง
ลอดสาย ขีดจํากัดตางๆ ที่ละไวอยูบนพื้นฐานที่ไมใหสงผลกระทบตอ
ความแข็งแรงของโครงสรางตัวถัง การบังคับควบคุมรถ การ
ควรเดินสายเสาอากาศจากหองเครื่องยนตไปยังบริเวณหอง เบรก และนํา้ หนักเพลาทีร่ ะบุ การพิจารณาดังกลาวตองใชกบ ั
โดยสารผานหวงลอดสายทีม
่ อ
ี ยูแ
 ลว มีแผนปดในหวงลอดสาย รถดับเบิลแค็ปและซุปเปอรแค็ปทุกคัน โดยเฉพาะในสวนของ
โปรดดูไฟสองสวางภายนอก - โคมไฟภายนอกเพิม
่ เติมสําหรับ การบังคับควบคุม การเบรก อัตราเพลาดานหนาและนํ้าหนัก
การเดินสายไฟสําหรับไฟสองสวาง บรรทุกเพิม่ เติมทีต
่ อ
 งรองรับตอเนือ
่ งบนเสา A ซึง่ ไมควรเกิน
นํ้าหนักรวมทั้งหมดที่ 60 กก.

5.1.8 แร็กหลังคา ตรวจสอบใหแนใจวานํ้าหนักบรรทุกเปนไปตามที่กําหนดไว


ตามจุดศูนยถว งทีอ
่ อกแบบ สําหรับรายละเอียดเพิม
่ เติม โปรด
สามารถติดตั้งแร็กหลังคาแบบในรูป โดยตองเปนไปตาม ปรึกษาผูจําหนาย Ford
ขอกําหนดตอไปนี้:

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
75
5 ตัวถังและสี
ชุดแปลงพิเศษสําหรับติดตั้งแร็กหลังคารถยนต

1
3 4

E278320

รายกา รายละเอียด

1 ปลายดานหลังของจุดยึดดานหนา
2 สูงสุด 80 กก.
3 ความยาวแร็กหลังคาสูงสุด: ไมเกินความยาวชองระบายนํ้า
4 ความสูงสิ่งของที่บรรทุกสูงสุด 300 มม.
5 ชองระบายนํ้า
6 ตัวรองรับแร็กหลังคา

5.1.9 กันสาด พื้นผิวดานบนของดานขางกระบะบรรทุกไมควรติดตั้ง


โครงสรางที่ตองแบกนํ้าหนักกันสาด (หรืออื่นๆ) ควรใช
กับซีลพื้นผิวกันสาดเทานั้น
รถทุกรุน
นํ้าหนักและโหลดกันสาดควรถายเทไปยังจุดยึดของ
คําเตือน : โครงสรางกระบะบรรทุกรับโหลดที่แนะนํา
ใหใชเฉพาะจุดติดตั้งที่แนะนําสําหรับการติดตั้งกันสาด ขอควรจํา : การใชแคลมปสําหรับการติดตั้งกันสาดสามารถ
มิฉะนั้นอาจทําใหกระบะบรรทุกไดรับความเสียหาย ใชไดเฉพาะเมือ
่ ติดตัง้ ทีต
่ รงกลางหรือดานหลังของกระบะบรรทุก
เทานั้น
หนาแปลนกลับของดานขางกระบะบรรทุกไมควรตัดออก
เจาะ หรือใชในวัตถุประสงคที่ไมใชการติดตั้งกันสาด ขอควรจํา : ใชจด
ุ ทัง้ สองจากกลุม
 A และจุดกลุม
 B อยางนอย
หนึ่งจุดเปนจุดติดตั้งโครงสรางดานหนา

76 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
จุดติดตั้งโครงสรางกระบะบรรทุก

A
B

E170921

รายการ คำอธิบาย
1 จุดติดตั้งโครงสรางดานหนา
2 จุดติดตั้งโครงสรางตรงกลาง
3 จุดติดตั้งโครงสรางดานหลัง
4 พื้นผิวดานบนของดานขางกระบะบรรทุก*
5 หนาแปลนกลับของดานขางกระบะบรรทุก*

*
อยาตัด เจาะ หรือใชพื้นผิวเพื่อติดตั้งกันสาด

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
77
5 ตัวถังและสี
ตัวอยางการติดตั้งบารซัพพอรท

E172331

รายกา รายละเอียด

1 ขายึดตัวรองรับดานหนา
2 การติดแคลมป

78 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
5.2 ระบบนิรภัยเสริมและถุงลมนิรภัย (SRS)
5.2.1 ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังเตี้ย) เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยทีใ่ ชการเรงเครือ
่ งสําหรับถุงลมนิรภัยดาน
ขางอยูใกลๆ กับดานลางของดานในเสา C สําหรับรถซุเปอ
รแค็บและประทุนคู เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยที่ใชแรงดันสําหรับ
เบาะนั่งดานหนา ถุงลมนิรภัยดานขางอยูใ กลๆ กึง่ กลางของแผนโลหะประตูดา น
ในของประตูหนาสําหรับรถแบบแค็บทั้งหมด
ถุงลมนิรภัยดานขางไมสามารถทํางานรวมกับเบาะนัง่ ดานหนา
แบบหมุนได คําเตือน: การดัดแปลงหรือการเสริมความแข็งแรงใน
บริเวณที่ติดตั้งเซ็นเซอรอาจสงผลกระทบตอจังหวะการ
อยาระบุรถพื้นฐานที่มีถุงลมนิรภัยดานขางเมื่อวางแผนที่จะ กระตุน ถุงลมนิรภัยดานขาง และสงผลใหเกิดการทํางาน
ตกแตงอุปกรณแบบหมุนบนและ/หรือทีว่ างแขนทางดานนอก ของถุงลมนิรภัยดานขางที่ควบคุมไมได
ของเบาะนั่งดานหนา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการทํางานและ/
หรือการกระตุนถุงลมนิรภัยดานหนา โปรดทราบวารถที่ไมไดติดตั้งถุงลมนิรภัยดานขาง แตติดตั้ง
เพียงถุงลมนิรภัยดานหนาจะไมไดรับผลกระทบ
อนุญาตใหดําเนินการเจาะหรือการเจียรในบริเวณนี้ไดเฉพาะ
เมื่อถอดสายแบตเตอรี่แลวเทานั้น

โซนการกระตุนถุงลมนิรภัยดานหนาฝงคนขับและผูโดยสาร

E134101

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
79
5 ตัวถังและสี
ขนาด (มม.)
A 400 D 660
B 700 E 630
C 700 F 700

ถุงลมนิรภัยดานขาง

C
A B

E134609

ขนาด (มม.)
A 550 C 250
B 350

ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ประทุนเดียว

C
D

B
E136172

80 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ประทุนคู

B
E134610

ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ซุปเปอรแค็บ

C
D

E136173

ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
81
5 ตัวถังและสี 5.2.2 ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังสูง) เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยทีใ่ ชการเรงเครือ
่ งสําหรับถุงลมนิรภัยดาน
ขางอยูใกลๆ กับดานลางของดานในเสา C สําหรับรถซุเปอ
รแค็บและประทุนคู เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยที่ใชแรงดันสําหรับ
เบาะนั่งดานหนา ถุงลมนิรภัยดานขางอยูใ กลๆ กึง่ กลางของแผนโลหะประตูดา น
ในของประตูหนาสําหรับรถแบบแค็บทั้งหมด
ถุงลมนิรภัยดานขางไมสามารถทํางานรวมกับเบาะนัง่ ดานหนา
แบบหมุนได คําเตือน: การดัดแปลงหรือการเสริมความแข็งแรงใน
บริเวณที่ติดตั้งเซ็นเซอรอาจสงผลกระทบตอจังหวะการ
อยาระบุรถพื้นฐานที่มีถุงลมนิรภัยดานขางเมื่อวางแผนที่จะ กระตุน ถุงลมนิรภัยดานขาง และสงผลใหเกิดการทํางาน
ตกแตงอุปกรณแบบหมุนบนและ/หรือที่วางแขนทางดานนอก ของถุงลมนิรภัยดานขางที่ควบคุมไมได
ของเบาะนั่งดานหนา ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการทํางานและ/
หรือการกระตุนถุงลมนิรภัยดานหนา โปรดทราบวารถที่ไมไดติดตั้งถุงลมนิรภัยดานขาง แตติดตั้ง
เพียงถุงลมนิรภัยดานหนาจะไมไดรับผลกระทบ
อนุญาตใหดําเนินการเจาะหรือการเจียรในบริเวณนี้ไดเฉพาะ
เมื่อถอดสายแบตเตอรี่แลวเทานั้น

82 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
โซนการกระตุนถุงลมนิรภัยดานหนาฝงคนขับและผูโดยสาร

E C

E210764

ขนาด (มม.)
A 260 D 392
B 470 E 520
C 470 F 544

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
83
5 ตัวถังและสี
ถุงลมนิรภัยดานขาง

C
A B

E134609

ขนาด (มม.)
A 550
B 350
C 250

ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ประทุนเดียว

C
D

B
E136172

ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

84 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ประทุนคู

B
E134610

ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

ถุงลมนิรภัยแบบมาน - ซุปเปอรแค็บ

C
D

E136173

ขนาด (มม.)
A 140 C 250
B 40 D 100

5.2.3 เซ็นเซอรระบบนิรภัยเสริม (ดานหนา)


คําเตือน: การดัดแปลงหรือการเสริมความแข็งแรงใน
บริเวณที่ติดตั้งเซ็นเซอรระบบนิรภัยเสริมอาจสงผลกระ
ทบตอการทํางานของเซ็นเซอร

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
85
5 ตัวถังและสี

E210765

รายกา รายละเอียด

1 เซ็นเซอรตรวจจับแรงกระแทก SRS ดานหนา

86 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
5.3 ระบบเข็มขัดนิรภัย — ออสเตรเลีย
คําเตือน: ปฏิบต
ั ต
ิ ามกระบวนการถอดและติดตัง้ ทีไ่ ดรบ

การอนุมัติจาก Ford สําหรับระบบเข็มขัดนิรภัยเพื่อให
มั่นใจในการทํางานของระบบนิรภัยที่ถูกตอง
ควรหลีกเลีย่ งการถอดและการติดตัง้ เข็มขัดนิรภัย ตัวยึด หรือ
สวนประกอบใดๆ ของระบบเข็มขัดนิรภัยใหม อยางไรก็ตาม
หากจําเปนตองถอดหรือติดตั้งระบบใหมในระหวางการแปลง
ใหปฏิบัติตามแนวทางการถอดและติดตั้งของระบบเข็มขัด
นิรภัยตามทีอ ่ ธิบายไวในคูม
 อ
ื ซอม โปรดติดตอเจาหนาทีบ
่ ริษท

ขายแหงชาติในทองถิ่นของคุณสําหรับขอมูลเพิ่มเติม
เมื่อถอดระบบเข็มขัดนิรภัย ควรใชตัวยึดแบบงามของมวน
เข็มขัดนิรภัยกับมวนเข็มขัดนิรภัยใหตํ่ากวากระดุมหยุดมวน
เข็มขัดนิรภัย 200 มม. วิธีนี้ชวยปองกันสถานการณที่มวน
เข็มขัดนิรภัยดึงกลับเขาไปในตัวดึงกลับจนสุดและตัวดึงกลับ
ถูกล็อก
เมือ
่ ติดตัง้ ใหม ใหตด
ิ ตัง้ ตัวดึงกลับกับตัวเครือ
่ งกอนแลวคอยๆ
ดึงมวนเข็มขัดนิรภัยออกจากตัวดึงกลับเพือ ่ ใหวนลูปตัว D ได
อยางพอดี แลวถอดตัวยึดแบบงาม หากตัวดึงกลับถูกล็อก
ปลอยใหมว นเข็มขัดนิรภัยดึงกลับเขาไปในตัวดึงกลับเล็กนอย
เพื่อปลดล็อกการล็อกมวนเข็มขัดนิรภัย อยาพยายามปลด
ล็อกตัวดึงกลับโดยการออกแรงดึงมวนเข็มขัดนิรภัยมากเกินไป
หรือโดยขัดขวางกลไกการล็อกดวยตนเอง

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
87
5 ตัวถังและสี 5.4 การปองกันสนิม
5.4.1 รายละเอียดโดยทั่วไป
หลีกเลีย
่ งการเจาะในสวนของตัวเฟรมทีป
่ ด
 เพือ
่ หลีกเลีย
่ งความ
เสี่ยงจากการกัดกรอนของเศษโลหะ
หากจําเปนตองเจาะ:
• ทาสีขอบโลหะใหมและปองกันการกัดกรอนหลังจากทําการ
ตัดหรือเจาะ
• พยายามเอาเศษโลหะทั้งหมดออกจากขางในของคานดาน
ขางและทําการปองกันการกัดกรอน
• ทาสารปองกันการกัดกรอนที่ดานในและดานนอกของ
เฟรมแชสซี

5.4.2 การซอมแซมสีที่เสียหาย
หลังการตัดหรือแกไขแผนโลหะบนรถยนตแลวตองซอมแซม
งานสีที่เสียหาย
ตรวจสอบวาวัสดุทง้ั หมดเขากันไดกบ
ั ขอมูลจําเพาะทีเ่ กีย
่ วของ
ของ Ford และรักษาสมรรถนะเดิมเทาที่ทําได

5.4.3 วัสดุและอุปกรณปองกันตัวถังดานลาง
คําเตือน: อยาเคลือบมากเกินไปหรือทําใหพน
้ื ผิวของชิน

สวนประกอบอื่นๆ ปนเปอน เชน เบรก หรือแคทาลิติ
กคอนเวอรเตอร
ตรวจสอบวาวัสดุทง้ั หมดเขากันไดกบ
ั ขอมูลจําเพาะทีเ่ กีย
่ วของ
ของ Ford และรักษาสมรรถนะเดิมเทาที่ทําได
ผลิตภัณฑบางอยางของผูผลิตรายอื่นมีผลตอผิวเคลือบเดิม
โปรดปรึกษาเจาหนาที่บริษัทขายแหงชาติในทองถิ่นของคุณ
สําหรับขอมูลจําเพาะของวัสดุปองกันการกัดกรอน

5.4.4 การทาสีลอที่ใชงานปกติ
คําเตือน: หามทาสีที่พื้นผิวของตัวล็อกลอที่สัมผัสกับลอ
อื่น ดรัมเบรก หรือจานเบรก ดุมลอหรือรู หรือพื้นผิวใต
น็อตลอ การจัดการอืน ่ ใดในบริเวณเหลานัน้ อาจสงผลตอ
ประสิทธิภาพของตัวล็อกลอและความปลอดภัยของ
รถยนต คลุมลอเมื่อเปลี่ยนสีหรือซอมแซมสี

5.4.5 การกัดกรอนจากการสัมผัส
เมื่อใชวัสดุตางชนิดกับศักยทางเคมีไฟฟาที่ตางกัน ตรวจสอบ
ใหแนใจวาวัสดุดังกลาวแยกจากกันเพื่อปองกันการกัดกรอน
จากการสัมผัสที่มีสาเหตุจากความตางศักยที่ไมเหมือนกัน
ใชวัสดุแยกที่เหมาะสม
หากเปนไปไดใหเลือกวัสดุที่มีความตางศักยทางเคมีไฟฟาใน
ระดับตํ่า

88 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
5.5 เฟรมและการยึดตัวถัง
5.5.1 จุดยึดและทอ ขอควรจํา : หลังจากเจาะ ลบคม และควานรูทั้งหมดและเอา
เศษวัสดุออกจากเฟรมแลว ปฏิบต
ั ต
ิ ามขัน
้ ตอนการปองกันการ
รูบนเฟรมเปนผลการกระบวนการผลิต รูดังกลาวไมไดออก กัดกรอน
แบบมาเพื่อยึดติดอุปกรณเพิ่มเติม ใชตัวยึดแชสซีเสมอดังที่ โปรดดู : 5.4 การปองกันสนิม (หนา 88)
แสดงในซับเฟรมสําหรับพื้ันตํ่าหรืออุปกรณอื่นๆ ถาตองการ
ตัวยึดเพิม
่ เติมโปรดทําตามคําแนะนําทีใ่ หไวดงั รูปทีแ
่ สดง การ
ดําเนินการนี้จะไมสามารถใชไดกับพื้นที่ของการใชงานโหลด
เชนจุดยึดสปริงหรือจุดยึดแดมเปอร

การเจาะและการเชื่อมเฟรม

E134173

ขนาด (มม.) สําหรับรูยึดตัวถังในฐานลอปานกลางของหนาแปลนบนของโครงแชสซี


รายกา รายละเอียด

A 19 มม.
B 11 มม.
C 10 มม.
D 10 มม.
E หามขยายรูรางของแชสซี หรือเจาะภายในบริเวณโดยรอบ
F หามเจาะมากกวา 2 รูแนวตั้งในรางแชสซี

1. ไมอนุญาตใหเชื่อมโครงสรางของรถยนต 5. ลบคมที่รูหลังจากเจาะเพื่อติดตั้งสลักเกลียวหรือหมุด ลบ
2. หากตองการทํารูในเฟรม อยาใชไฟแกส ใหเจาะรูโดยใช มุม1.0 มม. x 45 องศาบนรูดานหัวสลักเกลียวเพื่อชวย
เครื่องเจาะที่คม รับสลักเกลียว
3. ใชการยํ้าหมุดโดยไมใชความรอนเมื่อติดขายึดดวยหมุด 6. หามเจาะรูใกลจุดเปลี่ยนรูปรางของคานดานขาง
เทานั้น 7. หามเจาะรูที่มีอยูแลวบนหนาแปลนบนและลาง
4. ใชสลักเกลียวแรงดึงสูงและน็อตที่เหมาะสมเมื่อใชการยึด 8. เจาะรูไดไมเกินสองรูในเสนแนวตั้งจากเว็บเฟรม
ดวยสลักเกลียว 9. ตองทาสารปองกันการกัดกรอนหลังการเจาะรถยนต สาร
• ขอมูลจําเพาะของสลักเกลียว : ปองกันการกัดกรอนและสารเคลือบปองกันสําหรับการ
• เมตริก – คลาสคุณสมบัติ 8.8 หรือ 10.9 ดัดแปลงทั้งหลายควรสอดคลองกับมาตรฐานขอบังคับ
• ญี่ปุน – 7T หรือ 9T ทั้งหมดในทองถิ่น
• SAE – เกรด 8 5 10. ควรมีการเพิ่มความแข็งแรงใหกับโครงสรางของรถยนต
ตามความเหมาะสมเพือ ่ หลีกเลีย
่ งโหลดทีม
่ ากเกินไปในบาง
จุด

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
89
5 ตัวถังและสี
หลักการออกแบบทั่วไปของโครงสรางตัวถังที่พยุงตัวเอง

7
6
E74576

รายกา รายละเอียด

1 ใชตัวยึด 2x M10 กับตําแหนงมาตรฐานทั้งหมด
2 พื้น/แผง
3 เฟรมขางตัวถัง
4 คานขวางขางพื้น
5 เฟรมรูปตัวยู (U) ขางพื้นแบบตอเนื่อง
6 รูปตัวแอล (L) ตามแนวยาว
7 รางเฟรมของแชสซีของรถยนตพื้นฐาน
8 เสนแนวกึ่งกลางรถของรถยนตพื้นฐาน

ดูเพิ่มเติมที่: • แนวคิดนี้มาจากโครงสรางแบบพยุงตัวเองซึ่งพื้นถูกติดตั้ง
โดยตรงกับพื้นผิวสวนบนของเฟรมแชสซี
โปรดดู : ตัวถัง (หนา ?)
• ดูรูปที่แสดงภาพตัดขวางของรถยนตทั่วไปซึ่งมีคานขวาง
และคานยื่นตรงขามเสมอกับพื้นผิวของคานดานขางของ
5.5.2 โครงสรางตัวถังที่พยุงตัวเอง เฟรมแชสซี
• เปนเรือ่ งสําคัญสําหรับการทํางานของโครงสรางรถยนตโดย
ตัวถังและโครงสรางจะถือวาพยุงตัวเองไดหากเปนไปตาม
รวมที่คานยื่นแตละอันตองเชื่อมตอกับเฟรมดานขางพื้น
เงื่อนไขตอไปนี้:
ตามแนวยาวแบบตอเนื่องหรือกับชุดโครงสรางขางตัวถัง
• มีการใชคานขวางทีจ ่ ด
ุ ติดตัง้ แชสซีแตละจุด โปรดดูรป
ู ภาพ
ที่แสดง การแกไขพื้นตํ่าเปนแคคําแนะนําเทานั้น:
• คานขวางแตละคานมีการเชื่อมตอที่ออกแบบมาอยาง • ประกอบคานขวางพิเศษและคานยื่นที่มีระยะลึกสูงสุด
เหมาะสมกับผนังขางของตัวถัง (3) หรือกับเฟรมขางพื้น ประมาณ 600 มม.
แบบตอเนื่อง (5) ตามรูปภาพที่แสดง • โมเมนตของคานยืน ่ ตองมีแรงปฏิกริ ย
ิ ากับคานขวางระหวาง
• ผนังขางของตัวถังหรือเฟรมขางพืน ้ แบบตอเนือ่ งจะรองรับ เฟรมแชสซีที่มีสลักเกลียวรวมหากเปนไปได
สิ่งที่อยูพนเฟรมของแชสซี ไมวาบนเฟรมมาตรฐานหรือ • เจาะเฟรมและเพิ่มทอรอง
เฟรมแบบขยาย โปรดดู : 5.5 เฟรมและการยึดตัวถัง (หนา 89)
หรืออีกวิธห
ี นึง่ คือ โครงสรางตัวถังทีพ
่ ยุงตัวเองยังสามารถออก • ปลายดานนอกของคานยื่นควรเชื่อมตอกับเฟรมขางตัวถัง
แบบใหเปนดังรูปภาพที่แสดง ทีร่ บ
ั โหลด / เฟรมยึดขอบพืน
้ หรือโครงสรางขางตัวถัง (รวม
ทั้งเหนือจุดรองรับลอ)

90 วันที่เผยแพร: 01/2020
Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
FORD RANGER ป 2019 2012
5 ตัวถังและสี
• กลองลอที่เปนโครงสรางควรรักษาความตอเนื่องตามแนว • ขายึดแตละชุดตองใชสลักเกลียวสอง (2) x M10 ตัวทีเ่ ปน
ยาวโดยยึดอยางแข็งแรงกับเฟรมยึดขอบพื้นหรือกับ เกรดไมนอยกวา 8.8
โครงสรางขางตัวถัง • ความสูงขั้นตํ่าของพื้นจะตองใหโครงกรอบลอพนยางดาน
• แผงพื้นควรยึดกับคานขวางและคานยื่นเปนสวนใหญ แต หลัง โปรดดูเอกสารขอมูลของรถยนตสาํ หรับตัวกันกระแทก
ไมใชกับพื้นผิวสวนบนของเฟรมแชสซี ยางที่เกี่ยวของ
• แผนกันความรอนไอเสียของพื้นตํ่า
5.5.5 พื้นที่สําหรับการติดตั้งอุปกรณติดตัวถังอื่นๆ
5.5.3 การเจาะเฟรมและการเสริมความแข็งแรงของ กับกันชนดานหลัง
ทอ
ขอควรจํา : ใหรถจอดบนพื้่นราบโดยวัดคาตางๆ ที่ดานหลัง
เฟรมแชสซีอาจมีการเจาะ และอาจเชื่อมทอรองที่เสริมความ ขอบแทนกันชน: บริเวณทีก ่ าํ หนดสําหรับติดตัง้ อุปกรณตด
ิ ได
แข็งแรงแทนหากเปนไปตามเงื่อนไขเหลานี้: กําหนดขนาดเปน 220 มม. ในแนวนอนคูณ 95 มม. ในแนว
ตัง้ ลงไปจนถึงผิวถนน โดยมีความกวางสูงสุด 1390 มม. ใกล
• ปฏิบัติตามรายละเอียดทั้งหมดที่แสดงในรูปภาพ ๆ เสนแนวกึ่งกลางรถ
• เจาะและเชื่อมเฉพาะผนังขางของเฟรมแชสซีเทานั้น
ผูผลิตไมแนะนําใหติดตั้งอุปกรณติดตัวถังอื่นๆ (ขอพวงลาก
• ระบุตําแหนงและเจาะรูอยางแมนยําโดยใชชองตัวนําเจาะ ที่เหยียบ แร็คและโครงวางจักรยาน) นอกบริเวณที่กําหนด
เพื่อใหมั่นใจวารูตางๆ เรียงเปนสี่เหลี่ยมกับเสนกึ่งกลาง
แนวตัง้ ของเฟรม (หมายเหตุ: สําหรับมุมลาดเอียงของคาน
ดานขาง) 5.5.6 ถังนํ้าบนรถแคมเปอร
• เจาะใหมีขนาดเล็กกวาแลวควานออกใหตรงขนาด
หมายเหตุ: ขอแนะนําใหติดตั้งแผนปายขางๆ ชองเติมเพื่อ
• พยายามเอาเศษโลหะทัง้ หมดออกจากขางในของคานดาน บอกชนิดของของเหลวที่จะใช เชน 'นํ้าเทานั้น' สําหรับถังนํ้า
ขางและทําการปองกันการกัดกรอน
• เชื่อมปลายทอแตละดานใหสนิทและเจียใหเรียบเปนกลุม
หากมี โปรดอยาลืมมุมลาดเอียงของคานดานขาง
• ทาสารปองกันการกัดกรอนที่ดานในและดานนอกของ
เฟรมแชสซี
โปรดดู : 5.4 การปองกันสนิม (หนา 88)
• รูควรเกาะเปนกลุมละสอง (2) รู โดยเวนระยะแนวตั้ง 30
ถึง 35 มม. จากพื้นผิวเฟรมแชสซีดานบนและ/หรือดาน
ลาง หรือในแนวนอนลึกอยางนอย 50 มม. เวนระยะ 30
ถึง 35 มม. จากพื้นผิวเฟรมแชสซีดานบนและ/หรือดาน
ลาง
• ใชสลักเกลียว M10 ที่เปนเกรดไมนอยกวา 8.8 เสมอ
• อยาวางตําแหนงทอทีก ่ ง่ึ กลางความสูงของเฟรมแชสซี ซึง่
อาจทําใหเกิด “กระปองนํ้ามัน” ในผนังดานขางสวนที่อยู
ลึก
• หากเปนไปได โมเมนตของคานยืน ่ ควรถูกหักลางดวยคาน
ขวางดานในทีม่ โี มเมนตตรงกันระหวางคานดานขางแชสซี
ที่เรียงตามคานยื่น
• ขนาดสูงสุดของรูทอ ่ี นุญาตคือเสนผานศูนยกลาง 16.5 มม
. ในผนังขางของเฟรมแชสซีโดยไมคํานึงถึงการใช
หลีกเลีย
่ งการเจาะในสวนของตัวเฟรมทีป
่ ด
 เพือ
่ หลีกเลีย
่ งความ
เสี่ยงจากการกัดกรอนของเศษโลหะ
โปรดดู : 5.4 การปองกันสนิม (หนา 88)
การเจาะและการเชือ
่ มเฟรมและโครงสรางตัวถังตองดําเนินการ
ตามแนวทางของโปรแกรม โปรดปรึกษาตัวแทนจําหนายของ
Ford สําหรับรายละเอียดเพิ่มเติม

5.5.4 อุปกรณเสริม - ตัวยึดซับเฟรม


ซับเฟรมทัว่ ไปและคานตามแนวยาวสําหรับตัวถังพืน ้ เรียบและ
ตํ่าหรือแบบเปดขาง หรืออุปกรณที่เกินความยาวของ
เฟรมมาตรฐานหรือคําสั่งผลิตธรรมดาควรยึดตามแนวทางตอ
ไปนี้:
• ตัวถังพื้นเรียบและตํ่าที่ติดตั้งบนคานตามแนวยาวในตัว (
ชองหรือสวนกลองที่เปนโลหะ ไมใชไม) ตองใชขายึด
เฟรมทุกขาทั้งสองขาง
• คานตามแนวยาวตองคลายแรงที่ปลายดานหนาถาตอง
สัมผัสกับพื้นผิวดานบนของเฟรมแชสซีเพื่อลดแรงเคน
เฉพาะจุด แตควรติดตั้งคานแนวยาวบนขายึดโดยมีระยะ
หางจากพื้นผิวดานบนของเฟรมแชสซี

FORD RANGER ป 2019 2012 วันที่เผยแพร: 01/2020


Composed on:Mon Feb 15 05:48:44 GMT 2021
91
ก ตัวถังแบบเททาย................................................................73
ตัวบรรทุกถังและตัวบรรทุกของแหง...................................74
กระจกประตูที่ควบคุมดวยไฟฟา.........................................61
ตัวรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง.............................................34
กลองฟวสเสริม (รถรุนที่มีชุดอุปกรณพิเศษ) (รถรุนตัวถัง
ตําแหนงเซ็นเซอร..............................................................47
เตี้ยเทานั้น)......................................................................66
กันสาด...............................................................................76
การกระจายนํ้าหนัก—ขอมูลจําเพาะ.................................22 ถ
การกัดกรอนจากการสัมผัส................................................88 ถังนํ้าบนรถแคมเปอร.........................................................91
การขับขี่รถยนตและคุณลักษณะการควบคุมการขับขี่..........10 ถังนํ้ามันเชื้อเพลิงระยะไกล................................................37
การขึ้นแมแรง....................................................................11 ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังสูง)...........................................82
การคํานวณการกระจายนํ้าหนัก - การกระจายนํ้าหนักของ ถุงลมนิรภัย - (รถรุนตัวถังเตี้ย).........................................79
คนขับและผูโดยสาร.........................................................22
การซอมแซมสีที่เสียหาย....................................................88
การทาสีลอที่ใชงานปกติ.....................................................88 ท
การปองกันสนิม.................................................................88 ทอออนชองระบายทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง..........................36
การยก................................................................................12 ทอออนนํ้ามันเบรก.............................................................31
การรับประกันรถยนตของ Ford............................................6 ทอออนระบายอากาศเพลา.................................................37
การลากจูง..........................................................................29
การลากจูงรถพวง...............................................................58
การอนุมัติทางกฎหมายและประเภทรถยนต.........................6 น
การอนุมัติประเภทสํารอง......................................................6 นํ้าหนักที่ใชในการลากจูงและขอมูลจําเพาะ........................29
การเจาะเฟรมและการเสริมความแข็งแรงของทอ...............91 นํ้าหนักรถเปลาและนํ้าหนักบรรทุก....................................20
การเจาะและการเชื่อม...........................................................7
การแปลงที่สัมพันธกัน.........................................................8 บ
การแปลงสภาพมีผลกระทบกับระบบชวยจอด....................16
บทนํ า ...................................................................................5

ขนาดตัวถังที่แนะนํา...........................................................18

ขอบเขตการมองเห็นของคนขับ.........................................16 ประทุนแชสซี.....................................................................70
ขั้นตอนการเชื่อมตอสายไฟ................................................38
ขายึดรองทอเติมนํ้ามันเชื้อเพลิง (หากติดตั้ง)....................32 พ
ขอกําหนดการลากจูง..........................................................29
ขอกําหนดขัน ้ ตํา่ สําหรับระบบเบรกและวาวลปรับแรงดันนํา้ มัน พื้นที่สําหรับการติดตั้งอุปกรณติดตัวถังอื่นๆ กับกันชนดาน
เบรก..................................................................................7 หลัง..................................................................................91
ขอกําหนดดานความปลอดภัยทั่วไปของผลิตภัณฑ...............6

........................................................................................5, 9 ฟวสและรีเลย.....................................................................65

ข ภ
ขอมูลแบตเตอรี่..................................................................39 ภาระผูกพันและความรับผิดชอบทางกฎหมาย......................6

ค ม
ความคาดหวังทางการคาและกฎหมาย..................................6 มือเปด, ล็อก, กลอนและระบบการเขารถยนต...................64
ความปลอดภัยบนถนน.........................................................7
ความรับผิดชอบตอผลิตภัณฑ...............................................7
ความสอดคลองของแมเหล็กไฟฟา (EMC)..........................9 ร
ความแข็งแรงของสวนดานหนาสําหรับการระบายความรอน รถรุนตัวถังเตี้ยและสูง....................................................5, 65
การชน อากาศพลศาสตร และไฟสองสวาง......................73 ระบบชวยจอด....................................................................46
คําเตือน ขอควรระวัง และ หมายเหตุตางๆ ในคูมือนี้..........5 ระบบชวยสําหรับการเขาและออกจากรถ............................16
คําแนะนําที่สําคัญตอความปลอดภัย.....................................5 ระบบนิรภัย...........................................................................7
คําแนะนําในการวางและเดินสายไฟ....................................38 ระบบนิรภัยเสริมและถุงลมนิรภัย (SRS)............................79
ระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง..........................................................32
ระบบรองรับนํ้าหนัก...........................................................30
จ ระบบเข็มขัดนิรภัย — ออสเตรเลีย..................................87
จุดยึดและทอ......................................................................89 ระบบเซ็นทรัลล็อก.............................................................64
จุดศูนยถวง........................................................................25 ระบบเบรก..........................................................................31
ระยะการใชงานของคนขับ..................................................16
ช รายละเอียดโดยทั่วไป..................................................31, 88
ชุดรวมไฟทาย....................................................................55

ต วัสดุและอุปกรณปองกันตัวถังดานลาง...............................88
วิธีใชคูมือฉบับนี้...................................................................5
ตัวถังที่ติดตั้งมาและการดัดแปลง.......................................69
ตัวถัง..................................................................................69
ตัวถังแชสซีแค็ป - ขนาดและนํ้าหนักพื้นฐาน.....................19

92

หลอดไฟภายนอกเพิ่มเติม - (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น).......58
หลอดไฟเบรกดวงทีส
่ ามดานบนตรงกลาง (CHMSL) - การ
ประกอบโครงหลังคา - รถรุนตัวถังสูง.............................62
หลอดไฟเบรกดวงทีส่ ามดานบนตรงกลาง (CHMSL) - การ
ประกอบโครงหลังคา - รถรุนตัวถังเตี้ย...........................61
หลอดไฟ – ไฟฉุกเฉิน / ไฟเลี้ยว.....................................61


อภิธานศัพท.........................................................................6
อิเล็กทรอนิคสควบคุมเครื่องยนต......................................49
อุปกรณชว ยในการขนสงรถยนตและการจัดเก็บรถยนต.....14
อุปกรณเสริม - ตัวยึดซับเฟรม..........................................91


ฮารดแวร (Hardware)—ขอมูลจําเพาะ............................21


เกี่ยวกับคูมือเลมนี้..............................................................5
เจเนอเรเตอรและอัลเทอรเนเตอร.....................................45
เซ็นเซอรระบบนิรภัยเสริม (ดานหนา)...............................85
เบรกรถพวง......................................................................31
เฟรมและการยึดตัวถัง.......................................................89
เสียงดัง, การสั่นสะเทือนและการกระแทก (NVH)............13
เหล็กกันชน อุปกรณเสริมของแทจาก Ford......................74
เอาตพุตความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุนตัวถังสูงเทานั้น)....53
เอาตพุตความเร็วรถ (สัญญาณ) (รถรุนตัวถังเตี้ย
เทานั้น)...........................................................................49


แนวทางจังหวะหนาทีก ่ ารทํางานของรถยนต (Vehicle Duty
Cycle Guidelines)..........................................................10
แนวทางสําหรับชุดสวนประกอบทั่วไป...............................16
แบตเตอรรี่และสายไฟ.......................................................39
แบตเตอรี่เสริมและกลองฟวส - รถรุนตัวถังเตี้ย...............65
แผนปองกันตัวถังดานลาง ดานขาง ดานหนา...................20
แผนปายทะเบียน..............................................................17
แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and Ergonomics)
—ขอมูลจําเพาะ............................................................18
แพ็กเกจ และเออรโกโนมิคส (Package and
Ergonomics)...................................................................16
แร็กหลังคา........................................................................75


โครงสรางตัวถัง - ขอมูลทั่วไป...........................................69
โครงสรางตัวถังที่พยุงตัวเอง..............................................90
โหลดไฟแสงสวางเสริม (รถรุนตัวถังเตี้ยเทานั้น)...............60


ไฟตัดหมอกดานหลัง.........................................................55
ไฟถอยหลัง กลองมองหลัง สัญญาณเตือนการถอยหลัง (
เกียรธรรมดา)..................................................................58
ไฟสองปายทะเบียนดานหลัง.............................................56
ไฟแสงสวางภายนอก.........................................................54

93

You might also like