You are on page 1of 93

คู่มือการปฏิบัติงาน

(Work Manual)

เรื่อง การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
กรมชลประทาน สิงหาคม 2561
คู่มือการปฏิบัติงาน
(Work Manual)

เรื่อง การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

รหัสคู่มือ สสธ./สทภ.3/2561

หน่วยงานที่จัดทํา
ฝ่ายวิศวกรรมและพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ฝ่ายสํารวจทําแผนที่จากภาพถ่ายที่ 1 - 4
ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

ที่ปรึกษา
ผู้อํานวยการสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ผู้เชี่ยวชาญด้านสํารวจและทําแผนที่ภาพถ่าย
ผู้อํานวยการส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

พิมพ์ครั้งที่ 1
จํานวน 1 เล่ม
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561

หมวดหมู่ สํารวจ
คู่มือการปฏิบัติงาน
(Work Manual)

เรื่อง การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

จัดทําโดย

ชื่อ-สกุล นางจันทร์ฉาย ดอกเต็งกลาง


ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการพิเศษ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นายโยคิน รวยพงษ์
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการพิเศษ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางเบญจวรรณ วิโรจน์ยะกูล
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการพิเศษ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางสุทธารัตน์ จันทร์ทอง
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการพิเศษ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นายประสงค์ เกียรติทรงพานิช
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางอรุณ อุทัยชัย
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางนงเยาว์ รวยพงษ์
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางสาวจิตสุดา อินทุมาร
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ชื่อ-สกุล นางพรทิภา พินทอง
ตําแหน่ง นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายชํานาญการ สังกัด สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียด/ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวทิ ยา
กรมชลประทาน
เบอร์โทรศัพท์ 0-2667-0977
คํานํา
การจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมีวัตถุประสงค์รวบรวมองค์ความรู้ที่มีใน
องค์ ก ร พั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง องค์ ค วามรู้ ใ ห้ เ ป็ น ระบบมาตรฐานเดี ย วกั น ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการจั ด ทํ า แผน
ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ ของกรมชลประทาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 โดยใช้เป็นกรอบ
แนวทางในการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ซึ่งดําเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) ระบุให้ส่วนราชการกําหนดกระบวนการที่
สร้างคุณค่า และการสนับสนุนจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ
คู่มือการสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบินของส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เล่มนี้
จั ด ทํ า ขึ้ น ด้ ว ยการรวบรวมขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง าน โดยมี ม าตรฐานคุ ณ ภาพงานตามระเบี ย บ เอกสารหรื อ
แบบฟอร์มที่ใช้ เงื่อนไขการปฏิบัติงานเป็นตัวควบคุม รวมถึงระบบติดตามประเมินผลที่มีตัวชี้วัดกระบวนการใน
จุดวิกฤตเป็นตัวควบคุม
คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้ จะเป็นประโยชน์และแนวทางสําหรับการปฏิบัติงานให้
ผู้ปฏิบัติงานสามารถนําไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นมาตรฐานเดียวกัน

คณะผู้จัดทํา ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
กรมชลประทาน
สารบัญ
หน้า
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขต 1
คําจํากัดความ 1
หน้าที่ความรับผิดชอบ 3
Work Flow 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 13
ระบบติดตามประเมินผล 27
เอกสารอ้างอิง 30
แบบฟอร์มที่ใช้ 30
แบบฟอร์มแบบหมายจุดควบคุมภาคพื้นดิน 31
กรอบระวางแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน 32
ภาคผนวก 33
1) สรุปกระบวนการสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน 34
2) การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน 35
3) ตัวอย่างแบบฟอร์มแบบหมายจุดควบคุมภาพพื้นดิน 70
4) ตัวอย่างกรอบระวางแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน 71
5) ตัวอย่างบันทึกข้อความส่งมอบแผนทีแ่ ละเอกสารประกอบ 72
6) ใบรายการตรวจสอบในขั้นตอนเตรียมข้อมูล 73
7) ใบรายการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์และการเชื่อมต่อระหว่างอากาศยานกับ 74
สถานีควบคุมภาคพื้นดิน
8) มาตรฐาน ASPRS Positional Accuracy Standards for Digital Geospatial Data 76
10) คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานย่อยการจัดทําคู่มือแนวปฏิบัติงานของสํานักสํารวจ 82
ด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
คู่มือการปฏิบัติงาน
การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

1. วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติงานตามกระบวนการสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบินที่
ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ทําให้นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายและนายช่างสํารวจของส่วนเทคโนโลยีภูมิ
สารสนเทศได้รับทราบถึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานตามกระบวนการเป็นไปในแนวทางเดียวกัน การ
ปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานและหลักวิชาการผลิตแผนที่ มุ่งไปสู่ผลสัมฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 เพื่อเป็นคู่มือถ่ายทอดวิธีการทํางานให้กับนักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายและนายช่างสํารวจรุ่นใหม่ของ
ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ได้เรียนรู้และเพิ่มทักษะการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วสามารถพัฒนาการทํางาน
อย่างมีคุณภาพนําไปสู่ความเชี่ยวชาญ ทํางานแทนกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้สนใจ หรือผู้ใช้บริการให้ทราบถึงกระบวนการทํางานซึ่งเป็นประโยชน์ในการ
กําหนดแผนงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามต้องการ
1.4 เพื่อให้ผู้บริหารสามารถติดตามงานได้ทุกขั้นตอน อันเป็นพื้นฐานในการควบคุมกระบวนการทํางาน
และการบริหารขององค์กรให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย

2. ขอบเขต
คู่มือการสํารวจทํ า แผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบินเล่ ม นี้ รับผิดชอบโดยส่ วนเทคโนโลยีภูมิ
สารสนเทศ สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ครอบคลุมถึงขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติงานสํารวจบิน
ถ่า ยภาพโดยอากาศยานไร้ นัก บิ น สํารวจจุ ดควบคุม ภาคพื้นดิ น รายละเอี ย ดนามศั พท์ ประมวลผลข้ อมู ล
ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล การผลิตและประกอบระวางแผนที่แบบผสม และส่งมอบให้กับหน่วยงานภายในกรม
ชลประทานที่ ขอรั บบริการ สําหรั บ นําไปใช้ ประโยชน์ด้านบริหารจัด การในแต่ละพื้นที่ ชลประทานได้อย่า ง
เหมาะสม
3. คําจํากัดความ
มาตรฐาน คือ สิ่งที่ถือเป็นเกณฑ์สําหรับเทียบกําหนด ทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) เป็นผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่ง
ซึ่งถือว่าเป็นเกณฑ์ที่น่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ทําได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนด
มาตรฐานหลายๆ ด้าน อาทิ ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน
อากาศยานไร้นักบิน หมายถึง อากาศยานที่ควบคุมการบินโดยผู้ควบคุมการบินอยู่ภายนอกอากาศยาน
ซึ่งมีระบบควบคุมอากาศยาน ชุดอุปกรณ์ประกอบด้วยเครื่องเชื่อมโยงคําสั่งควบคุมหรือการบังคับอากาศยาน
รวมทั้งสถานีหรือสถานที่ติดตั้งชุดอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ควบคุมการบินจากภายนอกตัวอากาศยาน ทั้งนี้ไม่
รวมถึงเครื่องบินเล็ก ซึ่งใช้เป็นเครื่องเล่นตามกฎกระทรวงกําหนดวัตถุซึ่งไม่เป็นอากาศยาน พ.ศ. 2548
แผนที่แบบผสม (Annotated Maps) หมายถึง แผนที่ที่ผสมระหว่างแผนที่ลายเส้นกับแผนที่
ภาพถ่าย โดยรายละเอียดที่เป็นพื้นฐานส่วนใหญ่จะเป็นรายละเอียดที่ได้จากการถ่ายภาพ ส่วนรายละเอียดที่
สําคัญ ๆ เช่น แม่น้ํา ลําคลอง ถนนหรือเส้นทาง รวมทั้งอาคารที่ต้องการเน้นให้เห็นเด่นชัดก็แสดงด้วยลายเส้น
พิมพ์แยกสีให้เห็นชัดเจนส่วนใหญ่มีสีมากกว่าสองสีขึ้นไป


ภาพออร์โธเชิงเลข (Digital Orthophoto) หมายถึง ภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลขที่ผ่านกระบวนการ
ดัดแก้ (Orthorectification) หรือขจัดความคลาดเคลื่อนอันเกิดจากผลกระทบของการถ่ายภาพเอียง (Tilted)
ควง (Swing) และหมุนรอบแรงโน้มถ่วงของโลก ความสูงต่ําของภูมิประเทศ (Relief Displacement) โดยอ้างอิง
กับระบบพิกัดแผนที่โลก เช่น UTM (Universal Transverse Mercator) ซึ่งทําให้ตําแหน่งขนาดรูป รูปร่างของ
วัตถุและภูมิประเทศที่ปรากฏบนภาพที่ดัดแก้แล้วมีความถูกต้องเช่นเดียวกับแผนที่ที่ใช้งานทั่วไปซึ่งในที่นี้หมายถึง
แผนที่ภาพออร์โธเชิงเลขจากภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วน 1 : 4,000
จุดควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Points : GCPs) หมายถึง จุดที่ทราบค่าพิกัดพื้นดินทั้ง
ทางราบและ/หรือทางดิ่งซึ่งได้มาโดยการสํารวจรังวัดภาคสนามด้วยเครื่องมือรังวัดค่าพิกัดภาคพื้นดิน เช่น
เครื่องวัดพิกัดด้วยสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น
จุดตรวจสอบ (Check Points) หมายถึง จุดที่ได้จาการสํารวจรังวัดภาคสนามด้วยเครื่องมือรังวัดค่า
พิกัดจากดาวเทียม โดยไม่นํามาใช้ร่วมคํานวณจุดบังคับภาพถ่าย แต่ใช้เป็นจุดประเมินความคลาดเคลื่อนทาง
ตําแหน่ง
แบบจําลองระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model : DEM) หมายถึง ข้อมูลระดับความสูงใน
รูปแบบดิจิทัล ที่มีการเก็บค่าความสูงในลักษณะตารางกริดเป็นพื้นผิวต่อเนื่อง ซึ่งแบบจําลองระดับสูงมีความ
แตกต่างของการวัดที่ตําแหน่งของจุดระดับสูง 2 ลักษณะ คือ Digital Surface Model (DSM) และ Digital
Terrain Model (DTM)
แบบจําลองพื้นผิวเชิงเลข (Digital Surface Model : DSM) หมายถึง ข้อมูลจุดระดับความสูง
พื้นผิวของโลกในรูปแบบดิจิทัล โดยรวมเอาความสูงของสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งปกคลุมพื้นผิวโลก เช่น ต้นไม้ พืช
พรรณ และตึกอาคาร ไว้ด้วย
แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข (Digital Terrain Model : DTM) หมายถึง ข้อมูลจุดระดับความสูง
พื้นผิวของโลกในรูปแบบดิจิทัล โดยมีการขจัดความสูงของสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งปกคลุมพื้นผิวโลกออก ให้เหลือ
เฉพาะความสูงของพื้นผิวโลกจริงๆ ข้อมูลระดับความสูงของลักษณะภูมิประเทศที่สําคัญ ได้แก่ ทางน้ํา ขอบบริเวณ
พื้นน้ํา อาคาร ถนน และแนวสันเขา เป็นต้น
ความละเอียดจุดภาพ (Ground Sample Distance : GSD) หมายถึง ตัวเลขระยะบอกขนาดของ
ตัวอย่างบนพื้นดิน 1 จุดภาพ (Pixel) ซึ่งโดยทั่วไปเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ถ่ายภาพที่ GSD 10 เซนติเมตร
หมายความว่า 1 จุดภาพบนภาพถ่ายเท่ากับระยะบนพื้นดิน 10 เซนติเมตร เป็นต้น เนื่องจากขนาด 1 จุดภาพ
ของตัว Sensor มีขนาดคงที่ ดังนั้นการถ่ายภาพให้ได้ค่า GSD ตามต้องการขึ้นอยู่กับระยะการถ่ายภาพนั้น
สําหรับ UAV หมายถึงความสูงบินในการถ่ายภาพ
เส้นชั้นความสูง (Contour Line) หมายถึง เส้นที่แสดงลักษณะความสูงต่ําของพื้นที่ เป็นเส้นจินตนาการ
ของระดับบนพื้นผิวภูมิประเทศที่มีค่าระดับเท่ากัน เส้นชั้นความสูงที่มีค่าเป็นบวก คือเส้นที่แสดงค่าความสูงเหนือ
ระดับทะเลปานกลาง ส่วนเส้นชั้นความสูงที่มีค่าเป็นลบเป็นเส้นชั้นความสูงที่แสดงค่าความสูงต่ํากว่าระดับทะเล
ปานกลาง
แผนการบิน (Flight Planning) หมายถึง การบันทึกรายละเอียดของข้อมูลการบินที่ใช้ในการปฏิบัติ
ภารกิจตลอดเส้นทางการบินตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง
การจําลองการบิน (Flight Simulator) หมายถึง จําลองการบินในสภาพพื้นที่จริงโดยอ้างอิงจาก
แผนการบินที่สร้างขึ้น โดยยังไม่ต้องทําการบินโดยใช้เครื่องจริง เพื่อเป็นการฝึกทักษะในการวางแผนการบินของ
ทีมบินในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
หน่วยวัดการทรงตัวของเครื่องบิน (Inertial Measurement Unit : IMU) หมายถึง เครื่องมือวัด
และบันทึกค่ามุมและทิศทางการทรงตัวของเครื่องบินขณะที่กําลังบินบันทึกภาพ ในลักษณะหมุนควงรอบแนวแกน
X Y และ Z โดยทั่วไปใช้ร่วมกับเครื่องมือกําหนดตําแหน่งบนพื้นโลกด้วยดาวเทียม

ผู้ขอรับบริการ หมายถึง หน่วยงานภายในกรมชลประทานที่ต้องการแผนที่ภาพออร์โธเชิงเลขเพื่อใช้
เป็นข้อมูลเบื้องต้นในภารกิจชลประทาน ได้แก่ สบก. สพญ. กพก. สบอ. สมด. สวพ. สอส. สจด. และ สชป.1-17
ASPRS Positional Accuracy Standards for Digital Geospatial Data หมายถึง มาตรฐานที่
ใช้ประเมินความถูกต้องของแผนที่โดยใช้ค่า RMSE เป็นค่าความคลาดเคลื่อนที่สามารถยอมรับได้ กําหนดโดย
สมาคม The American Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ASPRS)
RMSE (Root Mean Square Error) หมายถึง ความหมายที่หนึ่ง คือ ค่าความคลาดเคลื่อนรวมของ
จุดบังคับภาพถ่ายที่ได้ทําการรังวัดบนภาพมีหน่วยเป็น Pixel ความหมายที่สอง คือ ค่าความคลาดเคลื่อนรวมที่
ได้จากการนําจุดควบคุมภาคพื้นดินมาคํานวณร่วมกับจุดบังคับภาพถ่ายมีหน่วยเป็นเมตร การคํานวณ RMSE
สามารถคํานวณด้วยรากที่สองของค่าเฉลี่ยความแปรปรวนของค่าพิกัดทั้งทางราบและทางดิ่ง
4. หน้าที่ความรับผิดชอบ
4.1 ผู้อํานวยการสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา รับทราบและลงนามหนังสือบันทึกข้อความ
นําส่งแผนที่ให้กับผู้ขอรับบริการ
4.2 ผู้อํานวยการส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ กํากับ ควบคุม ดูแล ลงนามหนังสือบันทึกข้อความนําส่ง
แผนที่เสนอผู้อาํ นวยการสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
4.3 หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรมและพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และหัวหน้าฝ่ายสํารวจทําแผนทีจ่ าก
ภาพถ่ายที่ 1 – 4 ทําหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตาม/ประเมินผล และเสนอหนังสือบันทึกข้อความนําส่งแผนที่ต่อ
ผู้บังคับบัญชาตามลําดับ
4.4 นักวิชาการแผนที่ภาพถ่าย และนายช่างสํารวจ ทําหน้าที่ปฏิบัติงานตามกระบวนการสํารวจทําแผนที่
แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน


สรุปกระบวนการ การสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน
กระบวนการ การสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน ประกอบด้วยขั้นตอนสําคัญ ดังนี้
1. เตรียมข้อมูล
2. ปฏิบัติงานภาคสนาม
3. ประมวลผลข้อมูล
4. ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
5. ประกอบระวางแผนที่
6. พิมพ์แผนที่
7. ส่งมอบแผนที่และเอกสารประกอบ


Work Flow กระบวนการ การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

ลําดับที่ ผังกระบวนการ เวลา

1. 12 ตร.กม./2 วัน
เตรียมข้อมูล

2. ปฏิบัติงานภาคสนาม 7 วัน

3. ประมวลผลข้อมูล 20 วัน

NO

4. ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล 3 วัน

YES

5. ประกอบระวางแผนที่ 2 วัน

6. 1 วัน
พิมพ์แผนที่

7. ส่งมอบแผนทีแ่ ละเอกสาร 1 วัน


ประกอบ

รวมเวลาทั้งหมด 36 วัน


5. Work Flow
ชื่อกระบวนการ : การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน
ตัวชี้วดั ผลลัพธ์กระบวนการจัดทําคู่มือการปฏิบตั งิ าน : ความสําเร็จของงานสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นักบินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา
12 เตรียมข้อมูลสํารวจดังนี้ ใบรายการตรวจสอบในขั้นตอน นักวิชาการ
1. ตร. 1. เตรียมข้อมูลที่จําเป็นในการ เตรียมข้อมูล (Checklist) แผนที่ภาพถ่าย
เตรียมข้อมูล กม./ สํารวจทําแผนที่ และนายช่าง
2 วัน 2. เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือสํารวจ สํารวจ
ทําแผนที่
3. วางแผนการบินก่อนปฏิบัติการ
บิน (Pre-Flight planning) โดยใช้
ข้อมูลแผนที่จากข้อ 1. พิจารณาดังนี้
3.1 วางแผนการบินให้
ครอบคลุมพื้นที่โครงการ
3.2 กําหนด GSD (Ground
Sample Distance) ที่ต้องการ และ
พิจารณาลักษณะความสูง-ต่ําของภูมิ
ประเทศเพื่อกําหนดสูงบินที่เหมาะสม
3.3 กําหนดร้อยละส่วนซ้อน
(Overlap) ระหว่างภาพและร้อยละ
ส่วนเกย (Sidelap) ระหว่างแนวบิน
3.4 กําหนดจุดขึ้น (Take-Off)
จุดลง (Landing) เบื้องต้น


ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา
3.5 จําลองการบิน (Simulator)
ด้วยโปรแกรมควบคุมการบิน เพื่อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพของแบตเตอรี่
ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการ
ปฏิบัติงานของ UAV เพื่อรักษาระยะ
ควบคุมจากสถานีควบคุมภาคพื้นดินให้
ไม่เกินระยะการสื่อสาร
4. กําหนดตําแหน่งจุดควบคุม การกําหนดจุดควบคุมภาคพื้นดิน
ภาคพื้นดิน (GCPs) ค่าพิกัดทางราบ และจุดตรวจสอบ รวมกันอย่างน้อย
ค่าระดับทางดิ่ง (X,Y,Z) และจุด 4 สถานีต่อหนึง่ ตารางกิโลเมตร
ตรวจสอบ (Check Points) ค่าพิกัด
ทางราบ (X,Y) กระจายให้ครอบคลุม
บริเวณพื้นที่โครงการและกําหนดจุด
ตรวจสอบ (Check Points) (X,Y) ให้
แทรกอยู่ระหว่างจุดควบคุมภาคพื้นดิน
(GCPs)
5. นําเข้าข้อมูลภาพและแผนการ
บิน
6. ตรวจเช็คตัวอากาศยานและ
อุปกรณ์ประกอบ
7. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา

2. ปฏิบัติงานภาคสนาม 7 วัน ภาคสนามปฏิบัติงาน ดังนี้ เกณฑ์มาตรฐานคุณลักษณะเฉพาะ นักวิชาการ


1. สํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs) ของเครื่องรังวัดพิกัดด้วยเครื่องรับ แผนที่ภาพถ่าย
พร้อมวางเครื่องหมายให้ปรากฏชัดใน สัญญาณดาวเทียม โดยใช้เครื่องรับ และนายช่าง
ภาพถ่าย สัญญาณดาวเทียม (Reciever) แบบ สํารวจ
1.1 ตรวจสอบ ค้นหาหมุดหลักฐาน Geodatic ดังนี้
ถาวร เพื่อใช้เป็นหมุดออกงานและ 1. ต้องมีช่องรับสัญญาณแบบ
บรรจบงาน ความถี่เดียว (L1) หรือสองความถี่
1.2 สํารวจวางเครื่องหมายจุด (L1,L2)
ควบคุมภาคพื้นดินและจุดตรวจสอบใน 2. วัดเส้นฐานความยาวในแบบ
NO พื้นที่จริง Static ไม่มากกว่า 15 กม. ความ
1.3 สํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน ถูกต้องของการรังวัดระยะเส้นฐาน
และจุดตรวจสอบ ทางราบ +10 mm. +1 ppm.
1.4 ประมวลผลข้อมูลจากการ Rms. หรือดีกว่า
สํารวจรังวัดค่าพิกัด
1.5 จัดทํารูปเล่มรายงานข้อมูล
2. สํารวจบินถ่ายภาพทางอากาศด้วย ใบรายการตรวจสอบความพร้อมของ
อากาศยานไร้นักบิน อุปกรณ์และการเชื่อมต่อระหว่างอากาศ
2.1 ประเมินสภาพอากาศ ทัศนวิสัย ยานกับสถานีควบคุมภาคพื้นดิน
ให้เหมาะสมสําหรับการบิน (Checklist)
2.2 ตรวจสอบความเหมาะสมพื้นที่
จุดขึ้น (Take-Off) จุดลง (Landing)

ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา
2.3 ตรวจสอบลักษณะความสูง-ต่ํา
ของภูมิประเทศและทิศทางลม เพื่อปรับ
แผนแนวบิน (Flight planning) และ
จําลองการบิน (Simulator) ด้วย
โปรแกรมควบคุมการบินอีกครั้ง
2.4 ตรวจสอบประสิทธิภาพของ
แบตเตอรี่
2.5 ตรวจสอบสถานะของอากาศ
ยานให้อยู่ในกรอบเวลาที่กําหนด
3. ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของ
ข้อมูล
NO 4. สํารวจจําแนกรายละเอียดนามศัพท์

3. ประมวลผลข้อมูล 20 ประมวลผลข้อมูลโดยโปรแกรมเฉพาะ ข้อกําหนดข้อมูลของมาตราส่วนแผนที่ นักวิชาการ


วัน ด้านการสํารวจด้วยอากาศยานไร้นักบิน ความถูกต้องเชิงตําแหน่งทางราบ แผนที่ภาพถ่าย
ดังนี้ ของข้อมูลแผนที่ไม่มากกว่ากึ่งหนึ่ง
1. เตรียมโครงการและข้อมูล ของขนาดเส้นปากกาเขียนแผนที่
นําเข้าตามรูปแบบของเครื่องมือหรือ (0.5 มิลลิเมตร) อ้างอิงมาตราส่วน
ซอฟต์แวร์ประมวลผล แผนทีแ่ ละความถูกต้องเชิงตําแหน่ง
2. ประมวลผลรังวัดขยายจุดบังคับ ทางดิ่งของข้อมูลแผนที่ไม่มากกว่ากึ่ง
ภาพถ่ายแบบอัตโนมัติ (Automatic หนึ่งของช่วงชั้นความสูงที่กําหนด
Arial Triangulation) ด้วยสถานีงาน หรือมาตรฐาน ASPRS Positional
ประมวลผลด้านการรังวัดด้วยภาพ Accuracy Standards for Digital

ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา
ดิจิทัล Geospatial Data (EDITION 1,
3. ประมวลผลกลุ่มจุดความสูงสาม VERSION 1.0 NOVEMBER, 2014
มิติ (3D Point Cloud) แบบอัตโนมัติ
4. ปรับแต่งและประมวลผล
แบบจําลองระดับสูงเชิงเลข (Digital
Terrain Model : DTM)
5. สร้างข้อมูลของเส้นชั้นความสูง
ต่างระดับต่อเนื่อง (Break Line)
6. ประมวลผลแบบจําลองระดับสูง
เชิงเลข (Digital Elevation Model :
DEM)
NO 7. ประมวลผลเส้นชั้นความสูง
(Contour Line) แบบอัตโนมัติ
8. ประมวลผลภาพออร์โธ
(Orthophoto)
9. ปรับแต่งเส้นชั้นความสูงให้
สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพภูมิประเทศ

๑๐
ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา

NO

4. ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล 3 วัน ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ดังนี้ มาตรฐาน ASPRS Positional นักวิชาการ


1. ข้อมูลภาพออร์โธ (Orthophoto) Accuracy Standards for Digital แผนที่ภาพถ่าย
2. ข้อมูลระดับความสูงเชิงเลข Geospatial Data (EDITION 1,
(DEM) VERSION 1.0 NOVEMBER, 2014
3. เส้นชั้นความสูง (Contour Line)
4. ข้อมูลรายละเอียดชื่อนามศัพท์
YES

5. 2 วัน 1. ประกอบระวางแผนที่แบบผสม 1. ตามรูปแบบ (Template) นักวิชาการ


ประกอบระวางแผนที่ โดยนําภาพออร์โธ (Orthophoto) ระวางแผนที่ ของส่วนเทคโนโลยีภูมิ แผนที่ภาพถ่าย
ข้อมูลเส้นชั้นความสูง และจําแนกนาม สารสนเทศ และนายช่าง
ศัพท์ ซ้อนทับกัน 2. ขอบเขตกรอบระวางรวมทั้ง สํารวจ
2. ตรวจสอบระวางแผนที่ ชื่อตามสารบัญระวางแผนที่ ขนาด
กระดาษ A1 มาตราส่วน 1 : 4,000
ตามมาตรฐานของกรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย

๑๑
ระยะ
ลําดับ ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รบั ผิดชอบ
เวลา

6.
พิมพ์แผนที่ 1 วัน พิมพ์แผนทีแ่ บบผสมบริเวณพื้นที่ ตามคุณลักษณะที่ส่วนเทคโนโลยีภูมิ นายช่างสํารวจ
โครงการ ขนาดกระดาษขนาด A1 สารสนเทศ สํานักสํารวจด้าน
วิศวกรรมและธรณีวิทยากําหนด
รูปแบบตามมาตราส่วน ขนาด
กระดาษ A1 วัดระยะ 1 ช่องกริด
มีขนาดกว้าง x ยาว เท่ากับ 5 x 5
เซนติเมตร

7. ส่งมอบแผนที่และเอกสาร 1 วัน นําส่งระวางแผนที่และเอกสารประกอบ ตามรูปแบบหนังสือราชการกําหนดมี ผู้อํานวยการ


ประกอบ ให้กับผู้ขอรับบริการ ผู้อํานาจลงนาม และดําเนินการแล้ว ส่วนเทคโนโลยี
เสร็จ ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา ภูมสิ ารสนเทศ

๑๒
6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
1. เตรียมข้อมูล เตรียมงานในสํานักงาน ใบรายการตรวจสอบใน นักวิชาการแผนที่ การกําหนดจุดควบคุม
1. เตรียมข้อมูลที่จําเป็นในการสํารวจ ขั้นตอนเตรียมข้อมูล ภาพถ่ายและนายช่าง ภาคพื้นดิน และจุด
ทําแผนที่ เช่น แผนที่ภูมิประเทศ มาตรา (Checklist) (ดูภาคผนวก สํารวจ ตรวจสอบ รวมกันอย่างน้อย
ส่วน 1 : 50,000 ชุด L7018 ของกรม หน้า 73 ) 4 สถานีต่อหนึง่ ตาราง
แผนทีท่ หารหรือภาพดาวเทียมจาก กิโลเมตร
แหล่งข้อมูลอื่นๆ กําหนดสูงบินตามสภาพ
2. เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือสํารวจทํา ภูมิประเทศและความ
แผนที่ เช่น ชุดระบบสํารวจบินถ่ายภาพ ละเอียดของจุดภาพไม่
ด้วยอากาศยานไร้นักบิน ชุดระบบสํารวจ มากกว่า 1 เมตร
จุดควบคุมภาคพื้นดิน และอุปกรณ์สํารวจ GSD = ระยะทางบนพื้นดิน
เก็บรายละเอียดชื่อนามศัพท์ (เมตร) / ระยะทางบนภาพ
3. วางแผนการบินก่อนปฏิบัติการบิน (จุดภาพ)
(Pre-Flight planning) โดยใช้ข้อมูลแผนที่ ข้อกําหนดจุดควบคุม
จากข้อ 1. พิจารณาดังนี้ ภาคพื้นดิน (GCPs)
3.1 กําหนดขอบเขตวาง 1. ในพื้นที่ 1 เที่ยวบิน
แผนการบินให้ครอบคลุมพื้นที่โครงการ ต้องมีจุดควบคุมภาคพื้นดิน
3.2 กําหนด GSD (Ground กํากับที่มุมของพื้นที่ 4 จุด
Sample Distance) ที่ต้องการ และ 2. พื้นที่การบิน (Fight
พิจารณาลักษณะความสูง-ต่ําของภูมิ Mission) ใน 1 เที่ยวบิน
ประเทศเพื่อกําหนดสูงบินที่เหมาะสมกับ หรือหลายเที่ยวบินมี
สภาพภูมิประเทศ ภาพถ่ายต่อเนื่องในแนวบิน
จํานวนมาก ควรมีจุด
ควบคุมภาคพื้นดินกํากับ
๑๓
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
3.3 กําหนดร้อยละส่วนซ้อน ทุกๆ 30 ภาพต่อ 1 จุด
(Overlap) ระหว่างภาพและร้อยละส่วน 3. กรณีมีแนวบินมากกว่า
เกย (Sidelap) ระหว่างแนวบิน 70-80% 3 แนวบิน ควรมีจุดควบคุม
3.4 กําหนดจุดขึ้น (Take-Off) ภาคพื้นดินกํากับสลับแนว
จุดลง (Landing) เบื้องต้น บินเว้นแนวบิน
3.5 จําลองการบิน (Flight 4. จุดตรวจสอบกระจาย
Simulator) ด้วยโปรแกรมควบคุมการบิน อย่างสม่ําเสมอระหว่างจุด
เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ ควบคุมภาคพื้นดินทั่ว
ให้สอดคล้องกับระยะเวลาการปฏิบัติงาน โครงการจํานวนไม่น้อยกว่า
ของ UAV เพื่อรักษาระยะควบคุมจาก จุดควบคุมภาคพื้นดินหรือ
สถานีควบคุมภาคพื้นดินให้ไม่เกินระยะ เหมาะสมกับการประเมิน
การสื่อสาร มาตรฐานความถูกต้อง
4. กําหนดตําแหน่งจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน (GCPs) ทางราบ ทางดิ่ง
(X,Y,Z) ให้กระจายครอบคลุมบริเวณพื้นที่
โครงการ และกําหนดจุดตรวจสอบ
(Check Points) (X,Y) ให้แทรกอยู่
ระหว่างจุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs)
และมีการกระจายตัวอย่างสม่ําเสมอ
ตําแหน่งจุดต้องเป็นจุดที่มองเห็นเด่นชัด
ชี้จําแนกได้ทั้งบนแผนที่ภาพถ่ายทาง
อากาศและภูมิประเทศจริง เช่น ทางแยก
ของถนน ฝาบ่อพักของท่อ จุดบนสะพาน
มุมลานคอนกรีต เครื่องหมายจราจรบนผิว

๑๔
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ถนน เป็นต้น
กรณีบนภาพถ่ายทางอากาศไม่มี
ตําแหน่งจุดที่เด่นชัด ให้กําหนดตําแหน่ง
โดยวางเครื่องหมาย (Target) ก่อนบิน
ถ่ายภาพ
5. นําเข้าข้อมูลภาพและแผนการบิน
สู่เครื่องควบคุมการบิน (Controller)
6. ตรวจเช็คตัวอากาศยานและ
อุปกรณ์ประกอบให้พร้อมใช้งาน
7. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง
ภาครัฐและเอกชนเพื่อขออนุญาตบินตาม
ความเหมาะสม

2. ปฏิบัติงานภาคสนาม ข้อควรปฏิบัติงานภาคสนาม มีดังนี้ นักวิชาการแผนที่ การสํารวจจุดควบคุม


1. สํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน ภาพถ่ายและนายช่าง ภาคพื้นดินและจุดตรวจสอบ
(GCPs) พร้อมวางเครื่องหมายให้ปรากฏ สํารวจ มีข้อควรระวังดังนี้
ชัดในภาพถ่าย (ดูภาคผนวกหน้า 36) 1. ตําแหน่งจุดต้องเป็นจุดที่
1.1 ตรวจสอบ ค้นหาหมุด มองเห็น เห็นเด่นชัด ชี้
หลักฐานถาวร เพื่อใช้เป็นหมุดออกงาน จําแนกได้ทั้งบนแผนที่
และบรรจบงาน ภาพถ่ายทางอากาศและ
1.2 สํารวจวางเครื่องหมายจุด ภูมิประเทศจริง เช่น ทาง
ควบคุมภาคพื้นดินและจุดตรวจสอบใน แยกของถนน ฝาบ่อพักของ
พื้นที่จริง โดยคํานวณกําหนดขนาดให้ ท่อ จุดบนสะพาน มุมลาน

๑๕
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ปรากฏอย่างเด่นชัดและรังวัดได้อย่าง คอนกรีต เครื่องหมาย
ละเอียดในภาพถ่ายตามตําแหน่งและ จราจรบนผิวถนน เป็นต้น
จํานวนที่ได้กําหนดในสํานักงาน กรณีบนภาพถ่ายทางอากาศ
1.3 ทําการสํารวจจุดควบคุม ไม่มีตําแหน่งจุดที่เด่นชัด ให้
ภาคพื้นดินและจุดตรวจสอบ ด้วย กําหนดตําแหน่งโดยวาง
เครื่องมือสํารวจรังวัดค่าพิกัดโดยโยงค่า เครื่องหมาย (Target) ก่อน
พิกัดและระดับความสูงจากหมุดหลักฐาน บินถ่ายภาพ
ที่ทราบค่าไปยังจุดควบคุมภาคพื้นดินหรือ 2. ระยะห่างระหว่างสถานี
เครื่องหมายที่กําหนดไว้ ฐานกับสถานีเคลื่อนที่ไม่ควร
1.4 ประมวลผลข้อมูลจากการ เกินกว่า 15 กิโลเมตร และ
สํารวจรังวัดค่าพิกัดเพื่อให้ได้ขอ้ มูลค่าพิกัด ระยะเวลารับสัญญาณ
และระดับความสูงของจุดควบคุมภาพถ่าย ดาวเทียมไม่น้อยกว่า 15
กําหนดให้เป็นระบบพิกัดกริดแบบ UTM นาที
1.5 จัดทํารูปเล่มรายงานข้อมูล แบบหมายจุดควบคุม
ที่ได้จากการสํารวจรังวัดจากภาคสนาม ภาคพื้นดิน (ดูแบบฟอร์ม
ประกอบด้วย ค่าพิกัด ระดับ และรูปถ่าย หน้า 31)
ของจุดควบคุมภาคพื้นดิน
2. สํารวจบินถ่ายภาพทางอากาศด้วย ใบรายการตรวจสอบความ ต้องตรวจสอบความ
อากาศยานไร้นกั บิน (ดูภาคผนวกหน้า 42) พร้อมของอุปกรณ์และการ พร้อมของอุปกรณ์และการ
2.1 ประเมินสภาพอากาศ เชื่อมต่อระหว่างอากาศยานกับ เชื่อมต่อระหว่างอากาศยานกับ
ทัศนวิสัย ให้เหมาะสมสําหรับการบิน สถานีควบคุมภาคพื้นดิน สถานีควบคุมภาคพื้นดินก่อน
2.2 ตรวจสอบความเหมาะสม (Checklist) (ดูภาคผนวก ทําการบินทุกครั้ง
พื้นที่จุดขึ้น (Take-Off) จุดลง (Landing) หน้า 74) ผู้ควบคุมอากาศยาน
2.3 ตรวจสอบลักษณะความสูง- ควรอยู่ ณ ตําแหน่งที่

๑๖
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ต่ําของภูมิประเทศและทิศทางลม เพื่อปรับ สามารถควบคุมการบินได้ทั้ง
แผนการบิน (Flight planning) จําลองการ โครงการ มีข้อควรระวัง
บิน (Flight Simulator) ด้วยโปรแกรม ดังนี้
ควบคุมการบินอีกครั้ง 1. ระยะเวลาการสื่อสาร
2.4 ตรวจสอบประสิทธิภาพของ ตามคุณลักษณะของอากาศ
แบตเตอรี่ให้สอดคล้องกับระยะเวลาใน ยานแต่ละรุ่น
การปฏิบัติงานของอากาศยาน สําหรับ 2. ความเร็วลมต้องอยู่ใน
รักษาระยะควบคุมจากสถานีควบคุม เกณฑ์กําหนดของอากาศ
ภาคพื้นดินให้ไม่เกินระยะการสื่อสาร ยาน
2.5 ขณะทําการบิน ผู้ควบคุม
อากาศยานต้องเฝ้าระวังในการตรวจสอบ
สถานะของอากาศยานให้อยู่ในกรอบเวลา
ที่กําหนด
2.6 เสร็จสิ้นภารกิจการบินต้อง
ตรวจสภาพทางกายภาพของอากาศยาน
2.7 ตรวจสอบความครบถ้วน
ข้อมูลที่ได้จากการบิน โดยถ่ายโอนเข้าสู่
หน่วยจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์
ประมวลผล พร้อมตรวจสอบรายการข้อมูล
จากการบิน ได้แก่ ข้อมูลภาพถ่าย ข้อมูล
จุดเปิดถ่าย
3. ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล
ดังนี้

๑๗
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
3.1 แฟ้มข้อมูลภาพถ่ายครบถ้วน
ตามแผนการบิน
3.2 แฟ้มข้อมูลจุดเปิดถ่ายครบ
ตามแผนการบิน
3.3 แฟ้มข้อมูลจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน (GCPs) และจุดตรวจสอบครบ
ตามที่กําหนด
4. สํารวจจําแนกรายละเอียดนามศัพท์ การจําแนกรายละเอียด
เช่น ชื่อหมู่บ้าน ชื่อถนน ชื่อทางน้ํา ชื่อวัด นามศัพท์มีรายละเอียด
ชื่อโรงเรียน ชื่อสถานที่สําคัญ อาคาร คุณสมบัติฐานข้อมูลแผนที่
ชลประทาน และการใช้ประโยชน์ที่ดิน แบบผสมเพื่อการ
เป็นต้น ชลประทานครบถ้วนทั่วทั้ง
4.1 คัดลอกรายละเอียดแผนที่ โครงการ
ต้นร่าง พิมพ์ระวางแผนที่หรือไฟล์ดิจิทัล
ในคอมพิวเตอร์ประมวลผล
4.2 วางแผนและเดินสํารวจ
บันทึกเก็บรายละเอียดคุณลักษณะและชื่อ
นามศัพท์บนแผนที่ต้นร่าง หรือไฟล์ดิจิทัล
อาจจะใช้วิธีจดบันทึก หรือถ่ายรูปด้วย
กล้องถ่ายภาพที่มีพิกัดติดตามบอก
ตําแหน่งในภาพให้ทั่วทั้งโครงการสํารวจ
ทําแผนที่

๑๘
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
3. ประมวลผลข้อมูล ประมวลผลข้อมูลโดยโปรแกรมเฉพาะด้าน นักวิชาการแผนที่
การสํารวจโดยอากาศยานไร้นักบินดังนี้ ภาพถ่าย
(ดูภาคผนวกหน้า 48 )
1. เตรียมโครงการและนําเข้าข้อมูล
ตามรูปแบบของเครื่องมือหรือซอฟต์แวร์
ประมวลผลข้อมูลแผนที่จากภาพถ่ายทาง
อากาศโดยอากาศยานไร้นักบิน ดังนี้
1.1 กําหนดนําเข้ารายละเอียด
คุณสมบัติโครงการ เช่น โฟลเดอร์จัดเก็บ
ในคอมพิวเตอร์ประมวลผล ชื่อโครงการ
ระบบพิกัดแผนที่ กล้องถ่ายภาพ เป็นต้น
1.2 กําหนดนําเข้าข้อมูลชื่อและ
จํานวนภาพถ่ายจากการสํารวจโดยอากาศ
ยานไร้นักบิน
1.3 กําหนดนําเข้าข้อมูลลักษณะ
การวางตําแหน่งจุดเปิดถ่ายจากเครื่องมือ
ภายนอก (Exterior Orientation) ซึ่งเป็น
ข้อมูลในการวัดตําแหน่งภาพเชิงเลขให้
เสมือนกับขณะถ่ายภาพที่ได้ตรวจวัดไว้ใน
ขณะที่บินถ่าย ภาพด้วยเซนเซอร์ใน
เครื่องมือวัด IMU และ GNSS ที่ติดตั้งไป
กับอากาศยาน
1.4 กําหนดนําเข้าข้อมูลจุด
ควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs)

๑๙
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
2. ประมวลผลรังวัดขยายจุดบังคับ รายงานผลการรังวัดคํานวณ
ภาพถ่ายแบบอัตโนมัติ (Automatic Arial พิกัดทางราบและทางดิ่ง
Triangulation) ด้วยสถานีงานประมวล ทางสถิติ RMSE
ผลด้านการรังวัดด้วยภาพดิจิทัล ดังนี้ - Relative Orientation
2.1 ประมวลผลรังวัดจุดโยงยึด RMSE
แบบอัตโนมัติ (Automatic Tie Points) ทางราบ < 1 จุดภาพ
2.2 รังวัดกําหนดตําแหน่งจุด ทางดิ่ง < 2 จุดภาพ
ควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs) เพิ่มเติมลงบน - Absolute
ภาพถ่าย เพื่อเป็นการจัดภาพสัมบูรณ์ Orientation RMSE ไม่เกิน
(Absolute Orientation) มาตรฐาน
2.3 คํานวณปรับแก้แบบบล็อก
ลําแสง (Bundle Block Adjustment)
ในลักษณะของบล๊อกจีพีเอส เพื่อ
คํานวณหาความสัมพันธ์จุดโยงยึดในแต่ละ
คู่ภาพที่มีส่วนซ้อน ส่วนเกยเชื่อมต่อกัน
เปลี่ยนค่าพิกัดจุดภาพจากค่าพิกัดศูนย์
กําเนิดของภาพแต่ละภาพเป็นพิกัดแบบ
องค์รวมของบล๊อกรังวัด และคํานวณ
เปลี่ยนพิกัดจุดโยงยึดบล๊อกรังวัดดังกล่าว
เป็นพิกัดบังคับภาพถ่ายตามระบบพิกัด
แผนที่ของจุดควบคุมภาคพื้นดิน ซึ่งผลที่
ได้ดังกล่าวเป็นพารามิเตอร์กําหนดบังคับ
ตําแหน่งการวางตัวของภาพถ่ายแต่ละ
ภาพให้มีค่ามุมการทรงตัวเช่นเดียวกับ

๒๐
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ขณะที่ทําการบันทึกภาพกลางอากาศ
3. ประมวลผลกลุ่มจุดความสูงสาม
มิติ (3D Point Cloud) แบบอัตโนมัติเพื่อ
เป็นแบบจําลองระดับพื้นผิวภูมิประเทศ
เชิงเลข (Digital Surface Model : DSM)
4. ปรับแต่งและประมวลผล
แบบจําลองระดับสูงเชิงเลข (Digital
Terrain Model : DTM) โดยคัดกรองจุด
ระดับที่มีความหนาแน่นสูง (Point Cloud
Filter) แบบ Automatic และแบบ
Manual จากข้อมูลทีแ่ ตะพื้นผิววัตถุ
(DSM) ให้เป็นกลุ่มข้อมูลที่แตะสัมผัส
พื้นผิวดิน (DTM)
5. สร้างข้อมูลของเส้นความสูงต่าง
ระดับต่อเนื่อง (Break Line) โดยดิจิไทซ์
เส้นต่อเนื่องในบริเวณที่ระดับพื้นผิวภูมิ
ประเทศมีแนวขอบต่างระดับในลักษณะ
เป็นเส้นตามแนวยาวอย่างชัดเจน เช่น
สันเขา ร่องน้ํา ตลิ่งริมน้ํา เป็นต้น
6. ประมวลผลแบบจําลองระดับสูง
เชิงเลข (Digital Elevation Model :
DEM) โดยประมวลผลเปลี่ยนแปลงข้อมูล
แบบจําลองระดับสูง DTM รวมทั้ง Break
Line ให้เป็นแบบจําลองระดับสูงเชิงเลข

๒๑
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ในรูปแบบของข้อมูลเชิงภาพ (Raster
DAM) หรือข้อมูลตารางกริดพื้นผิว
ต่อเนื่อง
7. ประมวลผลเส้นชั้นความสูง
(Contour Line) แบบอัตโนมัติโดยใช้
ฐานข้อมูลจาก Raster DEM
8. ประมวลผลภาพออร์โธ
(Orthophoto) เป็นการดัดแก้ความ
คลาดเคลื่อนทัง้ ทางราบและทางดิ่ง โดย
นําผลคํานวณการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
แบบบล็อกลําแสง (Bundle Block
Adjustment) กํากับดัดแก้ความ
คลาดเคลื่อนทางราบที่เกิดจากความเพี้ยน
ของเลนส์กล้อง (Lens Distortion) กับ
การเอนเอียงของกล้องถ่ายภาพ
(Cameras Tilt) ใช้ข้อมูลแบบจําลองความ
สูงเชิงเลข (DEM) กํากับดัดแก้ความ
คลาดเคลื่อนความสูงต่ําของภูมิประเทศ
(Relief Displacement)
9. ปรับแต่งเส้นชั้นความสูงให้
สอดคล้องสัมพันธ์กับสภาพภูมิประเทศ
ตามที่ปรากฏในภาพออร์โธ

๒๒
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
4. ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ดังนี้ นักวิชาการแผนที่ ประเมินคุณภาพข้อมูล
1. ข้อมูลภาพออร์โธ (Orthophoto) ภาพถ่าย ภาพออร์โธด้วยสายตาโดย
ต้องมีความถูกต้องโดยตรวจสอบประเมิน พิจารณาคุณลักษณะเนื้อ
ความถูกต้องของพิกัดทางราบเปรียบเทียบ ภาพ (Texture) ความเข้ม
กับจุดตรวจสอบ ตรวจสอบจุดบอดของ (Tone) ความคมชัด และ
ภาพ ความเข้มสม่ําเสมอของสีที่สมจริง ความครบถ้วนสมบูรณ์ของ
2. ข้อมูลแบบจําลองระดับความสูง ช้อมูลภาพ
เชิงเลข โดยตรวจสอบประเมินความ
ถูกต้องของพิกัดทางดิ่งเปรียบเทียบกับจุด
ตรวจสอบ
3. เส้นชั้นความสูง (Contour Line)
สอดคล้องกับลักษณะภูมิประเทศโดย
ตรวจสอบประเมินความถูกต้องของพิกัด
ทางดิ่งเปรียบเทียบกับจุดตรวจสอบ

๒๓
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
5. ประกอบระวางแผนที่ การประกอบระวางแผนที่แบบผสม รูปแบบมาตรฐานระวาง นักวิชาการแผนที่
(ดูภาคผนวกหน้า 55 ) โดยนําภาพออร์โธ แผนทีแ่ บบผสมของมาตรา ภาพถ่ายและนายช่าง
(Orthophoto) ข้อมูลเส้นชั้นความสูง ส่วนต่างๆ ของส่วน สํารวจ
และจําแนกรายละเอียดนามศัพท์ ซ้อนทับ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
กัน แล้วทําการตกแต่งข้อมูลแต่ละชั้น สํานักสํารวจด้านวิศวกรรม
ข้อมูลให้ถูกต้องและสวยงามตามหลัก และธรณีวิทยา
วิชาการเขียนแผนที่ ตามแบบมาตรฐาน ขนาดกระดาษ A1
ของส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ดังนี้ (ดูแบบฟอร์มหน้า 32)
1. จัดทําสารบัญระวางแผ่นต่อ
แผนทีม่ าตราส่วน 1 : 4,000 โดย
กําหนดขอบเขตข้อมูลแผนทีต่ ่อหนึ่งระวาง
เท่ากับ 50 x 50 เซนติเมตร บนกระดาษ
หรือ 2 x 2 ตารางกิโลเมตรในพื้นที่จริง
และกําหนดตําแหน่งขอบเขตและชื่อ
ระวางตามสารบัญมาตรฐานของกรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย
2. ประกอบรายละเอียดกรอบ
ระวางแผนที่ขนาด A1 (60 x 80
เซนติเมตร) ตามรูปแบบ (Template)
มาตรฐานระวางแผนที่แบบผสมของส่วน
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สํานักสํารวจ
ด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ดังนี้
2.1 เส้นกริดพร้อมเลขกํากับ
ตรงกับพิกัดกริดตามระบบ UTM

๒๔
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
WGS1984 ทุกๆ ระยะ 5 x 5
เซนติเมตร (200 เมตร)
2.2 ขอบด้านบนของแผนที่
กําหนดเป็นชื่อโครงการ มาตราส่วนแผนที่
เลขชื่อระวางแผนที่ เป็นต้น
2.3 ขอบระวางด้านล่าง
กําหนดหน่วยงานผู้ผลิตแผนที่ แหล่งที่มา
ของข้อมูลแผนที่และวิธีการสํารวจผลิต
แผนที่ ข้อควรระวังในการใช้แผนที่
สารบัญแผ่นต่อ ระบบพิกัดแผนที่ เป็นต้น
2.4 ประกอบรายละเอียด
ลายเส้นแผนที่ โดยมีชื่อนามศัพท์ เช่น
สถานที่สําคัญ ถนน ทางน้ํา แหล่งน้ํา
เป็นต้น มีเลขกํากับเส้นชั้นความสูง
ครอบคลุมทั้งระวาง โดยออกแบบจัดวาง
ตําแหน่งอย่างเหมาะสมสวยงาม
การตรวจสอบระวางแผนที่
1. โทนสีของภาพออร์โธให้
เสมือนจริง รายละเอียดไม่ขาดหายไป
ความคมชัดให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ
จริง
2. ขอบเขตและพื้นที่ครบถ้วน
ถูกต้องตรงตามแผนงาน
3. แผนที่ถูกต้องตามมาตราส่วน

๒๕
ระเบียบ เอกสาร บันทึก
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ผู้รบั ผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบตั ิงาน
แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
4. ระบบพิกัด ค่าระดับอ้างอิง
5. เส้นชั้นความสูงสอดคล้องกับ
สภาพภูมิประเทศ
6. เลขกํากับเส้นชั้นความสูงและ
เส้นกริด
7. ระบุนามศัพท์ถูกต้อง

6. พิมพ์แผนที่ 1. พิมพ์แผนทีบ่ นกระดาษ ขนาด A1 นายช่างสํารวจ


(ดูภาคผนวกหน้า 68 )
2. สํารองแฟ้มข้อมูลและบันทึกใน
รูปแบบไฟล์ PDF

7. ส่งมอบแผนที่และเอกสาร บันทึกข้อความ เสนอ ผส.สธ. ผ่าน บันทึกข้อความ ผู้อํานวยการส่วน ผู้ขอรับบริการต้องลงนาม


ประกอบ ผทภ.สธ. ส่งออกให้กับผู้ขอรับบริการ เทคโนโลยีภูมิ พร้อมลงวันที่ เพื่อขอรับ
เพื่อติดต่อขอรับแผนทีแ่ ละเอกสาร สารสนเทศ ข้อมูลแผนที่ภาพถ่าย
ประกอบ ณ ทีท่ ําการส่วนเทคโนโลยีภูมิ
สารสนเทศ (ดูภาคผนวกหน้า 72 )

๒๖
7. ระบบติดตามประเมินผล
ผูต้ ดิ ตาม/
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ข้อเสนอแนะ
ประเมินผล
1. เตรียมข้อมูล 1. ใบรายการตรวจสอบในขั้นตอนเตรียมข้อมูล 1. รายการตรวจสอบในขั้นตอนเตรียม นักวิชาการแผนที่
(Checklist) ข้อมูล (Checklist) ครบถ้วนทุก ภาพถ่าย
2. การกําหนดจุดควบคุมภาคพื้นดิน และจุด ขั้นตอน
ตรวจสอบ รวมกันอย่างน้อย 4 สถานีต่อหนึ่ง 2. ตําแหน่งจุดควบคุมภาคพื้นดินและ
ตารางกิโลเมตร จุดตรวจสอบมีการกระจายตัวในพื้นที่
โครงการ

2. ปฏิบัติงานภาคสนาม เกณฑ์มาตรฐานคุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง รายงานผลคํานวณการสํารวจด้วย หัวหน้าฝ่าย


2.1 สํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน รังวัดพิกัดด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม โดยใช้ เครื่องมือสํารวจรังวัดค่าพิกัดรับ วิศวกรรมและ
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Reciever) แบบ สัญญาณโดยวิธี Rapid Static หรือ พัฒนาเทคโนโลยี
Geodatic ดังนี้ Fast Static ภูมิสารสนเทศและ
1. ต้องมีช่องรับสัญญาณแบบความถี่เดียว หัวหน้าฝ่ายสํารวจ
(L1) หรือสองความถี่ (L1,L2) ทําแผนที่จาก
2. วัดเส้นฐานความยาวในแบบ Static ไม่ ภาพถ่ายที่ 1-4
มากกว่า 15 กม. ความถูกต้องของการรังวัด
ระยะเส้นฐานทางราบ +10 mm. +1 ppm.
Rms. หรือดีกว่า

2.2 สํารวจบินถ่ายภาพทางอากาศ 1. ใบรายการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์และ รายการตรวจสอบความพร้อมของ


ด้วยอากาศยานไร้นักบิน การเชือ่ มต่อระหว่างอากาศยานกับสถานีควบคุม อุปกรณ์และการเชื่อมต่อระหว่าง
2.3 ตรวจสอบความครบถ้วน ภาคพืน้ ดิน (Checklist) อากาศยานกับสถานีควบคุม
ถูกต้องของข้อมูล ภาคพื้นดิน (Checklist) และ
ข้อมูลภาพครบถ้วนถูกต้อง
๒๗
ผูต้ ดิ ตาม/
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ข้อเสนอแนะ
ประเมินผล
2.4 สํารวจจําแนกรายละเอียดนาม แบบต้นร่างแผนที่รายละเอียดนาม
ศัพท์ ศัพท์หรือไฟล์ข้อมูลเชิงเลข
รายละเอียดนามศัพท์แผนทีส่ ํารวจ
ข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง

3. ประมวลผลข้อมูล ข้อกําหนดข้อมูลของมาตราส่วนแผนที่ ความ รายงานผลการรังวัดคํานวณพิกัดทาง หัวหน้าฝ่าย


ถูกต้องเชิงตําแหน่งทางราบของข้อมูลแผนทีไ่ ม่ ราบและทางดิ่ง ทางสถิติ RMSE วิศวกรรมและ
มากกว่ากึ่งหนึ่งของขนาดเส้นปากกาเขียนแผนที่ - Relative Orientation RMSE พัฒนาเทคโนโลยี
(0.5 มิลลิเมตร) อ้างอิงมาตราส่วนแผนทีแ่ ละ ทางราบ < 1 จุดภาพ ภูมิสารสนเทศและ
ความถูกต้องเชิงตําแหน่งทางดิ่งของข้อมูลแผนที่ ทางดิ่ง < 2 จุดภาพ หัวหน้าฝ่ายสํารวจ
ไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งของช่วงชั้นความสูงที่กําหนด - Absolute Orientation RMSE ทําแผนที่จาก
หรือมาตรฐาน ASPRS Positional Accuracy ไม่เกินมาตรฐาน ภาพถ่ายที่ 1-4
Standards for Digital Geospatial Data
(EDITION 1, VERSION 1.0 NOVEMBER, 2014

4. ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล มาตรฐาน ASPRS Positional Accuracy 1. ข้อมูลภาพออร์โธมีความ หัวหน้าฝ่าย


Standards for Digital Geospatial Data ครบถ้วนถูกต้องพิกัดทางราบตาม วิศวกรรมและ
(EDITION 1, VERSION 1.0 NOVEMBER, 2014 เกณฑ์มาตรฐานมาตราส่วนแผนที่กรม พัฒนาเทคโนโลยี
ชลประทานโดยประเมินกับจุด ภูมิสารสนเทศและ
ตรวจสอบ หัวหน้าฝ่ายสํารวจ
2. ข้อมูลบอกระดับสูง (DEM, ทําแผนที่จาก
Contour line, Spot-height) มีความ ภาพถ่ายที่ 1-4
ครบถ้วนถูกต้องพิกัดทางดิ่งตามเกณฑ์

๒๘
ผูต้ ดิ ตาม/
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ข้อเสนอแนะ
ประเมินผล
มาตรฐานมาตราส่วนแผนที่กรม
ชลประทาน โดยประเมินกับจุด
ตรวจสอบ

5. ประกอบระวางแผนที่ 1. ตามรูปแบบ (Template) ระวางแผนที่ รายละเอียดข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง นักวิชาการแผนที่


ของส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ตามเกณฑ์แบบมาตรฐานแผนที่ของ ภาพถ่าย
2. ขอบเขตกรอบระวางรวมทั้งชื่อตาม ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
สารบัญระวางแผนที่ ขนาดกระดาษ A1 มาตรา
ส่วน 1 : 4,000 ตามมาตรฐานของกรมทีด่ ิน
กระทรวงมหาดไทย

6. พิมพ์แผนที่ ตามคุณลักษณะที่ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ตรวจสอบระยะกริดต้องสอดคล้องกับ นักวิชาการแผนที่


สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กําหนด มาตราส่วน ภาพถ่าย
รูปแบบตามมาตราส่วน ขนาดกระดาษ A1 วัด
ระยะ 1 ช่องกริด มีขนาดกว้าง x ยาว เท่ากับ
5 x 5 เซนติเมตร

7. ส่งมอบแผนที่และเอกสารประกอบ ตามรูปแบบหนังสือราชการกําหนดมีผู้อํานาจลง ผู้อํานวยการสํานัก


นาม และดําเนินการแล้วเสร็จ ครบถ้วน ถูกต้อง สํารวจด้าน
ทันเวลา วิศวกรรมและ
ธรณีวิทยา

๒๙
8. เอกสารอ้างอิง
8.1 ประกาศกระทรวงคมนาคม. หลักเกณฑ์การอนุญาตและเงื่อนไขการบังคับหรือปล่อยอากาศ
ยานซึ่งไม่มีนักบินประเภทอากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอก พ.ศ.2558.
8.2 พัชรินต์ พลวาปี. บทความ ประเภทของแผนที่. 20 กรกฎาคม 2556.
8.3 อาจารย์ไพศาล สันติธรรมนนท์. (2555). การรังวัดด้วยภาพดิจิทัล (Digital
Photogrammetry) {พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุงแก้ไข)}. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
8.4 ส่วนวิศวกรรม สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา. คู่มือการปฏิบัติงาน งานสํารวจวาง
หมุดหลักฐานและงานสํารวจก่อสร้างอุโมงค์ (กรกฎาคม 2560). กรุงเทพมหานคร.

9. แบบฟอร์มที่ใช้
9.1 แบบหมายจุดควบคุมภาคพื้นดิน
9.2 กรอบระวางแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

๓๐
แบบฟอร์มแบบหมายจุดควบคุมภาคพื้นดิน

แบบหมายจุดควบคุมภาคพื้นดิน
โครงการ
ชื่อจุดควบคุมภาคพืน้ ดิน :
พื้นหลักฐานอ้างอิง :
ตะวันออก (Easting) :
เหนือ (Northing) :
ระดับสูง (MSL.) :
แผนที่ภมู ิประเทศ รูปถ่ายสถานที่ตั้งจุด

ภาพถ่ายทางอากาศ หมายตําแหน่งจุด

รายละเอียดตําแหน่งจุด

ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน

๓๑
กรอบระวางแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

๓๒
ภาคผนวก

33
1) สรุปกระบวนการสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นกั บิน

34
2) การสํารวจทําแผนทีแ่ บบผสมโดยอากาศยานไร้นกั บิน

การสํารวจทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศไร้นักบินต้องปฏิบัติงานสํารวจเริ่มต้นตั้งแต่การบิน
ถ่ายภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลข และนําข้อมูลดังกล่าวมาประมวลผลให้ได้ข้อมูลภาพออร์โธ
ซึ่งเทคโนโลยีการประมวลผลจะมีลักษณะที่แตกต่างจากอากาศยานมีนักบินขนาดใหญ่ แต่มีลักษณะคล้ายคลึง
กัน วิธีการทําแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน เป็นการประยุกต์ใช้ UAV เพื่อการสํารวจและทําแผนที่
จากภาพถ่ายทางอากาศนั้น ต้องมีการบันทึกภาพในแนวดิ่งหรือเกือบดิ่ง และภาพที่ได้ต้องมีการบันทึกให้
ครอบคลุมอย่างมีระบบ ดังนั้นด้วยความสามารถ UAV หรืออากาศยานไร้นักบินที่สามารถทําการบินได้อย่าง
อัตโนมัติตามรูปแบบ แผนการบินที่วางไว้ อันเนื่องมาจากอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ที่ติดตั้งบนอากาศยานร่วมกับ
การการ ติดตั้งอุปกรณ์การสํารวจจากพวกกล้องบันทึกภาพหรือเซนเซอร์ ทําให้ข้อมูลภาพที่ได้จาก UAV มี
คุณสมบัติที่จะนํามาประมวลผลทําแผนที่ภาพถ่ายได้โดยการบินถ่ายภาพทางอากาศเพื่อทําแผนที่ทางอากาศ
ด้วย UAV แบ่งการทํางานได้ดังนี้
ภาคอากาศยาน ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1. ตัวเครื่องอากาศยาน (Platform) เป็นโครงของเครื่องบินซึ่งผลิตจากวัสดุที่น้ําหนักน้อย
และมีความแข็งแรง เช่น Kevlar EPP CFK รวมไปถึงระบบควบคุมการบิน (Auto Pilot) ระบบนําร่อง (GNSS)
ระบบรับรู้การทรงตัว IMU และแบตเตอรี่

รูปที่ 1 ตัวอย่างอากาศยานไร้นักบินและอุปกรณ์

2. กล้องและเซนเซอร์ (Camera and Sensor) คือส่วนที่ใช้บันทึกข้อมูลควรเลือกใช้กล้อง


ให้เหมาะสมกับขนาดเครื่องอากาศยาน ความละเอียดของข้อมูล เนื่องจากขนาดของกล้องจะมีผลกับน้ําหนักใน
การแบกรับของตัวอากาศยาน ในที่นี้จะเลือกใช้กล้อง Sony alpha 5100 และ Sony alpha 7R และประกอบ
ด้วยเลนส์ 2 ช่วง ความยาวโฟกัสคือ 15 มม. 25 มม.และ 35 มม.

35
รูปที่ 2 กล้องและเซนเซอร์ (Camera and Sensor)

3. สถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Station) ประจําการอยู่ที่ภาคพื้นดินเพื่อ


ตรวจสอบการทํางานและสถานะของอากาศยานในขณะปฏิบัติงานให้เป็นไปตามรูปแบบแผนการบินที่วางไว้

รูปที่ 3 สถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Station)

ปฏิบัติงานภาคสนาม
1. สํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs) และจุดตรวจสอบ Check Points มีขั้นตอนดังนี้
1.1 ตรวจสอบ ค้นหาหมุดหลักฐานถาวร เพื่อใช้เป็นค่าอ้างอิงสําหรับออกงานหรือ
บรรจบงาน โดยใช้ข้อมูลประกอบการพิจารณา คือ แบบหมายหมุดหลักฐาน (Description)

36
รูปที่ 4 แบบหมายหมุดหลักฐาน (Description)

1.2 ทําการสํารวจจุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs) และจุดตรวจสอบ Check Points


ซึ่งการสํารวจจุดทั้งสองไม่ควรอยู่ใกล้สายไฟฟ้าแรงสูง หรือสายส่งกําลังไฟฟ้า ด้วยการใช้เครื่องมือสํารวจรังวัด
ค่าพิกัดโดยโยงค่าพิกัดและระดับความสูงจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าไปยังจุดควบคุมภาคพื้นดิน และจุดตรวจ
สอบที่กําหนดไว้ สํารวจรังวัดโดยวิธีแบบสถิตชนิดเร็ว (Rapid Static หรือ Fast Static) นําเครื่องมือรังวัดไป
ตั้งรับสัญญาณบนหมุดหลักฐานถาวรที่ทราบค่าพิกัดทางราบ และค่าระดับความสูง เรียกว่า สถานีฐาน (base
receiver station) และนําอีกเครื่องหนึ่งไปตั้งบนตําแหน่งของจุดบังคับภาพถ่ายที่ต้องการทราบค่าเรียกว่า
สถานีเคลื่อนที่ (rover receiver station) เครื่องรับสัญญาณมีคุณสมบัตปิ รับเปลี่ยนเป็นสถานีฐาน หรือสถานี
เคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา ในการติดตั้งเครื่องมือรังวัดมีข้อกําหนดที่ต้องคํานึง และปฏิบัติ คือ บริเวณพืน้ ที่ติดตั้ง
เครื่องมือรังวัดต้องไม่มีสิ่งบดบังสัญญาณ ระยะห่างระหว่างสถานีฐานกับสถานีเคลื่อนที่ ไม่ควรเกินกว่า 15
กิโลเมตร และระยะเวลารับสัญญาณดาวเทียมไม่น้อยกว่า ๑๕ นาที
37
การรติดตั้งสถานีฐาน
ฐ (base reeceiver statioon) กาารติดตั้งสถานีนีเคลื่อนที่ (roover receiver station)
บนหหมุดหลักฐานถถาวร บนตํ
บ าแหน่งจุดบังคับภาพถถ่ายที่ต้องการทราบค่า

รูปที่ 5 แสดงการรติดตั้งเครื่องมืมือสํารวจรังวัดค่
ด าพิกัด

1.3 ประมวลผลข้อมูลจากการสํ
ล ารววจรังวัดค่าพิกักัดเพื่อให้ได้ขอ้อมูลค่าพิกัดแลละระดับ
ความสูงของจุ
ง ดควบคคุมภาพถ่ายกําหนดให้ า เป็นระบบพิ
ร กัด UTTM (Universsal Transverrse Mercatoor) โดยใช้
โปรแกรรมสําเร็จรูป มีขั้นตอนดังนี้
1.3.1 สร้าง Project ตังชื
ง้ ่อโครงการทีที่ทําการสํารวจ

รูปที่ 6 กาารใช้งานโปรแแกรมสําเร็จรูป
38
1.3.2 เลือก Direectory จัดเก็บข้
บ อมูลกําหนนดระบบพิกัดออ้างอิง (Coorrdinate
System
m) พื้นหลักฐานอ้างอิงเป็น WGS84 โซนน 47 หรือ 488 ค่า Geoid Model เป็น EGM 96

รูปที
ป ่ 7 การเลือก
อ Directoryy เพื่อจัดเก็บข้ขอมูล

รูปที่ 8 การกําหนดระบบบพิกัดแผนทีที่

39
1.3.3 นําเข้าไฟลล์ข้อมูลที่ได้จากการรั
า บสัญญาณจากดาว
ญ เทียม

รูปที่ 9 ไฟล์
ไ ขอ้ มูลจากกเครื่องรังวัดพิกัดรับสัญญาาณดาวเทียม

รูปที่ ๑0 แสดงไฟฟล์ข้อมูลด้วยโโปรแกรมประะมวลผล

40
1.3.4 ประมวลผลจุดควบคุค มภาคพื้นดิ น น (GCPs) โดยการระบุค่คาพิกัดและ
ค่าระดับความสู
บ งจากกระดับทะเลปปานกลางที่ถูกต้
ก อง โดยเลือกที
อ ่ Add Cooordinate ดังรูปที่ 11 และป้
แ อนค่า
พิกัด Eaasting Nortthing และค่าระดั
ร บ Heightt ที่ถูกต้อง ตาามรูปที่ 12

รูปที่ 11
1 แสดงคําสั่งการระบุค่าพิกัดและระดัับความสูง

รูปที่ 12 แสดงกาารระบุค่าพิกัด Northing Easting และค่าระดับความสูง

41
รูปที่ 133 แสดงผลการประมวลผลขข้อมูลการรังวัดภาคสนาม

2. การสํารวจจบินถ่ายภาพพ
2.1 เตรียมงานเบื
ย ้องต้น
1) กํกาหนดขอบเขขตงานบริเวณพืพื้นที่โครงการบบนแผนที่ภูมปิประเทศ มาตราส่วน
1 : 500,000 ชุด L77018 ของกรมมแผนทีท่ หาร เพื่อใช้กําหนนดขอบเขตพื้นที
น ่สํารวจ

รูปที่ 14 แสดงขอบเขตโครงการบนแผนทีภ่ มิูมปิ ระเทศ มาตราส่วน 1 : ๕0,000

42
2) เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์การบินสํารวจถ่ายภาพ

รูปที่ 15 เครื่องมือและอุปกรณ์การบินสํารวจถ่ายภาพ

3) จัดทําคําสั่งและแผนปฏิบัติงานบินสํารวจภาคสนามซึ่งจะมีหลักปฏิบัติ
เช่นเดียวกับการสํารวจจุดบังคับภาพถ่าย
2.2 สํารวจบินถ่ายภาพภาคสนาม
1) วางแผนแนวบินบนภาพถ่ายดาวเทียมจาก Google map เพื่อประกอบการ
พิจารณาสนับสนุนร่วมตัดสินใจในการวางแผนแนวบินเป็นกระบวนการที่มีความสําคัญเพื่อให้ได้พื้นที่ที่ต้องการ
ถ่ายภาพและหลีกเลี่ยงการได้ภาพที่ไม่คมชัดหรือบดบังจากสภาพแวดล้อมต่างๆ สิ่งที่ตอ้ งคํานึงอย่างยิ่งคือเรื่อง
ความปลอดภัยในทุกๆด้าน เพื่อลดความเสียหายหรืออันตรายที่จะเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ โดยมีขั้นตอนดังนี้

รูปที่ 16 กําหนดพื้นที่ทําการบินและตรวจสอบลักษณะภูมิประเทศด้วยข้อมูลภาพถ่ายจาก
Google Map ด้วยโปรแกรม Aerial Imaging
43
ก) กําหนดพื้นที่ทําการบินและตรวจสอบลักษณะภูมิประเทศเบื้องต้น อยู่ใน
พื้นที่หวงห้ามหรือไม่ พร้อมตรวจสอบสภาพพื้นที่ทั่วไปว่ามีความพร้อมหรือมีอุปสรรคต่อการบินถ่ายภาพ
ข) กําหนดสูงบินขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้งานว่ามีความต้องการความ
แยกชัดเชิงพื้นที่ (Ground sample distance : GSD) มากน้อยเพียงใดและให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ
ทั้งนี้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับเพดานบินจะส่งผลให้ค่าความแยกชัดเชิงพื้นที่เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ค) วางแผนแนวบินควรให้ตัวอากาศยานตามแนว Crosswind หรือสวน
ทิศทางลมเพื่อให้มีแรงลมช่วยยกตัวอากาศยาน และควรมีจํานวนแนวบินน้อยที่สุดเพื่อเป็นการประหยัด
พลังงานของตัวอากาศยาน

รูปที่ 17 แสดงวางแผนการบินโดยกําหนดทิศทางแนวบิน

ง) กําหนดส่วนซ้อน (Overlap) ระหว่างภาพ และส่วนเกย (Side lap)


ระหว่างแนวบิน 70-80%

44
2) ตรวจเช็คตัวอากาศยานและอุปกรณ์ประกอบให้พร้อมใช้งาน เช่น ความจุ
แบตเตอรี่ การทํางานของมอเตอร์ ความสมบูรณ์ของตัวอากาศยาน ใบพัด กล้อง และอุปกรณ์ส่งอากาศยาน
เป็นต้น
3) นําเข้าข้อมูลภาพและแผนการบินสู่เครื่องควบคุมการบิน (Controller) ข้อมูล
จากการวางแผนแนวบินนําเข้าสู่เครื่องควบคุมการบิน (Controller) และทําการเชื่อมต่อ Internet เพื่อ
Download ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมเพื่อป้องกันในพื้นที่โครงการไม่มบี ริการ Internet

รูปที่ 18 แสดงการตรวจสอบความพร้อมของอากาศยานและอุปกรณ์

รูปที่ 19 นําเข้าข้อมูลภาพและแผนการบินสูเ่ ครื่องควบคุมการบิน (Controller)

4) ประสานและขออนุญาตหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนที่รับผิดชอบ
ในพื้นที่นั้นๆ เพื่อแจ้งระยะเวลาทําการบิน ระดับความสูงบิน เพื่อความปลอดภัยของการจราจรทางอากาศ
5) ประเมินสภาพอากาศทัศนวิสัยก่อนบินถ่ายภาพสภาพภูมิประเทศพื้นทีข่ ึ้น–ลง
ของอากาศยานที่เหมาะสมและผู้ควบคุมสามารถควบคุมเครื่องบินให้อยู่ในระยะการควบคุม
45
6) กําหนดจุดขึ้น (Take-Off ) – จุดลง (Landing) เครื่องอากาศยาน ใน
โปรแกรม ควบคุมการบิน ตรวจสอบแนวบินว่าทําการบินได้ตามที่วางแผนได้หรือไม่ โดยจําลองการบิน
(Simulator) ด้วยโปรแกรม ควบคุมการบิน เพื่อตรวจสอบเวลาการบินไม่ให้เกินสมรรถนะของอากาศยาน

รูปที่ 20 กําหนดจุดขึ้น ( Take-off ) จุดลง (Landing) เครื่องอากาศยาน

7) เตรียมอุปกรณ์ฐานปล่อยอากาศยาน (Launcher facts and figures)


กําหนดทิศทางขึ้นบินให้สอดคล้องที่ตั้งไว้ในโปรแกรมควบคุมการบิน

46
รูปที่ 21 เตรียมอุปกรณ์ฐานปล่อยอากาศยาน

8) ตรวจสอบสภาพทางกายภาพและเทคนิค เตรียมความพร้อมเครื่องอากาศยาน
ก่อนบิน (Check List) ตามขัน้ ตอนของโปรแกรม เช่น ใบพัด ตัวเครื่อง แบตเตอรี่ กล้อง วิทยุติดตาม
(Tracker) หน่วยความจํา และฝาปิดล็อคอุปกรณ์ เป็นต้น ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ก่อนขึ้นบินปฏิบัติการ

รูปที่ 22 ตรวจสอบสภาพทางกายภาพของตัวอากาศยานไร้นักบิน

9) ขณะทําการบินในระบบอัตโนมัติผู้ควบคุมอากาศยานต้องเฝ้าระวังในการ
ตรวจสอบสถานะของอากาศยานให้อยู่ในระยะควบคุม
10) เสร็จสิ้นภาระกิจการบินตรวจสอบสภาพทางกายภาพของอากาศยาน และ
ถ่ายโอนข้อมูลที่ได้จากการบิน เช่น ข้อมูลภาพจากกล้องถ่ายภาพ ข้อมูลค่าพิกัดจุดเปิดถ่ายภาพและค่าการทรงตัว
ของการบินถ่ายภาพ (Exterior orientation) เป็นต้นเข้าสู่หน่วยจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ประมวลผล

47
11) ตรวจสอบข้อมูลการบินมีความครบถ้วนถูกต้อง และมีคุณภาพดีตาม
มาตรฐาน

รูปที่ 23 ลักษณะข้อมูลภาพ ข้อมูลจุดเปิดถ่ายและการทรงตัวของการถ่ายภาพ

2.3 ประมวลผลข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลข
เนื่องด้วยระบบประมวลผลข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขด้วยภาพจากอากาศยานไร้
นักบิน เป็นเทคโนโลยีใหม่ จะมีระบบการประมวลผลโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ใช้ระบบ
ประมวลผลภายใต้เครื่องหมายการค้า Trimble Business Center : TBC โดยมีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้
1) เตรียมข้อมูล เช่น ข้อมูลภาพถ่าย ข้อมูลจุดเปิดถ่ายและการทรงตัว ข้อมูลจุด
ควบคุมภาคพื้นดิน เป็นต้น
2) สร้าง Project file เพื่อกําหนดคุณลักษณะทั่วไปของโครงการผลิตข้อมูลแผน
ที่ภาพออร์โธเชิงเลข เช่น ชื่อโครงการ ระบบพิกัดแผนที่ ค่าพารามิเตอร์ของกล้องถ่ายภาพ เป็นต้น
กําหนดหน่วยการรังวัดและกําหนดระบบพิกัด

รูปที่ 24 การกําหนดหน่วยการรังวัดและกําหนดระบบพิกัด
48
3) นําเข้าข้อมูลภาพถ่าย จุดเปิดถ่าย การทรงตัวหรืออากาศยานไร้นักบินบางรุ่น
ต้องใช้ข้อมูลตําแหน่งภาพจาก GNSS บนเครื่องกับข้อมูล GNSS Base Station (นามสกุล .jxl, .T04, .T02)
เข้าสู่กระบวนการผลิตภาพออร์โธเชิงเลขจากอากาศยานไร้นักบิน และนําเข้าข้อมูลจุดควบคุมภาคพื้นดิน
(Ground Control Points : GCPs) นามสกุล .csv โดยเลือก Import

รูปที่ 25 การนําเข้าข้อมูลภาพถ่าย จุดเปิดถ่ายและการทรงตัว

4) ประมวลผลปรับแก้ขยายจุดบังคับภาพถ่ายแบบอัตโนมัติในลักษณะของ
บล็อกการบินแบบ GPS โดยใช้คําสั่ง Adjust Photo Station ซึ่งจะเป็นหลักการที่ใกล้เคียงกับการจัดภาพ
สัมพัทธ์ การจัดภาพสมบูรณ์ ของระบบอากาศยานมีนักบินขนาดใหญ่ ซึ่งต้องกําหนดรังวัดตําแหน่งจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน (GCPs) ลงบนบล็อกการบินถ่ายภาพเพื่อเพิ่มความถูกต้องแม่นยําของตําแหน่งการทรงตัวของภาพ

49
รูปที่ 26 แสดงการการรังวัดจุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCPs)

รูปที่ 27 แสดงวิธีการประมวลผล Adjust Photo Station

5) ประมวลผลจุดระดับภูมิประเทศความหนาแน่นสูง (Points cloud) โดยใช้


ชุดคําสั่ง Create Points Cloud ซึ่งเป็นการดําเนินงานแบบอัตโนมัติ ต่อจากนั้นทําการปรับแต่งกรองข้อมูล
จุดระดับภูมิประเทศความหนาแน่นสูง (Points cloud) ให้อยู่ในรูปข้อมูลจุดระดับความสูงที่พื้นดิน ซึ่งโปรแกรม
ไม่สามารถประมวลผลจุดระดับภูมิประเทศความหนาแน่นสูง (Points cloud) ที่พื้นดินได้โดยตรง จึง
จําเป็นต้องมีการปรับแต่งกรองข้อมูลบางจุดที่ไม่ได้อยู่บนพื้นดินเช่น พื้นที่ป่า พื้นที่ชุมชน สิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น
50
โดยปรับแต่งกรองข้อมูลให้ใกล้เคียงพื้นดินมากที่สุด โดยใช้โปรแกรม Global Mapper ซึ่งจะนําข้อมูลมา
ประมวลผล แบบจําลองความสูงเชิงเลข Digital Elevation Model (DEM) ต่อไป

รูปที่ 28 ตัวอย่างข้อมูล Points cloud ก่อนทําการปรับแต่งกรองข้อมูล

รูปที่ 29 ตัวอย่างข้อมูล Point cloud หลังทําการปรับแต่งกรองข้อมูล

51
6) ประมวลผลแบบจําลองระดับสูงเชิงเลข (DEM) โดยใช้ชุดคําสั่ง Create DSM
ซึ่งเป็นการดําเนินงานแบบอัตโนมัติเพื่อนําข้อมูลดังกล่าวไปกํากับความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากความสูง
ของภูมิประเทศ (Relief displacement) ในขั้นตอนของการประมวลผลภาพออร์โธเชิงเลขต่อไป

รูปที่ 30 ตัวอย่างข้อมูลระดับสูงเชิงเลข (DEM)

7) ประมวลผลภาพต่อจากภาพออร์โธโมเสค (Ortho Mosaic) เป็นการประมวล


ผลดัดแก้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศให้มีความถูกต้องเชิงตําแหน่งตามระบบพิกัดและมาตรฐานแผนที่โดยใช้ข้อมูล
จากการขยายจุดบังคับภาพถ่ายและ DEM บังคับดัดแก้ความคลาดเคลื่อนตลอดจนตัดต่อให้เป็นผืนเดียวกันโดย
อัตโนมัติโดยกําหนดคุณสมบัติให้ภาพตัดต่อทุกภาพมีลักษณะกลมกลืนประสานกันอย่างสวยงามในทิศทาง
เดียวกัน เช่น ความเข้มของแสง รอยต่อระหว่างภาพที่เป็นเนื้อเดียวกันเป็นต้น โดยใช้โปรแกรมหรือชุดคําสั่ง
Create Ortho mosaic ต้องกําหนดคุณลักษณะของภาพกํากับด้วย เช่น ความละเอียดจุดภาพ (Resolution)
ระบุรูปแบบข้อมูล (File format) เช่น .tif หรือ .tif JPEG compression เป็นต้น

52
รูปที่ 31 ตัวอย่างภาพออร์โธโมเสค

3. การประมวลผลเส้นชั้นความสูง (Contour Lines) โดยใช้โปรแกรม Global Mapper


3.1 เปิดโปรแกรม Global Mapper

รูปที่ 32 ตัวอย่างหน้าต่างโปรแกรม Global Mapper

53
3.2 เปิดข้อมูลระดับสูงเชิงเลข (DEM) เพื่อทําการประมวลผลเส้นชั้นความสูง
(Contour Lines)

รูปที่ 33 การประมวลผลเส้นชั้นความสูง (Contour Lines)

3.3 บันทึกข้อมูลเส้นชั้นความสูง (Contour Lines) ให้อยูใ่ นรูปแบบของ CAD เช่น


.DWG .DXF

รูปที่ 34 การบันทึกข้อมูลเส้นชั้นความสูง (Contour Lines)


54
3.4 ปรับแต่งรายละเอียดทางดิ่ง เช่น เส้นชั้นความสูง เลขกํากับเส้นชั้นความสูง และ
จุดระดับความสูง (Spot Heights) ให้มีความถูกต้องสวยงาม ด้วยโปรแกรม AutoCAD

ก่อน

หลัง Depression contour

รูปที่ 35 ตัวอย่างการปรับแต่งรายละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines)

4. การประกอบระวางและพิมพ์แผนทีแ่ บบผสม มาตราส่วน 1 : 4,000


ด้วยความไม่สะดวกที่จะนําข้อมูลแผนที่เชิงเลขไปใช้งานในทุกๆ พื้นที่ รวมทั้งความคุ้นเคย
ของผู้ใช้งานแผนที่แบบกระดาษและไม่ถนัดที่จะใช้งานซอฟแวร์ด้านแผนที่เชิงเลข ดังนั้น ก่อนนําเสนอต่อ
ผู้ใช้งานที่ไม่มีความชํานาญทางด้านคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์ภูมิสารสนเทศ จําเป็นต้องดําเนินการประกอบ
ระวางแผนที่ให้มีองค์ประกอบของแผนที่ที่ครบถ้วนตามแบบมาตรฐานและพิมพ์ลงบนกระดาษ ส่วนเทคโนโลยี
ภูมิสารสนเทศ สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยาใช้ โปรแกรม AutoCAD (Autodesk Land Desktop)
ประกอบระวางแผนที่แบบผสม ตามรูปแบบมาตรฐานมาตราส่วน 1 : 4,000 ขนาดกระดาษ A1 แต่ละระวาง
วางครอบคลุมพื้นที่ขนาด 2 x 2 ตารางกิโลเมตรและจัดทํารายละเอียดประจําขอบระวางพร้อมทั้งสารบัญแผนที่
และกําหนดชื่อตามแบบมาตรฐานของกรมที่ดินการดําเนินงานมีขั้นตอนตามลําดับดังนี้
4.1 จัดทําสารบัญภาพถ่าย (Photo Index)
นํ า ขอบเขตพื้ น ที่ โ ครงการมาจั ด ทํ า สารบั ญ ภาพ เพื่ อ กํ า หนดตํ า แหน่ ง ภาพ
หมายเลขประจําระวางใส่เส้นกริด และเลขบอกค่าพิกัดกริดโดยการนําเข้าไฟล์ข้อมูลขอบเขตพื้นที่โครงการเข้า
แล้วนํา Index มาตราส่วน 1 : 4,000 ของกรมที่ดินที่มีหมายเลขระวาง มาซ้อนทับ กําหนดหมายเลขระวาง
ให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่โครงการ กําหนดตําแหน่งของภาพและจํานวนระวางทั้งหมด

55
1) นําเข้า file ข้อมูลขอบเขตพื้นที่โครงการ ทํากริดเพื่อประกอบระวาง

2) ใส่เส้นพิกัดและเลขกํากับกริดโดยไปที่เมนูบาร์เลือกคําสั่ง Tools เลือก load


Applicaion

56
ตรงคําสั่ง Command: พิมพ์ คําว่า gridit

57
3) ก่อนที่ใส่เส้นพิกัดและเลขกํากับกริดจะต้องกําหนด Text Style ก่อน โดยไปที่
เมนูบาร์ ตรงคําสั่ง Format เลือก Text Style เลือกใช้ Font – rid_te1.shx

58
วางเมาส์คลุมจากมุมด้างล่างซ้าย
ไปยังมุมบนขวา

ตรงคําสั่ง Command : พิมพ์กําหนด


ความห่างระวางเส้นกริดเท่ากับ 200
กด enter (ขึ้นอยู่กับมาตราส่วน
แผนทีท่ ี่ต้องการ)

ตรงคําสั่ง Command : เลือก L (Lines) กด enter

59
4) นําเส้นพิกัดและเลขกํากับกริดที่ได้นําไปกําหนดหมายเลขระวางและหมายเลขภาพ

เลขกํากับกริด

เส้นพิกดั กริด

60
รูปที่ 36 ตัวอย่างสารบัญภาพถ่าย (Photo Index)

4.2 ประกอบกรอบระวางแผนที่แบบผสม
ประกอบรูปแบบกรอบระวางแผนที่แบบผสมให้ตรงตามมาตรฐาน 1 : 4,000
โดยทําการแก้ไขรายละเอียด เช่น ชื่อโครงการ จังหวัดหมายเลขระวาง 1 : 50,000 ของกรมแผนทีท่ หาร
หมายเลขระวาง ลําดับหมายเลขระวาง พร้อมทั้งจํานวนระวางทั้งหมด สารบัญภาพถ่าย สารบัญแผ่นต่อ ความ
คมชัดของภาพ วันบันทึกภาพ โดยการ copy กรอบระวางทีแ่ ก้ไขแล้วมาวาง ณ ตําแหน่งของแผ่นระวาง ทําการ
ตัดข้อมูลทีละระวาง ใส่เลขกํากับกริดให้ครบทุกด้าน

61
หมายเลลขระวางของกรรมแผนที่ทหาร

หมายเเลขระวาง/จํานวนระวาง

สารบัญภาพพถ่าย
สารรบัญแผ่นต่อ
รูปที่ 37 แสดงตัวอย่
ว างกรอบรระวางมาตรฐาาน ( A1)

นํากรอบระวางที
ก ่แก้
แ ไขรายละเอีอียดแล้วมาวาาง ณ ตําแหน่งของแผ่นระววาง ทําการ
ตัดข้อมูลทีละระวาง ใส่เลขกํากับเส้
เ นกริดให้ครบทุกด้านจัดเก็บที่ละระวางง เช่น sheet001, sheet022 …….

62
รูปที่ 38 ตัวอย่างกรอบระวางที่แก้ไขรายละเอียดขอบระวาง
63
4.3 ตัดระวางข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขและละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines)
โดยใช้โปรแกรม AutoCAD ตัดข้อมูลละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines)
ส่วนการตัดข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขนั้นจําเป็นต้องหาซอฟแวร์อื่นๆ ดําเนินการในขั้นตอนดังกล่าวนี้ ซึ่งในที่นี้ได้
กําหนดใช้โปรแกรม Global Mapper โดยมีลําดับขั้นตอนดังนี้
1) เปิดโปรแกรม Global Mapper

รูปที่ 39 การเปิดโปรแกรม Global Mapper

2) เปิดข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขที่จะทําการตัดพร้อมกับขอบระวางสารบัญ
ภาพถ่าย (Photo Index) เริ่มทําการตัดภาพทีละระวาง ไปที่แถบเมนู หรือปุ่ม
สัญลักษณ์ นําไปเลือกภาพที่จะทําการตัดบนสารบัญภาพถ่าย (Photo Index) ทําการบันทํา
ข้อมูล ที่แถบเมนู File Export Export Raster/Image Format

รูปที่ 40 การตัดข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขด้วยโปรแกรม Global Mapper

64
จะปรากฏไดอาลอกให้เลือกรูปแบบไฟล์ที่จะบันทึกข้อมูล ในที่นี้จะเลือกเป็น
GeoTIFF กด OK จะปรากฏหน้าต่าง GeoTIFF Export Options เลือกตามรูป เลือกที่แถบเมนู Export
Bounds เลือก กด OK

รูปที่ 41 การตัดข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขด้วยโปรแกรม Global Mapper (ต่อ)

จะปรากฏไดอาลอก Save As ให้ตั้งชื่อแฟ้มภาพแล้วกด Save ทําลักษณะนี้ทุก


ระวางไปจนครบทั้งโครงการ

รูปที่ 42 การตัดข้อมูลภาพออร์โธเชิงเลขด้วยโปรแกรม Global Mapper

65
3) การตัดข้อมูลละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines) โดยใช้โปรแกรม
AutoCAD ด้วยคําสั่ง Trim กับข้อมูลสารบัญภาพถ่าย (Photo Index) แต่ละระวาง

รูปที่ 43 การตัดข้อมูลละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines) ด้วยโปรแกรม AutoCAD

4) เปิดโปรแกรม AutoCAD (Autodesk Land Desktop) นําเข้าแฟ้มกรอบ


ระวางที่ได้จัดทําแล้วขึ้นมาร่วมกับข้อมูลละเอียดเส้นชั้นความสูง (Contour Lines) นําเข้าแฟ้มภาพ
ออร์โธเชิงเลขที่ตัดด้วยโปรแกรม Global Mapper โดยไปที่แถบเมนูบาร์
เลือก MAP Image Insert

รูปที่ 44 การประกอบระวางแผนที่แบบผสม

66
4.4 ตรวจสอบระวางแผนที่แบบผสม
ตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่แบบผสม เป็นไปตามมาตรฐานงานระวางแผนที่
มาตราส่วน 1 : 4,000 ของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา และตรวจสอบความผิดพลาดในการประกอบ
ระวางแผนที่ทกุ ๆ ระวาง โดยมีรายละเอียดที่ต้องตรวจสอบดังนี้
1) ตรวจสอบตําแหน่งของภาพออร์โธว่าถูกต้องตามค่าพิกัดหรือไม่
2) ตรวจสอบรอยต่อระหว่างภาพซึ่งจะต้องต่อกันสนิทตรงตามค่าพิกัด
3) ตรวจสอบ หมายเลขระวาง สารบัญภาพถ่าย สารบัญแผ่นต่อ ถูกต้องหรือไม่

ระวางที่  (10/16)
เลขระวาง/จํานวนรวมของแต่ ละโครงการ

รูปที่ 45 การตรวจสอบระวางแผนที่แบบผสม

67
4.5 พิมพ์แผนที่แบบผสม
พิมพ์ข้อมูลแผนที่ ลงบนกระดาษเคลือบมัน (Glossy) ด้วยเครื่องพิมพ์ภาพ (Plotter)
เป็นแผนที่กระดาษ (Hard copy) ด้วยโปแกรม AutoCAD พร้อมบันทึกไฟล์ข้อมูลดิจิตอล (File.dwg) และ
(File.pdf) ลงบนสื่อคอมพิวเตอร์ (CD) ส่งให้ผู้ใช้งานขั้นตอนการพิมพ์
1) เปิดโปรแกรม AutoCAD (Autodesk Land Desktop) นําเข้าข้อมูลแผนที่
2) แถบเมนู File Plot

รูปที่ 46 การพิมพ์แผนทีแ่ บบผสม

3) ตั้งค่าเครื่องพิมพ์ ที่ Plot Device เลือกเครื่องวาดภาพ (Plotter) และ


เลือก Plot style ที่ Plot Settings ตั้งขนาดกระดาษเป็น A1
เลือกรูปแบบกระดาษเป็นแนวตั้ง ตั้งค่าหน่วยเป็นมิลลิเมตร
เลือก Plot scale ตามมาตราส่วนที่ต้องการ
เลือก Center plot
เลือก Window ลากเมาส์คลุมทั้งภาพ
เลือก Full Preview ดูภาพรวมของแผนที่
เลือก OK ภาพจะถูกส่งออกทางเครื่องวาดภาพ

68
4)

รูปที่ 47 การพิมพ์แผนทีแ่ บบผสม (ต่อ)

4) บันทึกแฟ้มข้อมูลแผนที่แบบผสมในรูปแบบ File .pdf ขั้นตอนเช่นเดียวกับ


พิมพ์แผนที่เพียงแต่เลือก Plot Device เป็น Adobe แล้วบันทึกแฟ้มข้อมูล File .pdf (เครื่อง PC ต้องมี
โปรแกรม Acrobat 9 ขึ้นไป)

รูปที่ 48 การบันทึกแฟ้มข้อมูลแผนที่แบบผสมในรูปแบบ File .pdf


69
3) ตัวอย่างแบบฟอร์มแบบหมายจุดควบคุมภาคพืน้ ดิน

แบบหมายจุดควบคุมภาคพื้นดิน
โครงการก่อสร้างประตูระบายน้ําวังชัน ตําบลสัมพันธ์ อําเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี
ชื่อจุดควบคุมภาคพืน้ ดิน : GCP 07
พื้นหลักฐานอ้างอิง : WGS84 Zone 47
ตะวันออก (Easting) : 764,511.452
เหนือ (Northing) : 1,547,265.953
ระดับสูง (MSL.) : 5.33 เมตร
แผนทีภ่ ูมิประเทศ รูปถ่ายสถานที่ตั้งจุด

GCP 07

ภาพถ่ายทางอากาศ หมายตําแหน่งจุด

รายละเอียดตําแหน่งจุด จุด GCP 07 อยู่บริเวณสะพานข้ามคลองชลประทาน จากสีแ่ ยกถนน


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3069 ไปทางทิศใต้ประมาณ 600 เมตร

ส่วนเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน

70
4) ตัวอย่างกรอบระวางแผนที่แบบผสมโดยอากาศยานไร้นักบิน

71
5) ตัวอย่างบันทึกข้อความส่งมอบแผนทีแ่ ละเอกสารประกอบ

72
6)ใบรายการตรวจสอบในขั้นตอนเตรียมข้อมูล

73
7) ใบรายการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์และการเชื่อมต่อระหว่างอากาศยานกับสถานีควบคุมภาคพืน้ ดิน

74
75
8) มาตรฐาน ASPRS Positional Accuracy Standards for Digital Geospatial Data

76
77
78
79
80
81
10) คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานย่อยการจัดทําคู่มือแนวปฏิบตั ิงานของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและ
ธรณีวทิ ยา

82
83
84
85
86
87

You might also like