You are on page 1of 70

เอกสารประกอบหลักฐานหมวดที่ 5 ตัวชี้วัด 5.1 – 5.1.

1
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสานักงาน
ส ำนั ก วิ ท ยบริ ก ำรและเทคโนโลยี ส ำรสนเทศ ได้ ด ำเนิ น กำรเพื่ อ ควบคุ ม มลพิ ษ ทำงอำกำศ
ในสำนักงำน ดังนี้
5.1.1(1) มีการจัดทาแผนการดูแลรักษาและควบคุมมลพิษทางอากาศในสานักวิทยบริการ
และเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี 2564
5.1.1(2) มีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลรักษาและควบคุมมลพิษ
ทางอากาศในสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี 2564
5.1.1 (3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กาหนดในข้อที่ (1)
สำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้ดำเนินกิจกรรมกำรดูแลรักษำและควบคุมมลพิษ
ทำงอำกำศภำยในสำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ดังนี้
1. เครื่องปรับอากาศ
สำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ มีเครื่องปรับอำกำศแบบท่อรวม 1 เครื่อง และ
เครื่ อ งปรั บ อำกำศแบบตั้ ง พื้ น จ ำนวน 10 เครื่ อ ง เครื่ อ งปรั บ อำกำศแบบแขวน จ ำนวน 4 เครื่ อ ง ซึ่ ง เป็ น
บริษัทเอกชนผู้รับเหมำเข้ำมำล้ำงแอร์ และมอบหมำยผู้ปฏิบัติงำนในสำนักงำนผูอ้ ำนวยกำรดูแล
แบบฟอร์มตรวจเช็คเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน
ภาพถ่ายเครื่องปรับอากาศ
เครื่องปรับอากาศแบบแขวน
เครื่องปรับอากาศแบบตั้งพื้น
เครื่องปรับอากาศแบบท่อ
ภาพถ่ายการบารุงรักษา ซ่อมแซมเครือ่ งปรับอากาศแบบแขวน
ภาพถ่ายการบารุงรักษา ซ่อมแซมเครือ่ งปรับอากาศแบบตั้งพื้น
การบารุงรักษา ซ่อมแซมเครื่องปรับอากาศแบบท่อ

(เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่)
โครงการสนับสนุนและการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

รายงานผลการดาเนินโครงการ

การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศภายในอาคารของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสเทศ

เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

คณะทางาน

สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงการตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


สารบัญ

เรื่อง หน้า
ส่วนที่ 1 รายละเอียดการดาเนินโครงการ ( โครงการหลัก) PMU 3
1.1 ชื่อโครงการหลัก 3
1.2 ผู้รับผิดชอบ 3
1.3 สภาพปัญหาที่ต้องดาเนินโครงการ 3
1.4 หลักการและเหตุผล 3
1.5 วัตถุประสงค์ 4
1.6 เป้าหมาย 4
1.7 วิธีการดาเนินการ 5
1.8 ระยะเวลาดาเนินการ 16
1.9 สถานที่ดาเนินการ 16
1.10 งบประมาณในการดาเนินการ 16
1.11 ผลการดาเนินโครงการ 16
1.12 ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 17
สาหรับ PMU

รายละเอียดผลการดาเนินโครงการสนับสนุนและการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. ชื่อโครงการหลัก : การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศภายในอาคารของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสเทศเพื่อป้องกัน
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2. ผู้รับผิดชอบ : สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. สภาพปัญหาที่ต้องดาเนินโครงการ :

ภายหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตั้งแต่ปี 2563 และทวีความรุนแรงต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน


ส่งผลต่อการใช้ชีวิตของผู้คนในทุกสาขาอาชีพ แม้แต่สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เป็นหน่วยงานสนับสนุนการให้บริการ
ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทั้งในด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการบริหารจัดการ
และสิ่งที่สานักวิทยบริการตระหนักอยู่เสมอคือการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้เหมาะสมต่อการเรียนรู้

อาคารสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ลักษณะเป็นอาคารปิด ติดเครื่องปรับอากาศ แบบท่อ


รวมทั้งอาคาร ครอบคลุมพื้นที่กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่การให้บริการ ซึ่งที่ผ่านมาได้ทาการล้างแอร์และระบบท่อไปเพียง 1 ครั้ง ตั้งแต่
เปิดให้บริการมา คือในปีงบประมาณ 2561 ซึ่ง ตามหลักการแล้วเครื่องปรับอากาศควรมีการบารุงดูแลรักษา อาทิ ล้างทาความสะอาด
cooling tower อย่างสม่าเสมอ 2 เดือน/ครั้ง ทั้งนี้ระยะเวลาอาจน้อยกว่าหรือมากกว่านี้ ขึ้นอยู่กับการใช้งาน สภาพแวดล้อมในที่ที่ติดตั้ง
เครื่องปรับอากาศ ซึ่งหากมีการบารุงรักษาอย่างดีจะช่วยยืดอายุการใช้งาน และช่วยประหยัดไฟ ทาให้ เครื่องปรับอากาศทางานดีขึ้น ลด
อุณหภูมิได้มากขึ้น และอากาศบริสุทธิ์ ลดเชื้อโรคในอากาศเพื่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการในพื้นที่

4. หลักการและเหตุผล :

นั บ ตั้ ง แต่ ต้ น ปี 2563 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ที่ ป ระเทศไทยประสบกั บ ปั ญ หาการแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019
(COVID-19) และมีความรุนแรงของโรคเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบทั่วโลกทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สานักวิทยบริการและ
เทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น หน่ ว ยงานให้ บ ริ ก ารสารสนเทศแก่ อ าจารย์ นั ก ศึ ก ษา บุ ค ลากรผู้ ป ฏิ บั ติ งาน และผู้ ใช้ บ ริ ก ารภายนอก
ที่ มี จ านวนการเข้ า มาใช้ บ ริก ารเป็ น จ านวนมากในแต่ ล ะปี ซึ่ งที่ ผ่ า นมาส านั ก วิ ท ยบริ ก ารและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ได้ มี ม าตรการ
และการดาเนินการเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนี้
1. ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิอัตโนมัติบริเวณทางเข้าประตูอัตโนมัติ (ประตูปีกนก) ชั้น 2

2. จัดทาและติดตั้งฉากพลาสติกใสเพื่อป้องกัน เชื้อโรคตามจุดให้บริการทุกชั้น ประกอบด้วย ชั้น 2 จุดให้บริ การต้อนรับ ยืมคืน


และสืบค้นข้อมูล (คอมพิวเตอร์) ชั้น 3 จุดบริการห้องระดมสมอง (discussion room) ชั้น 4 จุดให้บริการสื่อโสตทัศน์

3. ติดตั้งเจลล้างมือแบบเท้าเหยียบและแบบมือกดชั้น 1-4

4. จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์แจ้งให้ผู้ใช้บริการรับทราบ

5. จัดทาตารางตรวจสอบการทาความสะอาดของเจ้าหน้าที่ทาความสะอาด

6. กาชับให้ผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการสวมหน้ากากอนามัย

7. แนะน าให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารยื ม ผ่ า นตู้ ยื ม อั ต โนมั ติ แ ละคื น ผ่ า นตู้ คื น อั ต โนมั ติ เพื่ อ ลดการสั ม ผั ส และลดการแพร่ ก ระจาย
ของเชื้อโรค

8. จัดทาตู้อบฆ่าเชื้อหนังสือเพื่อนาหนังสือที่ผู้ใช้บริการนามาคืนฆ่าเชื้อก่อนนาขึ้นชั้นให้บริการ

9. ดาเนินโครงการห้องสมุดสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม กิจกรรม Big Cleaning day และกิจกรรม Big Cleaning week

10. จัดทาระบบยืมหนังสือผ่านไลน์ (LINE Chatbot PSRU-LIB) สาหรับให้ผู้ใช้บริการยืมหนังสือ โดยบรรณารักษ์ผู้รับผิดชอบจะทา


การค้นหาหนังสือตามรายชื่อหนังสือที่ผู้ใช้บริการได้เลือกไว้ในระบบและทาการยืมพร้อมทั้งแจ้งวันที่และเวลาให้มารับหนังสือ

11. การจากัดจานวนผู้ใช้บริการไม่ให้เกิน 500 คนต่อวัน ในช่วงที่มีการระบาดอย่างรุนแรงในจังหวัดพิษณุโลก

12. กากับ ติดตาม ให้บุคลากรของสานักวิทยบริการฯ ปฏิบัติตามคาสั่งมาตรการป้องกันการแพร่โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019


(COVID-19) ของจังหวัดพิษณุโลกและของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด

ระบบปรับอากาศของอาคารสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแบบรวมศูนย์ (Central Air-conditioning System) โดย


ใช้เครื่องทาน้าเย็น (Chiller) เป็นแบบระบายความร้อนด้วยน้า ซึ่งต้องใช้ทีมช่างผู้เชี่ยวชาญในการดูแลและซ่อมบารุงอีกทั้งต้องมีการ
ดาเนินการอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอและมีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการค่อนข้างสูง การปรับปรุงระบบระบายอากาศภายในอาคารหรือสถานที่
นั้ น ๆ ให้ ดี ขึ้ น จ ะ ช่ ว ย ล ด ค ว า ม เข้ ม ข้ น ข อ ง เชื้ อ โ ร ค ที่ อ ยู่ ใน อ า ก า ศ แ ล ะ ล ด ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ข อ ง ล ะ อ อ ง
ที่ปนเปื้อนเชื้อโรคในอากาศ จากข้อมูลที่ผ่านมาพบว่ามีผู้ติดเชื้อที่เชื่อมโยงกับสถานที่หรืออยู่ในพื้นที่ที่เป็นอาคารปิด มีการระบายอากาศ
ไม่เหมาะสม มีความแออัด ระยะเวลาอยู่ในสถานที่นั้นเป็นเวลานานและไม่มีการป้องกันส่วนบุคคล จึงมีคาแนะนาให้เจ้าของอาคารหรือ
สถานที่ได้จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีซึ่งหมายถึงการนาอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกเข้ามาเติมในอาคารที่มีผู้อยู่อาศัยในปริมาณที่เพียงพอ
และมีการระบายอากาศเสียออกไปทิ้งเพื่อเจือจางมลพิษและควบคุมคุณภาพอากาศภายในอาคารให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข , 2564 : ออนไลน์)
5. วัตถุประสงค์ :
5.1 เพื่ อ ท าความสะอาดระบบปรั บ อากาศแบบรวมศู น ย์ (Central Air-conditioning System) ลดการสะสมของเชื้ อ โรค
ซึ่งจะช่วยลดการแพร่กระจายของละอองที่ปนเปื้อนเชื้อโรคในอากาศ
5.2 เพื่อสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัยให้กับผู้ปฏิบัติงานภายในอาคารและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้รับบริการ

6. เป้าหมาย

บุคลากรภายใน :
บุคลากรสายวิชาการ 1,000 คน
บุคลากรสายสนับสนุน 1,000 คน
นักศึกษา 10,000 คน
บุคลากรภายนอก :
ประชาชนทั่วไป/นักเรียน 500 คน

7. วิธีการดาเนินการ

ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า


การตรวจเช็คและล้างเครื่องปรับอากาศ ควบคุมกระบวนการทางาน ตรวจประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ
ชิลเลอร์ ประกอบด้วย ของช่าง และกาหนดบุคลากร การดาเนินงาน โดย
- ล้าง condenser และเปลี่ยนถ่าย ของสานักวิทยบริการฯ ในการควบคุม - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศภายใน
น้ามัน Compressor กากับ และดูแล อาคารของสานักวิทยบริการและ
- เติม Compressor Oil เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยตรวจหา
- เปลี่ยน Filler Oli ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อน
- ล้าง Condensor ด้วยน้ายาเคมี - ประเมินความพึงพอใจและความมั่นใจ
- ล้าง AHU เครื่องปรับอากาศชิลเลอร์ ต่อคุณภาพอากาศภายในอาคารของ
- ล้าง Cooling Tower สานักฯ
ก่อนดาเนินการ

เครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง และ Cooling Tower 3 เครื่อง


ระหว่างดาเนินการ

ล้างทาความสะอาด AHU ระบบเครื่องทาความเย็นชั้น 1- 4 พร้อมเปลี่ยนแผนฟิลเตอร์กรองอากาศตาม ชั้น 1- 4

จานวน 12 เครื่อง 96 ชุด และล้าง AHU ที่อยู่บนฝ่าเพดานแยกตามห้องต่างๆ ด้วยแรงดันน้าสูง


ล้าง AHU ที่หน้าเครื่องด้วยเครื่องปั่นแส้ ล้างท่อน้า
ล้าง Cooling Tower 3 เครื่องบนชัน้ 5 และท่อ Balance น้า
วัสดุสิ้นเปลือง เช่น น้ามันคอมเพรสเซอร์ 4 ตัว 4 ถัง , น้ายา R134a, กรองน้ามัน , สารเคมีไว้ล้าง AHU, และอื่นๆ
การตรวจวัดการปนเปื้อนของจุลนิ ทรียภ์ ายในอาคาร (ก่อนการล้าง)
ดาเนินการแล้วเสร็จ
การตรวจวัดการปนเปื้อนของจุลนิ ทรียภ์ ายในอาคาร (หลังการล้าง)

8. ระยะเวลาดาเนินการ 23 สิงหาคม – 10 สิงหาคม 2564

9. สถานที่ดาเนินการ

ชื่อสถานที่จัดกิจกรรม : สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ตาบล : พลายชุมพล

อาเภอ : เมือง

จังหวัด : พิษณุโลก

10. งบประมาณในการดาเนินการ 469,336 บาท

11. ผลการดาเนินโครงการ :

11.1 ประเมินความสาเร็จของโครงการ โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะได้รับของโครงการกับผลงานที่


เกิดขึ้นจริง

: คุณภาพอากาศภายสานักวิทบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในระดับที่ดี ช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019 (COVID-19)

: สร้างความเชือ่ มั่นให้กับผู้ปฏิบัตงิ านและผูร้ ับบริการต่อคุณภาพอากาศภายในสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ


11.2 โครงการนี้มีการบูรณาการกับ
1. การบูรณาการภายใน
- หน่วยงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
- วัตถุประสงค์ให้ระบุตามที่กาหนดไว้ในโครงการความร่วมมือ ช่วยตรวจวิเคราะห์คณ
ุ ภาพอากาศ ในด้าน
จุลชีววิทยา
11.3 โครงการนี้มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน

- การบูรณาการกับการเรียนการสอนกับนักศึกษา รายวิชาจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม โดย อาจารย์ผู้สอนใช้เป็น


กรณีศึกษาให้กับนักศึกษาที่เรียนในรายวิชาดังกล่าว

- การประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการกับการเรียนการสอน นักศึกษาเห็นตัวอย่างจากกรณีศึกษาจริง
ภายในมหาวิทยาลัย

- โครงการ/กิจกรรม นี้สามารถนาไปขยายผลต่อยอดสู่การปรับปรุงรายวิชา รายวิชา วท.สว. 210 (ENVI 210) จุล


ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม

คาอธิบายรายวิชา

ชนิดของจุลนิ ทรีย์ในสิ่งแวดล้อม จุลินทรีย์ในอาหาร น้า ดิน และการสุขาภิบาล อิทธิพลของจุลินทรีย์ต่อ


สิ่งแวดล้อมและการควบคุมแก้ไข จุลินทรีย์กับอุตสาหกรรม ประโยชน์และโทษของจุลินทรีย์ การย่อยสลายของสารมลพิษบางชนิดโดย
จุลินทรีย์ และการใช้ ชีววิธีในการควบคุมมลพิษและปฏิบัติการที่เกีย่ วข้อง

- โครงการ/กิจกรรมนี้สามารถนาไปขยายผลต่อยอดสู่การพัฒนาหนังสือ ตาราเรียนได้หรือไม่ ได้ โดยใช้เป็นข้อมูลเพื่อ


การปรับปรุงตาราสอนในรายวิชาจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม ของ รศ.ดร.สุขสมาน สังโยคะ หลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

11.4 โครงการนี้มีการบูรณาการกับการวิจัย - ไม่ม-ี


11.5 ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ

INPUT

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ระบุเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน รายการหลักฐานแนบ

ผลการตรวจวัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ คุณภาพอากาศอยู่ < 40 CFU/dm2 15.91 ผลการตรวจวัดการปนเปื้อน


ในระดับดี /h
ในอากาศภายในอาคารสานักวิทยบริการ
(ปริมาณจุลินทรีย์
CFU/dm2 /h ของจุลินทรีย์ในอากาศภายใน
อาคารสานักวิทยบริการ
ก่อนการล้างระบบปรับอากาศ ในอากาศที่พบ
น้อยกว่า 40 ก่อนการล้างระบบปรับอากาศ
2
CFU/dm /h)

ระดับความมั่นใจของผู้รับบริการและ น้อยกว่า 80 56.80 ผลประเมินระดับความมั่นใจ


ผู้ปฏิบัติงานก่อนการล้างทาความสะอาด
ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงาน
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ก่อนการล้างทาความสะอาด
ระบบเครื่องปรับอากาศ

PROCESS

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ระบุเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน รายการหลักฐานแนบ

ดาเนินการล้างระบบปรับอากาศ ครั้ง 1 1 เอกสารจัดซื้อจัดจ้าง

เลขที่ตัดยอด 64013278

OUTPUT

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ระบุเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน รายการหลักฐานแนบ

การล้างเครื่องปรับอากาศชิลเลอร์ 1 ระบบ 1 ระบบ 1 ระบบ เอกสารจัดซื้อจัดจ้าง


ประกอบด้วย
เลขที่ตัดยอด 64013278
- ล้าง Condensor และเปลี่ยนถ่าย
น้ามัน Compressor
- เปลี่ยน Fillter Oil
- ล้าง Condensor ด้วยน้ายาเคมี
- ล้าง AHU เครื่องปรับอากาศชิลเลอร์
- ล้าง Colling Tower
OUTCOME

ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ระบุเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน รายการหลักฐานแนบ

ผลการตรวจวัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ คุณภาพอากาศ < 40 CFU/dm2 6.30 ผลการตรวจวัดการปนเปื้อน


/h
ในอากาศภายในอาคารสานักวิทยบริการ อยู่ในระดับดี CFU/dm2 /h ของจุลินทรีย์ในอากาศภายใน
(ปริมาณจุลินทรีย์ อาคารสานักวิทยบริการ
หลังการล้างระบบปรับอากาศ
ในอากาศที่พบ
หลังการล้างระบบปรับอากาศ
น้อยกว่า 40
CFU/dm2 /h)

IMPACT
ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ระบุเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ผลการดาเนินงาน รายการหลักฐานแนบ

ระดับความมั่นใจของผู้รับบริการและ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 94.80 ผลประเมินระดับความมั่นใจ


ผู้ปฏิบัติงานหลังการล้างทาความสะอาด 80
ของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงาน
ระบบเครื่องปรับอากาศ
หลังการล้างทาความสะอาด

ระบบเครื่องปรับอากาศ
2. เครื่องถ่ายเอกสาร
ส ำนั ก วิท ยบริ ก ำรและเทคโนโลยีส ำรสนเทศ มี เครื่อ งถ่ ำยเอกสำร จ ำนวน 1 เครื่ อ ง
ซึ่งเป็นกำรเช่ำจำกบริษัทภำยนอก มอบหมำยผู้ปฏิบัติงำนในสำนักงำนผู้อำนวยกำรดูแล โดยมีกำรตั้งเครื่องถ่ำย
เอกสำรบริเวณพื้นที่ที่ห่ำงจำกพื้นที่นั่ง ปฏิบัติงำนของบุคลำกร เพื่อป้องกันกำรฟุ้งกระจำยของหมึกพิมพ์ ซึ่งจะ
ส่งผลต่อสุขภำพของบุคลำกรห้องสมุด และมีกำรทำควำมสะอำดทุกเดือน

การดูแลรักษาเครื่องถ่ายเอกสารโดยบริษัท
แบบฟอร์มตรวจเช็คเครื่องถ่ายเอกสาร
ภาพถ่ายห้องถ่ายเอกสาร
3.4 เครื่องพิมพ์เอกสาร
ส ำนั ก วิ ท ยบริ ก ำรและเทคโนโลยี ส ำรสนเทศ มี ม ำตรกำรใช้ เครื่ อ งพิ ม พ์ ร่ ว มกั น
เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดซื้อ กำรดูแลรักษำเครื่องพิมพ์เอกสำร(ปริน้ เตอร์)สำหรับผูป้ ฏิบัติงำน จำนวน 13 เครื่อง
โดยมอบหมำยหัวหน้ำงำนแต่ละงำนดูแล ซึ่งในกำรจัดวำงเครื่องพิมพ์เอกสำร(ปริ้นเตอร์) สำนักวิทยบริกำรฯ ได้มี
แนวทำงกำรจัดวำงให้อยู่ในระดับต่ำกว่ำผู้ปฏิบัติงำนหรือตั้งให้ห่ำงจำกผูป้ ฏิบัติงำนเพื่อควำมปลอดภัยจำกมลพิษ
ที่เกิดจำกเครื่องพิมพ์เอกสำร(ปริน้ เตอร์)
การดูแลรักษาเครื่องพิมพ์งาน
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 1
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 2
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 3
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 4
4. พรมปูพื้น
ส ำนั ก วิ ท ยบริ ก ำรและเทค โนโลยี ส ำรสนเทศ มี ห้ อ งประชุ ม ที่ ปู พ รม จ ำนวน 15 ห้ อ ง
โดยมอบหมำยบุคลำกรและแม่บ้ำนแต่ละชั้นดูแล โดยให้มกี ำรทำควำมสะอำดเป็นประจำทุกวัน และทำกำรดูดฝุ่น
1ครั้ง/สัปดำห์ พร้อมทั้งมีกำรลงลำยมือชื่อผู้ปฏิบัติงำนทุกครั้ง และกำหนดผู้ตรวจสอบกำรทำควำมสะอำดและ
ลงชื่อผู้ตรวจสอบทุกครั้ง
การดูแลความสะอาดพรมโดยแม่บ้าน
ภาพถ่ายการปฏิบัติงานทาความสะอาด
5.1.1 (4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติข้อที่ (1)
สำนัก วิทยบริก ำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้มีก ำรควบคุมมลพิ ษทำงอำกำศ โดยได้มีก ำร
ดำเนินกำรตำมแผนกำรบำรุงรักษำและควบคุมมลพิษทำงอำกำศในสำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ
ประจำปี 2564 ประกอบด้วย
1. กำรควบคุมมลพิษทำงอำกำศจำกกำรล้ำงเครื่องปรับอำกำศ
- ล้ำงเครื่องปรับอำกำศมีกำรคลุมป้องกันกำรกระจำยของฝุน่ ละออง และน้ำ
2. กำรควบคุมมลพิษทำงอำกำศจำกกำรทำควำมสะอำดเครื่องถ่ำยเอกสำร
- กำรทำควำมสะอำดเครื่องถ่ำยเอกสำรจะย้ำยออกไปทำควำมสะอำดในพืน้ ที่โล่ง
3. กำรควบคุมมลพิษทำงอำกำศจำกกำรทำควำมสะอำดเครื่องพิมพ์
- กำรทำควำมสะอำดเครื่องพิมพ์จะย้ำยออกไปทำควำมสะอำดในพืน้ ที่โล่งหลังอำคำร
4. กำรควบคุมมลพิษทำงอำกำศจำกกำรทำควำมสะอำดพรมปูพืน้
- กำรทำควำมสะอำดพรมโดยใช้เครื่องดูดฝุ่น
- กำรทำควำมสะอำดโดยใช้ผ้ำชุบน้ำบิดหมำดๆ ในกำรเช็ดทำควำมสะอำดเพื่อป้องกันฝุ่น
ละอองฝุ้งกระจำย
5.1.1 (5) การวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
เนื่องจำกสำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ มีพื้นที่ที่จำกัด พื้นที่ส่วนใหญ่
ถูกจัดไว้เป็นที่เก็บหนังสือ และพื้นที่บริกำรกำรอ่ำนให้กับผู้ใช้บริกำร ดังนั้น กำรบริหำรจัดกำรในกำรวำงเครื่อง
ปริ้นเตอร์ ในกำรปฏิบัติงำนและกำรให้บริก ำรผู้ใช้ สำนัก วิท ยบริกำรฯ ได้มีแนวทำงกำรจัดวำงให้อยู่ในระดับ
ต่ำกว่ำผู้ปฏิบัติงำนหรือตั้งให้ห่ำงจำกผู้ปฏิบัติงำนเพื่อควำมปลอดภัยจำกมลพิษ ที่เกิดจำกเครื่องพิมพ์เอกสำร
(ปริน้ เตอร์)
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 1
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 2
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 3
ภาพถ่ายเครื่องพิมพ์งาน ปริน้ เตอร์ ชั้น 4
5.1.1 (6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสานักงาน
ด้ำนกำรควบคุมไอเสียรถยนต์รอบบริเวณสำนักงำน มีกำรรณรงค์ขอควำมร่วมมือผู้เข้ำมำใช้
พื้นที่จอดรถรอบอำคำรสำนักวิ ทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ให้ทำกำรดับเครื่องยนต์ เหตุเพรำะจะเป็น
กำรสร้ำงมลพิษทั้งทำงเสียงและกลิ่นควันจำกท่อไอเสีย ที่จะสร้ำงกำรรบกวนทั้งผู้เข้ำมำใช้บริกำรและเจ้ำหน้ำที่
ห้องสมุด
ภาพถ่ายการควบคุมควันไอเสียรถยนต์โดยใช้ป้ายประชาสัมพันธ์
ภาพถ่ายที่จอดรถภายนอกอาคารเพื่อลดการเกิดควันไอเสียรถยนต์
5.1.1 (7) การป้องกันและกาจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสานักงาน
สำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้มีมำตรกำรในกำรป้องกันและกำจัดแมลงที่จะ
สร้ำงมลพิษทำงอำกำศภำยในสำนักงำน โดยกำรวำงลูกเหม็นเพื่อไล่นกพิรำบ และกำรเก็บซำกนกตำยไปกำจัด
อย่ำงถูกวิธี
ภาพการวางก้อนดับกลิ่น (ลูกเหม็น) เพื่อไล่นก
ภาพถ่ายซากนกตายที่ถูกกาจัดและนาไปทิ้งเมื่อพบ
5.1.1 (8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศ
จำกกิจกรรมต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นในสำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศ ที่ก่อให้เกิดมลพิษ
ทำงอำกำศ และอำจก่ อ ให้ เกิ ด อั น ตรำยต่ อ บุ ค คลทั่ วไปทั้ งผู้ ใช้บ ริก ำร และบุ ค ลำกร ส ำนั ก วิ ท ยบริก ำรและ
เทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้มีกำรสื่อสำร หรือแจ้งให้ผู้ใช้บริกำรหรือบุคลำกรทรำบถึงกำรเกิดมลพิษทำงอำกำศ
จำกกิจกรรมต่ำงๆ โดยกำรติดป้ำยประชำสัมพันธ์ และประชำสัมพันธ์ผ่ำนสื่อออนไลน์

การประชาสัมพันธ์ เรือ่ งการเกิดมลพิษทางอากาศผ่านทางเว็บไซต์

https://library.psru.ac.th/greenoffice/
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดมลพิษทางอากาศ
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรม Big Cleaning Day
ในทุกภาคการศึกษา เพื่อกาจัดมูลนกและฝุ่นตกค้างสะสมบริเวณนอกอาคาร
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปลูกต้นไม้ฟอกอากาศ ตกแต่งภายในอาคาร
เพื่อลดมลพิษทางอากาศ

You might also like