You are on page 1of 51

โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย

่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

3. การจัดทำแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental
Management Plan)
ผลการประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมของการศึกษาผลกระทบสิง่
แวดล้อม โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจ
ออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล พบว่า กิจกรรมการดำเนิน
โครงการก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในปั จจุบันในบริเวณพื้นที่
โครงการ ซึ่งได้มีการกำหนดมาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม
รวมถึงมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีม
่ ค
ี วามเหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปั จจุบัน ทัง้ นี ้ เพื่อให้มาตรการป้ องกันและแก้ไข
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่
นำเสนอไว้มีความสมบูรณ์และเป็ นรูปธรรม สามารถปฏิบัติได้จริงจึงนำเสนอ
เป็ นแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความชัดเจนและสามารถนาไป
ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะเป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการในอนาคต เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึน
้ ต่อ
ประชาชนในพื้นที่โครงการและสภาพแวดล้อมในปั จจุบันให้น้อยที่สุดหรือไม่เกิด
ขึน
้ เลย ทัง้ นี ้ ผลการศึกษาในการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมของ
โครงการได้จากขัน
้ ตอนภายหลังจากที่ได้ดำเนินการศึกษามาตรการป้ องกันและ
แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ง
แวดล้อมของโครงการแล้ว

แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับการ


ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่

KEC•ENCAD•SEA
ก-1
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
ประกอบด้วย 5 แผน ดังนี ้
1) แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน
2) แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ
3) แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง
4) แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคมขนส่ง/
อุบัติเหตุและความปลอดภัย
5) แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ์และรับเรื่องร้องเรียนของโครงการ

3.1 แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน

1) หลักการและเหตุผล
การปนเปื้ อนของน้ำมันที่เกิดจากการทำงานของ
เครื่องจักร/อุปกรณ์ก่อสร้าง ตลอดจนน้ำทิง้ จากกิจกรรมต่างๆ ภายในหน่วย
ก่อสร้าง ซึง่ หากไม่มีมาตรการป้ องกันหรือการจัดการที่ดี อาจทำให้เกิดการ
ชะล้างลงสู่แหล่งน้ำผิวดินที่อยู่ใกล้เคียงได้ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพของคุณภาพน้ำผิวดินมีความขุ่นเพิ่มสูงขึน
้ เมื่อปริมาณตะกอนดินที่
ไหลลงสูล
่ ำน้ำมีปริมาณสูง จะส่งผลกระทบต่อลำน้ำนัน
้ เกิดการตื้นเขินจนเป็ น
อุปสรรคต่อการระบายน้ำได้ ดังนัน
้ เพื่อให้มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระ
ทบต่อคุณภาพน้ำผิวดิน มีความเป็ นรูปธรรม ชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
จึงได้นำเสนอในรูปแผนปฏิบัติการขึน
้ มา

KEC•ENCAD•SEA
ก-2
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

2) วัตถุประสงค์
เพื่อป้ องกันและลดผลกระทบต่อการชะล้างเศษมวลดินลงสู่
แหล่งน้ำที่อยู่ใกล้เคียงแนวเส้นทางโครงการพาดผ่านและการปนเปื้ อนลงสู่
แหล่งน้ำผิวดิน เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมของโครงการในระยะก่อสร้าง

3) พื้นที่ดำเนินการ
(1) พื้นที่ก่อสร้างสะพานข้ามคลองธรรมชาติ ที่แนวเส้นทาง
โครงการตัดผ่าน เช่น
คลองฉลุง และคลองน้ำพระ
(2) หน่วยก่อสร้างโครงการ รองรับคนงานประมาณ 100
คน โดยเฉพาะบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของน้ำมัน อาทิเช่น พื้นที่ซ่อมบำรุง
ลานล้างรถขนส่งเครื่องจักรและวัสดุอุปกรณ์การก่อสร้าง บริเวณที่จัดเก็บถัง
น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเครื่องและน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้ว

4) วิธีการดำเนินการ
กรมทางหลวงชนบท ต้องกำกับผู้รับจ้างก่อสร้างให้ดำเนินการ
ตามแผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไข ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดินอย่าง
เคร่งครัด ดังนี ้

(1) ระยะก่อสร้าง
มาตรการเฉพาะพื้นที่

KEC•ENCAD•SEA
ก-3
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

- ทำการติดตัง้ รัว้ ดักตะกอนแบบ Temporary Silt


Fence ขนาด 1.50×15.0 เมตร พื้นที่ก่อสร้างสะพานข้ามคลองธรรมชาติ ที่
แนวเส้นทางโครงการตัดผ่าน จำนวน 4 จุด ต่อ 1 สะพาน เพื่อป้ องกันการ
ชะล้างพังทลายของดินลงสูล
่ ำน้ำ ดังรูปที่ 3.1-1
- การก่อสร้างตอม่อสะพานข้ามลำน้ำ ให้ทำการติด
ตัง้ แผนเหล็ก (Sheet pile) ล้อมรอบพื้นที่ที่จะก่อสร้างตอม่อ เพื่อป้ องกันการ
ฟุ ้งกระจายของตะกอนลงสูล
่ ำน้ำ ดังรูปที่ 3.1-2

รูปที่ 3.1-1 ตัวอย่างการติดตัง้ รัว


้ ดักตะกอนแบบ Temporary Silt
Fence

KEC•ENCAD•SEA
ก-4
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-2 ตัวอย่างการติดตัง้ แผงเหล็ก (Sheet pile) ล้อมรอบ


พื้นที่ที่จะก่อสร้างตอม่อ
- บริเวณอาคารหน่วยก่อสร้างและทีพ
่ ก
ั คนงาน
กำหนดให้ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องดำเนินการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอย ดังนี ้
การจัดการน้ำเสีย ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องมีการ
จัดการดังต่อไปนี ้
 จัดให้สร้างห้องน้ำ-ห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
และมีจำนวนเพียงพอกับคนงานก่อสร้างไว้ในบริเวณที่พักคนงานก่อสร้าง พร้อม
ทัง้ ติดตัง้ ระบบบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปประเภทถังเกรอะ-
ถังกรองไร้อากาศ เพื่อบำบัดน้ำเสียให้เป็ นไปตามมาตรฐานน้ำทิง้ ก่อนระบาย
ออกสู่ภายนอก แสดงดังรูปที่ 3.1-3
และรูปที่ 3.1-4
 จัดให้มีถังบำบัดน้ำเสียที่มีความสามารถ
บำบัดน้ำเสียรองรับน้ำเสียรวม พร้อมทัง้ ติดตัง้ บ่อดักไขมัน (รูปที่ 3.1-5) มี
ความสามารถรองรับน้ำเสียน้ำทิง้ จากลานซักล้างและห้องครัว ระยะเวลากัก
KEC•ENCAD•SEA
ก-5
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

เก็บไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับปริมาณน้ำเสียที่เกิดจาก


เจ้าหน้าที่และคนงาน
 ต้องควบคุมดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้มี
ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียสูงที่สุด และทำการสูบตะกอนจากระบบบำบัด
น้ำเสียเป็ นประจำทุกๆ 3 เดือน

KEC•ENCAD•SEA
ก-6
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

KEC•ENCAD•SEA
ก-7
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-3 แบบแปลนระบบบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปประเภทถังเกรอะ-ถัง


กรองไร้อากาศ

KEC•ENCAD•SEA
ก-8
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-4 ตัวอย่างถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปประเภทถังเกรอะ-ถังกรองไร้


อากาศ

รูปที่ 3.1-5 ตัวอย่างถังดักไขมัน

KEC•ENCAD•SEA
ก-9
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

 จัดเตรียมพื้นทีส
่ ำหรับเครื่องจักร รวมทัง้ โรง
บำรุงเครื่องจักร บริเวณทีเ่ ก็บถังน้ำมันเชื้อเพลิง ถังน้ำมันเครื่อง และถังเก็บ
น้ำมันที่ใช้แล้ว บริเวณที่ทำความสะอาดยานพาหนะและเครื่องจักรกล และโรง
ผสมแอสฟั ลท์ รวมทัง้ พื้นที่กองวัสดุก่อสร้างให้อยู่ห่างจากแหล่งน้ำและทาง
ระบายน้ำอย่างน้อย 150 เมตร เพื่อป้ องกันการปนเปื้ อนลงสู่แหล่งน้ำ
 จัดภาชนะรองรับน้ำมันทีใ่ ช้แล้วไว้ในโรงซ่อม
บำรุง เพื่อรวบรวมและนำไปกำจัดให้เหมาะสม และห้ามทิง้ น้ำมันของเสียลงสู่
แหล่งน้ำหรือทางระบายน้ำ
 ทำการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิด
การรั่วไหลของน้ำมันและไขมันในบริเวณที่พักคนงานและโรงซ่อมบำรุง
เครื่องจักรกล เช่น งาน ซ่อมบำรุงเครื่องจักร ลานล้างรถบริเวณจัดเก็บถังน้ำมัน
เชื้อเพลิง ถังน้ำมันเครื่อง และถังเก็บแอสฟั ลท์ เป็ นต้น โดยทำเป็ นพื้นคอนกรีต
ที่ยกขอบโดยรอบและต่อท่อระหว่างพื้นคอนกรีตและบ่อดักไขมัน เพื่อรวบรวม
สิ่งรั่วไหลจากพื้นคอนกรีตลงสูบ
่ ่อดักไขมันโดยตรง และระบายน้ำที่ผ่านการดัก
ไขมันลงสู่ระบบบาบัดน้ำเสีย (รูปที่ 3.1-6)

KEC•ENCAD•SEA
ก-10
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-6 ตัวอย่างการเทพื้นคอนกรีตในบริเวณที่อาจเกิดการรั่วไหลของ


น้ำมันและไขมัน

 กำหนดให้มีห้องน้ำหรือสุขาเคลื่อนที่ (รูปที่
3.1-7) ตัง้ อยู่ใกล้บริเวณพื้นที่ก่อสร้าง สามารถรองรับน้ำเสียในแต่ละวันได้อย่าง
น้อย 0.15 ลูกบาศก์เมตร/วัน เพื่อสุขอนามัยการขับถ่ายของคนงานก่อสร้างที่
เกิดขึน
้ ในแต่ละวัน และประสานงานกับเทศบาลตำบลพยุหะคีรี ดำเนินการจัด
เก็บและนำของเสียที่เกิดขึน
้ ไปกำจัดในแต่ละวัน
 เมื่อการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จให้ร้อ
ื ถอน
ห้องน้ำ-ห้องส้วม สำหรับคนงานก่อสร้างออกทัง้ หมด พร้อมทัง้ ประสานงานให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาดูดสิ่งปฏิกูลจากบ่อเกรอะ-บ่อซึม และฝั งกลบ
บ่อดังกล่าวให้เรียบร้อย พร้อมปรับคืนสภาพพื้นที่

KEC•ENCAD•SEA
ก-11
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-7 ตัวอย่างสุขาเคลื่อนที่

การจัดการขยะมูลฝอย ผู้รับจ้างก่อสร้าง ต้องมี


การจัดการดังต่อไปนี ้
 ต้องจัดให้มีถังขยะแยกประเภท ขยะเปี ยก
ขยะแห้ง ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรายชนิดมีฝาปิ ด จำนวน 4 ถัง/ชุด ความจุ
ไม่นอ
้ ยกว่า 240 ลิตร/ถัง จัดไว้ในพื้นทีบ
่ า้ นพักคนงาน 1 ชุด โรงอาหาร 1 ชุด
และสำนักงาน 1 ชุด เพื่อรองรับปริมาณขยะในแต่วัน พร้อมทัง้ ประสานงานกับ
เทศบาลตำบลฉลุง องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน และองค์การบริหารส่วน
ตำบลควนขัน เข้ามาดำเนินการจัดเก็บและนำไปกำจัด แสดงดังรูปที่ 3.1-8

KEC•ENCAD•SEA
ก-12
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.1-8 ตัวอย่างถังขยะแยกประเภท

มาตรการทั่วไป
- ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องปฏิบัติตามมาตรการป้ องกัน
และแก้ไขผลกระทบด้านทรัพยากรดินอย่างเคร่งครัด
- ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องกำหนดแผนของกิจกรรมขุด
ดิน/ปรับถมพื้นที่ ให้ดำเนินงานในช่วงฤดูแล้ง (เดือนธันวาคม-เดือนมีนาคม)
เพื่อลดปั ญหาการชะล้างของตะกอนดินลงสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะหรือแหล่ง
น้ำผิวดิน หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ให้พิจารณาหลีกเลี่ยงการขุดดินในช่วงที่มี
ฝนตกหนัก (ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม)
- ผู้รับจ้างก่อสร้างต้องเปิ ดหน้าดินเฉพาะพื้นที่ที่จะ
ก่อสร้างเท่านัน
้ และเปิ ดพื้นที่เป็ นช่วงๆ และใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างให้น้อย
ที่สุด
- กิจกรรมการก่อสร้างในบริเวณใกล้เคียงแหล่งน้ำ
หากผู้รับจ้างก่อสร้างต้องมีการขุดดิน ต้องกำหนดขอบเขตหรือระยะอย่าง

KEC•ENCAD•SEA
ก-13
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

ชัดเจน เพื่อป้ องกันการกัดเซาะพังทลายของตลิ่ง และการชะล้างหน้าดินลงสู่


แหล่งน้ำ รวมทัง้ ต้องมีการบูรณะและดูแลตลิง่ ให้มีสภาพดังเดิมภายหลังการ
ก่อสร้างเสร็จทันที
- การเก็บกองวัสดุก่อสร้างต่างๆ เช่น ดิน หิน ทราย
เป็ นต้น ต้องเก็บกองให้ห่างจากลำน้ำและทางระบายน้ำไม่น้อยกว่า 100 เมตร
เพื่อป้ องกันการชะพาลงสู่แหล่งน้ำ และให้ทำการขนย้ายออกจากพื้นที่โดยเร็ว
เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ
- ทำการบดอัดกองดินให้แน่นทุกครัง้ เมื่อมีการนำ
ดินมากองเก็บ
- เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จในแต่ละวัน จัดให้มีการ
เก็บเศษวัสดุก่อสร้าง เช่น ดิน หิน หรือเศษคอนกรีตจากการรื้อถอนโครงสร้าง
ต่างๆ ตามร่องหรือทางระบายน้ำตามแนวเขตทางที่อยู่ใกล้กับพื้นที่ก่อสร้าง
เพื่อป้ องกันการกีดขวางการไหลของน้ำเมื่อเกิดฝนตก
- จัดให้มีการตรวจสอบสภาพอาคารระบายน้ำที่มี
อยู่เดิมตลอดแนวก่อสร้าง หากพบว่า มีการอุดตันหรือมีวัสดุกีดขวางช่องทาง
ระบายน้ำให้รีบนำออกโดยเร็ว ก่อนเข้าสู่ฤดูฝนและการรื้อถอนอาคารระบายน้ำ
ที่มีอยู่เดิม ให้จัดทำร่องระบายน้ำชั่วคราว เพื่อให้สามารถไหลผ่านได้ โดย
เฉพาะเมื่อมีฝนตก

(2) ระยะดำเนินการและบำรุงรักษา
-

KEC•ENCAD•SEA
ก-14
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

5) ระยะเวลาดำเนินการ
(1) ระยะก่อสร้าง
ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างโครงการ
(2) ระยะดำเนินการและบำรุงรักษา
-

6) หน่วยงานรับผิดชอบ
(1) ระยะก่อสร้าง
ผู้รับจ้างก่อสร้าง ภายใต้การกำกับดูแลของกรม
ทางหลวงชนบท
(2) ระยะดำเนินการและบำรุงรักษา
-

7) งบประมาณ
งบประมาณในการปฏิบัติตามมาตรการป้ องกันและแก้ไข
ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำผิวดิน ซึง่ แบ่งเป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดการการชะล้าง
เศษมวลดินลงสู่แหล่งน้ำ (งบประมาณเพิ่มเติมตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม)
และการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอยภายในหน่วยก่อสร้าง (ค่าใช้จ่ายรวมใน
ค่าอำนวยการ factor F)

8) การประเมินผล

KEC•ENCAD•SEA
ก-15
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของกรม
ทางหลวง ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็ นไปตามแผนที่
กำหนด

3.2 แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ

1) หลักการและเหตุผล
การดำเนินกิจกรรมการก่อสร้างโครงการจะก่อให้เกิดการฟุ ้ง
กระจายของฝุ ่นละออง ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้
เคียง โดยจากการประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศในระยะก่อสร้างด้วย
แบบจำลองคณิตศาสตร์ พบว่า มีพ้น
ื ที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมได้รับผลกระทบ
ด้านฝุ ่นละอองจากกิจกรรมการก่อสร้างถนนโครงการมีค่าสูงกว่ามาตรฐาน
กำหนด ดังนัน
้ เพื่อให้มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ
มีความเป็ นรูปธรรม ชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติจริง จึงได้นำเสนอในรูปแผน
ปฏิบัติการขึน
้ มา

2) วัตถุประสงค์
เพื่อป้ องกันและลดผลกระทบด้านฝุ ่นละอองจากการดำเนิน
กิจกรรมโครงการต่อพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โครงการ

3) พื้นที่ดำเนินการ
พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมได้รับผลกระทบด้านฝุ ่นละออง
เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด
KEC•ENCAD•SEA
ก-16
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

KEC•ENCAD•SEA
ก-17
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

4) วิธีดำเนินการ
ระยะก่อสร้าง
- ทำการฉีดพรมน้ำ 2 ครัง้ /วัน บริเวณถนนโครงการฝั่ ง
ถนน ทล. 401 ที่มีกิจกรรมการเปิ ดหน้าดินเพื่อลดผลกระทบด้านการฟุ ้ง
กระจายของปริมาณฝุ ่นละออง (รูปที่ 3.2-1)

รูปที่ 3.2-1 ตัวอย่างการฉีดพรมน้ำบนพื้นที่ก่อสร้าง

5) ระยะเวลาดำเนินการ
ดำเนินการตลอดระยะก่อสร้างโครงการ

6) หน่วยงานรับผิดชอบ
ผู้รับจ้างก่อสร้าง ภายใต้การกำกับดูแลของกรมทางหลวง
ชนบท

7) งบประมาณ

KEC•ENCAD•SEA
ก-18
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

งบประมาณในการปฏิบัติตามมาตรการป้ องกันและแก้ไขผลก
ระทบด้านคุณภาพอากาศในระยะก่อสร้าง

8) การประเมินผล
คณะกรรมการตรวจการจ้างและผูค
้ วบคุมงานของกรม
ทางหลวงชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างก่อสร้างให้เป็ นไปตาม
แผนที่กำหนด

3.3 แผนปฏิบัติการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียง

1) หลักการและเหตุผล
จากผลการคาดการณ์ระดับเสียงในระยะก่อสร้างโครงการ พบ
ว่า การดำเนินกิจกรรมก่อสร้างจะก่อให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐานระดับเสียงโดย
ทั่วไป ซึ่งจัดเป็ นระดับเสียงที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะผลกระทบต่อพื้นที่อ่อนไหว
ด้านสิ่งแวดล้อมที่ตงั ้ อยู่ใกล้กับพื้นที่ก่อสร้างและคนงานก่อสร้างที่ปฏิบัติงาน
ใกล้แหล่งกำเนิดเสียง ดังนัน
้ ทางโครงการจึงมีความจำเป็ นต้องกำหนด
มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านเสียงให้เกิดขึน
้ น้อยที่สุด และเพื่อให้
มาตรการป้ องกันและแก้ไขลดผลกระทบด้านเสียงที่กำหนดขึน
้ เป็ นรูปธรรม
ชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง จึงได้นำเสนอในรูปแผนปฏิบัติการด้านเสียง
ขึน
้ มา

2) วัตถุประสงค์

KEC•ENCAD•SEA
ก-19
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

เพื่อป้ องกันและลดผลกระทบด้านเสียงจากกิจกรรมก่อสร้าง
และการคมนาคมบนถนนโครงการในระยะก่อสร้างและระยะดำเนินการต่อ
พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวเส้นทางโครงการ

3) พื้นที่ดำเนินการ
พื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมได้รับผลกระทบด้านเสียงดังเกิน
มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป

4) วิธีดำเนินการ
(1) ระยะก่อสร้าง
- ขณะก่อสร้างถนนโครงการและก่อสร้างฐานราก
สะพานทำการติดตัง้ รัว้ ทึบชนิดเมทัลชีท (Metal Sheet) หนา 1.27 มิลลิเมตร
(รูปที่ 3.3-1) หรือวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า บริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่ง
แวดล้อมได้รับผลกระทบด้านเสียงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำหนดมาตรฐาน
ระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540)
- เมื่อทำการก่อสร้างถนนโครงการแล้วเสร็จ ให้ทำการติดตัง้
กำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส หนา 15 มิลลิเมตร (รูปที่ 3.3-2 และรูปที่ 3.3-
3) บริเวณพื้นที่อ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมที่มีระดับเสียงเกินค่ามาตรฐานที่
กฎหมายกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปที่ 70 เดซิเบล (เอ) ตามประกาศ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540)
(2) ระยะดำเนินการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-20
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

- ดูแลรักษากำแพงกันเสียงให้อยู่ในสภาพดีอย่าง
สม่ำเสมอ
- ดูแลรักษาผิวจราจรให้มีสภาพดี เพื่อลดแรง
กระแทกระหว่างล้อยานพาหนะกับผิวจราจร

รูปที่ 3.3-1 ตัวอย่างการติดตัง้ กำแพงกันเสียงชั่วคราวชนิดเมทัลชีทในระยะ


ก่อสร้าง

KEC•ENCAD•SEA
ก-21
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ ง
ตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.3-2 ตัวอย่างการติดตัง้ กำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใสในระยะ


ดำเนินการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-22
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

KEC•ENCAD•SEA ก-23
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.3-3 แบบแนะนำกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส

KEC•ENCAD•SEA ก-24
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.3-3 แบบแนะนำกำแพงกันเสียงชนิดอะคริลิคใส (ต่อ)

KEC•ENCAD•SEA ก-25
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

5) ระยะเวลาดำเนินการ
(1) ระยะก่อสร้าง
ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างโครงการ
(2) ระยะดำเนินการ
ตลอดระยะดำเนินการ

6) หน่วยงานรับผิดชอบ
(1) ระยะก่อสร้าง
ผู้รับจ้างก่อสร้าง โดยการกำกับดูแลของกรม
ทางหลวงชนบท
(2) ระยะดำเนินการ
กรมทางหลวงชนบท

7) งบประมาณ
ค่าใช้จา่ ยในการปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรการป้ องกันและแก้ไข
ผลกระทบด้านเสียง โดยค่าใช้จ่ายงบประมาณเพิ่มเติมตามมาตรการ
ด้านสิ่งแวดล้อม

8) การประเมินผล

KEC•ENCAD•SEA
ก-26
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงานของ
กรมทางหลวง่ชนบท ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างก่อสร้างให้
เป็ นไปตามแผนที่กำหนด

3.4 แผนปฏิบต
ั ก
ิ ารป้ องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคมนาคม
ขนส่ง/อุบต
ั เิ หตุและความปลอดภัย

1) หลักการและเหตุผล
เนื่องจากการดำเนินกิจกรรมโดยส่วนใหญ่ของ เพื่อ
ทำการก่อสร้างทางโครงการตัดใหม่ แต่เฉพาะกิจกรรมในระยะก่อสร้าง
บริเวณจุดตัดทางหลวงเดิม อาจส่งผลกระทบต่อการกีดขวางการสัญจร
บนถนนทางหลวงเดิม เนื่องจากการรุกล้ำผิวจราจรจากกิจกรรมการ
ก่อสร้างหรือการกองวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง รวมทัง้ ผลกระทบจาก
ปริมาณการจราจรที่เพิ่มขึน
้ โดยเฉพาะรถบรรทุกหนักที่ใช้ในการขนส่ง
วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความไม่สะดวกและความ
คล่องตัวของการจราจรในระหว่างก่อสร้าง ประกอบกับแนวเส้นทาง
โครงการเป็ นทางหลวงสายหลักที่ใช้ในการเดินทางขึน
้ ภาคเหนือและ
ภาคตะวันออก จึงอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุแก่ผู้ใช้เส้นทางสัญจรได้ง่าย
ดังนัน
้ จึงมีความจำเป็ นต้องกำหนดมาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระ
ทบต่อการคมนาคมขนส่ง (ดังรายละเอียดแสดงในบทที่ 5 มาตรการ
ป้ องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม)

KEC•ENCAD•SEA
ก-27
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

KEC•ENCAD•SEA
ก-28
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

ในระยะดำเนินการ การใช้เส้นทางโครงการจะทำให้
การคมนาคมมีความคล่องตัวและสามารถใช้ความเร็วได้สูงขึน
้ จึงอาจ
ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มมากขึน
้ ดังนัน
้ การดำเนิน
กิจกรรมต้องคำนึงถึงการจัดการด้านความสะดวกและความปลอดภัย
ต่อผู้ใช้เส้นทาง และความสะดวกสบายของการสัญจรเข้า-ออกของ
ประชาชนในพื้นที่ตลอดแนวเส้นทางโครงการ

2) วัตถุประสงค์
เพื่อป้ องกันและลดผลกระทบด้านคมนาคมขนส่งและ
อุบต
ั เิ หตุทอ
่ี าจเกิดขึน
้ ให้นอ
้ ยทีส
่ ด
ุ โดยพิจารณาทัง้ การป้ องกันและการ
ลดผลกระทบต่อผู้ใช้เส้นทาง และประชาชนที่อาศัยบริเวณเขต
ทางหลวงโครงการ

3) พื้นที่ดำเนินการ
(1) จุดเริ่มต้นโครงการ บริเวณจุดตัดทางหลวง
หมายเลข 406
(2) บริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 404
(3) จุดสิน
้ สุดโครงการ บริเวณจุดตัดทางหลวง
หมายเลข 421

4) วิธีการดำเนินการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-29
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

(1) ระยะก่อสร้าง
ก) ก่อนเริ่มดำเนินการก่อสร้างต้อง
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนบริเวณโครงการทราบถึงแผนการก่อสร้าง
และติดตัง้ ป้ ายประชาสัมพันธ์ โดยระบุช่ ือโครงการ ระยะเวลา สถาน
ที่ก่อสร้าง หน่วยงานรับผิดชอบ ชื่อนายช่างโครงการ พร้อมเบอร์
ติดต่อ เป็ นต้น ทัง้ นีใ้ ห้ติดตัง้ ไว้ก่อนถึงบริเวณพื้นที่ก่อสร้างหรือบริเวณ
จุดเริ่มต้นและจุดสิน
้ สุดโครงการ เพื่อให้ผู้ใช้ทางทราบและรับรู้
สถานภาพบริเวณแนวเส้นทางโครงการ
ข) หากมีความจำเป็ นต้องปิ ดเส้นทาง ต้องมี
การประชาสัมพันธ์แผนการก่อสร้าง โดยการติดตัง้ ป้ ายประชาสัมพันธ์
ระบุวัน เวลา สถานที่ และขัน
้ ตอนการดำเนินงานบริเวณจุดเริ่มต้นและ
จุดสิน
้ สุดพื้นที่ก่อสร้างให้ชด
ั เจน ก่อนการดำเนินกิจกรรมอย่างน้อย 3
วัน เพื่อให้ผท
ู้ ส
่ี ญ
ั จรไป-มา และประชาชนในพื้นทีส
่ ามารถหลีกเลีย
่ งหรือ
ใช้เส้นทางอื่นแทนได้
ค) ในกรณีทม
่ี ก
ี ารปิ ดเส้นทางชัว่ คราวเพื่อ
ทำการก่อสร้าง ขนย้ายวัสดุอป
ุ กรณ์กอ
่ สร้าง หรือกองวัสดุกอ
่ สร้างบนผิว
ทางต้องจัดทำทางเบีย
่ งและมีเจ้าหน้าทีค
่ อยอำนวยความสะดวกแก่ยาน
พาหนะทีส
่ ญ
ั จรไป-มา บนแนวเส้นทาง (รูปที่ 3.4-1)
ง) วางแผนการใช้เส้นทางขนส่งวัสดุอุปกรณ์
ก่อสร้างโครงการให้ชัดเจน เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาด้านการจราจรติดขัด
และเป็ นอุปสรรคต่อการสัญจรไป-มาของผู้ใช้ทาง โดยการหลีกเลี่ยง

KEC•ENCAD•SEA
ก-30
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

การขนส่งวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างโครงการในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า
(07.00–09.00 น.) และเย็น (16.00–18.00 น.)

รูปที่ 3.4-1 การจัดเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกในกรณีที่ทำทาง


เบี่ยง หรือปิ ดแนวเส้นทาง

จ) อบรมพนักงานขับรถบรรทุกขนส่งวัสดุ
อุปกรณ์ก่อสร้างโครงการให้ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด และ
ขับขี่ยานพาหนะอย่างระมัดระวัง เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุต่อตัวผู้ขับขี่และ
ผู้ใช้ทาง ตลอดจนประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงแนวเส้นทางขนส่ง
ฉ) กำชับให้พนักงานขับรถบรรทุกขับชิดซ้าย
ทางเสมอ เพื่อลดการกีดขวางหรือเป็ นอุปสรรคต่อการสัญจรของผู้ใช้
ทาง

KEC•ENCAD•SEA
ก-31
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

ช) ควบคุมความเร็วของรถบรรทุกวัสดุ
อุปกรณ์ก่อสร้างของโครงการให้เป็ นไปตามกฎหมายกำหนด และ
ความเร็วไม่เกิน 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อวิ่งผ่านพื้นที่ชุมชน
ซ) กำหนดให้รถบรรทุกขนส่งวัสดุอุปกรณ์
ก่อสร้างโครงการ ติดป้ ายชื่อโครงการ บริษัทรับจ้างก่อสร้าง พร้อม
เบอร์โทรศัพท์ไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องราวร้อง
เรียนได้
ฌ) ดูแลและจัดเก็บเครื่องจักร/วัสดุอุปกรณ์
ก่อสร้าง บริเวณพื้นที่ก่อสร้างให้เรียบร้อย เพื่อป้ องกันการกีดขวางการ
จราจร
ญ) จัดให้มีที่จอดรถบรรทุกของโครงการ ห้าม
จอดกีดขวางบนแนวเส้นทางที่ใช้ในการขนส่งหรือบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง
โครงการ (รูปที่ 3.4-2)
ฎ) ติดตัง้ ป้ ายเตือน สัญลักษณ์ และ
เครื่องหมายจราจรบริเวณพื้นที่ก่อสร้างโครงการให้ชัดเจน เช่น ป้ าย
เตือนประเภทต่างๆ ป้ ายเตือนเขตก่อสร้างด้านหน้า ป้ ายลดความเร็ว
ป้ ายห้ามแซง และป้ ายทางเบี่ยง เป็ นต้น ทัง้ นี ้ หากมีความจำเป็ นต้อง
ดำเนินการก่อสร้างช่วงเวลากลางคืน ต้องติดตัง้ แผงกัน
้ เขตก่อสร้าง
สัญญาณเตือน และหลอดไฟให้แสงสว่างที่สามารถมองเห็นพื้นที่เขต
การก่อสร้างได้ชัดเจน (รูปที่ 3.4-1)

KEC•ENCAD•SEA
ก-32
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

มาตรการลดผลกระทบต่อการชำรุดเสียหาย
ของผิวจราจร
ก) ควบคุมน้ำหนักและความเร็วของรถ
บรรทุกขนส่งให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกำหนด
ข) เมื่อดำเนินการก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จ
หากพบผิวทางชำรุดเสียหายจากการขนส่งวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง
โครงการ ต้องซ่อมแซมผิวทางให้อยู่ในสภาพเดิมหรือดีกว่าเดิม

รูปที่ 3.4-2 จัดพื้นที่จอดรถบรรทุกของโครงการบริเวณสำนักงาน


ควบคุมงานโครงการ

(2) ระยะดำเนินการ
มาตรการลดผลกระทบต่อการกีดขวางหรือ
เป็ นอุปสรรคต่อการสัญจร/การจราจรบนโครงข่ายเส้นทางคมนาคม
ก) หากมีความจำเป็ นต้องปิ ดเส้นทางขณะ
ตรวจสอบหรือซ่อมบำรุงโครงการ กรมทางหลวงชนบทต้องจัดทำทาง

KEC•ENCAD•SEA
ก-33
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

เบี่ยงและมีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกแก่ยานพาหนะที่สัญจร
ไป-มา
ข) ติดตัง้ ป้ ายเตือน สัญลักษณ์ และ
เครื่องหมายจราจรให้ชัดเจนบริเวณพื้นที่ตรวจสอบหรือซ่อมบำรุง
โครงการ อาทิเช่น ป้ ายเตือนประเภทต่างๆ ป้ ายเตือนเขตก่อสร้างด้าน
หน้า ป้ ายลดความเร็ว ป้ ายห้ามแซง และป้ ายทางเบี่ยง เป็ นต้น
มาตรการลดผลกระทบต่อการชำรุดเสียหาย
ของผิวจราจร
ก) กรมทางหลวงชนบทตรวจสอบสภาพพื้น
ผิวจราจร เช่น ความขรุขระรอยต่อบนผิวถนน ความไม่สม่ำเสมอของผิว
จราจร หากพบว่ามีการชำรุดเสียหายให้ดำเนินการซ่อมแซมหรือบำรุง
รักษาเส้นทางให้ใช้งานได้ดีอยู่เสมอ
ข) ติดตัง้ ป้ ายควบคุมน้ำหนักและความเร็ว
ของรถบรรทุกขนส่งให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกำหนด

5) ระยะเวลาดำเนินการ
(1) ระยะก่อสร้าง
ดำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะก่อสร้างของ
โครงการ

6) หน่วยงานรับผิดชอบ

KEC•ENCAD•SEA
ก-34
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

ผู้รับเหมาก่อสร้าง โดยการกำกับดูแลของกรม
ทางหลวงชนบท

KEC•ENCAD•SEA
ก-35
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

7) งบประมาณ
(1) ระยะก่อสร้าง
งบประมาณในการปฏิบัติตามมาตรการป้ องกัน
และแก้ไขผลกระทบด้านการคมนาคมขนส่งและเพื่อป้ องกันอุบัติเหตุใน
ระยะก่อสร้าง รวมอยู่ในงบประมาณงานจัดการด้านความปลอดภัย
(2) ระยะดำเนินการและบำรุงรักษา
ค่าใช้จ่ายในการดูแลและบำรุงรักษาสภาพผิว
จราจรบนโครงสร้างทางแยกต่างระดับ ป้ ายจราจร และไฟฟ้ าส่องสว่าง
รวมอยู่ในงบประมาณบำรุงรักษาประจำปี ของกรมทางหลวง กระทรวง
คมนาคม

8) การประเมินผล
กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม ในฐานะ
เจ้าของโครงการ เป็ นผู้ควบคุมและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วย
งานที่รับผิดชอบให้เป็ นไปตามแผนปฏิบัติการที่นำเสนออย่างเคร่งครัด

3.5 แผนปฏิบัติการด้านการประชาสัมพันธ์โครงการและ
แผนการรับเรื่องร้องเรียน

1) หลักการและเหตุผล

KEC•ENCAD•SEA
ก-36
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

การดำเนินการก่อสร้างโครงการจะส่งผลกระทบต่อ
ประชาชนที่มีบ้านเรือนอยู่ใกล้เคียงบริเวณที่จะก่อสร้างสะพาน
นอกจากนีป
้ ระชาชนที่อยู่ใกล้เคียงตลอดจนผู้ใช้เส้นทางอาจได้รับผลก
ระทบจากการพัฒนาโครงการในด้านความไม่สะดวกหรือผลกระทบ
ต่างๆ จากกิจกรรมการก่อสร้าง เช่น ฝุ ่นละออง เสียงดังรบกวน และ
ความสั่นสะเทือน การกีดขวางการสัญจร เป็ นต้น ดังนัน
้ เพื่อเป็ นการ
สร้างความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่และลดผลกระทบที่คาดว่าจะเกิด
ขึน
้ ต่อประชาชน จึงจำเป็ นต้องมีแผนการประชาสัมพันธ์โครงการให้
ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการก่อสร้างโครงการอย่าง
ต่อเนื่อง ตัง้ แต่ก่อนเริ่มกิจกรรมการก่อสร้างโครงการจนถึงระยะสิน
้ สุด
การก่อสร้างโครงการ รวมทัง้ รับฟั งปั ญหาและข้อเสนอแนะที่มีต่อการ
ก่อสร้างของโครงการ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานของ
โครงการให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนในพื้นที่ให้น้อย
ที่สุด

2) วัตถุประสงค์
(1) เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ
ก่อสร้างของโครงการให้ประชาชนในพื้นที่โครงการ ตลอดจนผู้นำท้อง
ถิ่นและหน่วยงานราชการการในพื้นที่ ได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง และมี
ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการก่อสร้างโครงการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-37
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

(2) เพื่อสร้างความเข้าใจที่ดีกับกลุ่มเป้ าหมายใน


เรื่องที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวมถึงรับฟั งปั ญหาและผลกระทบที่เกิด
ขึน
้ จากการพัฒนาโครงการเพื่อนำมาหาวิธีการป้ องกันและแก้ไขให้มี
ประสิทธิภาพและลดผลกระทบต่อประชาชนให้มากที่สุด

KEC•ENCAD•SEA
ก-38
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

3) พื้นที่ดำเนินการ
พื้นที่เป้ าหมายด้านการประชาสัมพันธ์ จุดเริ่มต้น
โครงการบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 406 จนถึงจุดตัดทางหลวง
หมายเลข 421 ตามแนวพื้นที่โครงการ ครอบคลุมพื้นที่ 3 ตำบลในเขต
อำเภอเมืองสตูล ประกอบด้วย ตำบลฉลุง ตำบลบ้านควน และตำบล
ควนขัน

4) วิธีการดำเนินการ
(1) แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ มีราย
ละเอียดดังตารางที่ 3.4-1
ก) การจัดทำป้ ายประชาสัมพันธ์ จัดทำป้ าย
ประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ เพื่อให้ผู้ใช้รถใช้ถนนและประชาชนทราบ
ข้อมูลเกี่ยวกับการก่อสร้างโครงการ โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย ชื่อ
โครงการ สาระสำคัญของโครงการ สถานที่ดำเนินการ ระยะเวลา
ดำเนินการ บริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างและผูค
้ วบคุมงานก่อสร้าง งบ
ประมาณก่อสร้างและที่มาของเงินงบประมาณ พร้อมทัง้ ระบุช่อง
ทางการติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ที่ชัดเจน เพื่อสามารถแจ้งปั ญหากับหน่วย
งานที่รับผิดชอบรับทราบและดำเนินการแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน
้ โดยติด
ตัง้ ป้ ายประชาสัมพันธ์ก่อนเริ่มการก่อสร้าง 3 เดือน ในจุดที่เห็นได้
ชัดเจนจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1) จุดเริ่มต้นโครงการ บริเวณจุดตัดทาง
หลวงหมายเลข 406 2) บริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 404 และ 3)

KEC•ENCAD•SEA
ก-39
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

จุดสิน
้ สุดโครงการ บริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 421 และจะต้อง
ดูแลและบำรุงรักษาป้ ายดังกล่าวให้อยู่ในสภาพดีไปจนสิน
้ สุดการ
ก่อสร้างโครงการ
ข) การจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ผู้รับ
เหมาจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อแจกจ่ายให้แก่
ประชาชน ประกอบด้วย ประชาชนบริเวณพื้นที่โครงการและผู้ใช้เส้น
ทาง บริเวณที่จะมีการก่อสร้าง โดยแจกจ่ายในช่วงก่อนการดำเนินการ
ก่อสร้างเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงการดำเนินงานก่อสร้างของ
โครงการ โดยแผ่นพับควรมีเนื้อหาประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี ้
- เหตุผลความจำเป็ น และ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
- สาระสำคัญของโครงการ
- ผู้ดำเนินการ
- ขัน
้ ตอนและระยะเวลาดำเนินการ
- ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ
- ผลกระทบที่อาจเกิดขึน
้ และ
มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
- งบประมาณและที่มาของงบ
ประมาณ
- ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของโครงการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-40
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนน
เลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

ค) การประชาสัมพันธ์แจ้งข้อมูลข่าวสารผ่าน
ทางเว็บไซต์

KEC•ENCAD•SEA
ก-41
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

ตารางที่ 3.4-1 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ

ช่วงเวลาดำเนิน
แผนการประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
การ
1) การจัดทำป้ ายประชาสัมพันธ์ ประชาชนในพื้นที่ โดยติดตัง้ ป้ าย - ติดตัง้ ก่อน
จัดทำป้ ายประชาสัมพันธ์ขนาด โครงการทัง้ 3 ประชาสัมพันธ์ก่อนเริ่มการ เริ่มการก่อสร้าง
ใหญ่ เพื่อให้ผู้ใช้รถใช้ถนน แห่ง และผู้ใช้เส้น ก่อสร้าง 3 เดือน ในจุดที่ โครงการล่วงหน้า
ประชาชนทราบข้อมูลเกี่ยวกับ ทาง เห็นได้ชัดเจนจำนวน 3 แห่ง 3 เดือน
การก่อสร้างโครงการ โดยมี พื้นที่ดำเนินงาน - ดูแลรักษา
เนื้อหาประกอบด้วย ชื่อโครงการ ป้ ายตลอดระยะ
สาระสำคัญของโครงการ สถานที่ เวลาการก่อสร้าง
ดำเนินการระยะเวลาดำเนินการ โครงการ 3 ปี
บริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างและผู้
ควบคุมงานก่อสร้างงบประมาณ

KEC•ENCAD•SEA ก-42
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

ช่วงเวลาดำเนิน
แผนการประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
การ
และที่มาของเงินงบประมาณและ
เบอร์โทรศัพท์
2) การจัดทำแผ่นพับ ประชาชนในพื้นที่ แจกจ่ายให้แก่ประชาชนใน ก่อนเริม
่ การก่อสร้าง
ประชาสัมพันธ์ โครงการ พื้นที่โครงการ และผู้ใช้เส้น โครงการล่วงหน้า 3
ผู้รับเหมาจัดทำแผ่นพับ ทัง้ 3 แห่ง และผู้ ทาง ดังนี ้ เดือน
ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยแผ่น ใช้เส้นทาง - ประชาชนในชุมชนบริเวณ
พับควรมีเนื้อหาประกอบด้วย พื้นที่ศึกษาและผู้ใช้เส้น
- เหตุผลความจำเป็ นและ ทางที่เกี่ยวข้องกับการ
วัตถุประสงค์ ก่อสร้างโครงการ
- สาระสำคัญของโครงการ
- ผู้ดำเนินการ
- ขัน
้ ตอนและระยะเวลาดำเนิน

KEC•ENCAD•SEA ก-43
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

ช่วงเวลาดำเนิน
แผนการประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
การ
การ
- ผลกระทบที่อาจเกิดขึน
้ และ
มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลก
ระทบ
- งบประมาณและที่มาของงบ
ประมาณ
- ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนของ
โครงการ

KEC•ENCAD•SEA ก-44
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

ตารางที่ 3.4-1 แผนการประชาสัมพันธ์โครงการ (ต่อ)

แผนการ ช่วงเวลาดำเนิน
กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
ประชาสัมพันธ์ การ
3) การรับเรื่องร้อง ประชาชนในพื้นที่ - จัดตัง้ ศูนย์รบ
ั เรื่องร้องเรียนโครงการ -ก่อนเริม
่ การ
เรียน โครงการและผู้ใช้เส้น ได้แก่ ด้านหน้าทีส
่ ำนักงานก่อสร้าง ก่อสร้างโครงการ
จัดให้มต
ี รู้ บ
ั ร้องเรียน ทาง โครงการ ทีส
่ ำนักงานแขวงทางหลวง อย่างน้อย 3 เดือน
ทีเ่ กิดขึน
้ จากการ ชนบทสตูล และสำนักงานองค์กร -ตลอดระยะเวลา
ดำเนินโครงการ ปกครองส่วนท้องถิน
่ ในพื้นที่ การก่อสร้าง
โครงการ โดยภายในศูนย์ประกอบ โครงการ 3 ปี
ด้วย บอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ
และกล่องรับเรื่องร้องเรียน
- รวบรวมข้อมูลจากศูนย์รบ
ั เรื่องร้อง
เรียน มาดำเนินการศึกษาปั ญหาดัง

KEC•ENCAD•SEA ก-45
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

แผนการ ช่วงเวลาดำเนิน
กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
ประชาสัมพันธ์ การ
กล่าวแล้วทำการแก้ไขอย่างเหมาะ
สมโดยเร็ว จากนัน
้ รายงานปั ญหาดัง
กล่าวแล้วทำการแก้ไขอย่างเหมาะ
สมโดยเร็ว จากนัน
้ รายงานปั ญหา
และผลการดำเนินการให้กรม
ทางหลวงชนบทได้รบ
ั ทราบ
4) การ ประชาชนในพื้นที่ - ดำเนินการจดทะเบียนเพื่อเปิ ด - ก่อนเริ่มก่อสร้าง
ประชาสัมพันธ์แจ้ง โครงการและผูใ้ ช้เส้น ใช้งานเว็บไซต์ของโครงการ เพื่อแจ้ง โครงการ
ข้อมูล ทางและผูส
้ นใจทั่วไป ข้อมูลข่าวสารกิจกรรมการก่อสร้าง - ตลอดระยะเวลา
ข่าวสารผ่านทาง ปั ญหาอุปสรรค การดำเนินการตาม การ
เว็บไซต์ มาตรการด้านสิง่ แวดล้อมและการ ก่อสร้างโครงการ
ดำเนินการตามมาตรการแก้ไข

KEC•ENCAD•SEA ก-46
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสำรวจออกแบบ ถนนเลีย
่ งเมืองฝั่ งตะวันตก อ.เมือง จ.สตูล
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 5 (Monthly Progress Report) ภาคผนวก ก ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงาน

แผนการ ช่วงเวลาดำเนิน
กลุ่มเป้ าหมาย วิธีดำเนินการ
ประชาสัมพันธ์ การ
ปั ญหาและผลกระทบ

KEC•ENCAD•SEA ก-47
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมถนนสายแยก ทล.44 – ทล.420
อ.กาญจนดิษฐ์, เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 4 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

(2) แผนการรับเรื่องร้องเรียนของโครงการ
ผู้รับเหมาก่อสร้างจัดตัง้ ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน โดยมีขน
ั้
ตอนการดำเนินงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี ้
ก) จัดให้มต
ี รู้ บ
ั เรื่องร้องเรียนทีเ่ กิดขึน
้ จากการดำเนิน
โครงการไว้ทด
่ี า้ นหน้าทีส
่ ำนักงานก่อสร้างโครงการ ที่สำนักงานแขวงทางหลวง
ชนบทสตูล และสำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่โครงการ โดยมี
หมายเลขโทรศัพท์และระบุช่ อ
ื ผู้ที่สามารถติดต่อได้ ติดตัง้ ไว้บริเวณที่สามารถ
มองเห็นอย่างชัดเจน เพื่อรับทราบปั ญหาขณะดำเนินการก่อสร้าง
ข) เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียนถึงผลกระทบจากการ
ก่อสร้างโครงการแล้ว จะต้องดำเนินการตรวจสอบและทำการแก้ไขอย่างเหมาะ
สม
ค) ติดตามผลการดำเนินการ รวมทัง้ ตอบกลับข้อร้อง
เรียนให้ผู้ได้รับผลกระทบรับทราบโดยเร็ว
โดยขัน
้ ตอนการดำเนินงานรับเรื่องร้องเรียนจากผลกระ
ทบของการดำเนินโครงการแสดงในรูปที่ 3.4-1

ง) ประชาสัมพันธ์ช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน
ของประชาชนผ่านทางเว็บไซต์ของกรมทางหลวงชนบทที่มีอยู่ในปั จจุบัน ดังนี ้
- ทางไปรษณีย์ ที่อยู่กรมทางหลวงชนบท เลข
ที่ 9 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220
หมายเลขโทรศัพท์ 02-5515000 โทรสาร 02-5515896 หรือหน่วยงานของ
กรมทางหลวงชนบทในพื้นที่ต่างจังหวัด

KEC•ENCAD•SEA
ก-2
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมถนนสายแยก ทล.44 – ทล.420
อ.กาญจนดิษฐ์, เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 4 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

- ทางเว็บไซต์กรมทางหลวงชนบท
www.drr.go.th
- ทาง Facebook กรมทางหลวงชนบท 1146
Hotline กรมทางหลวงชนบท
- ทางโทรศัพท์สายด่วนกรมทางหลวงชนบท
1146

5) ระยะเวลาดำเนินการ
- ดำเนินการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าก่อนเริ่มก่อสร้าง
โครงการอย่างน้อย 3 เดือน
- รวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากศูนย์รับเรื่อง
ร้องเรียน และดำเนินการแก้ไขปั ญหาตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง

6) หน่วยงานรับผิดชอบ
ผู้รับเหมาก่อสร้างภายใต้การกำกับดูแลของกรมทางหลวง
ชนบท

7) งบประมาณ
รวมอยู่ในค่าก่อสร้างโครงการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-3
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมถนนสายแยก ทล.44 – ทล.420
อ.กาญจนดิษฐ์, เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 4 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

รูปที่ 3.4-1 ขัน


้ ตอนการดำเนินงานรับเรื่องร้องเรียนจากผลกระทบของการ
ดำเนินโครงการ

KEC•ENCAD•SEA
ก-4
โครงการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมถนนสายแยก ทล.44 – ทล.420
อ.กาญจนดิษฐ์, เมือง จ.สุราษฎร์ธานี
รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 4 (Monthly Progress Report)
ภาคผนวก ก ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน

KEC•ENCAD•SEA
ก-5

You might also like