You are on page 1of 61

PART 1 : Sing Buri Bridge

1
ที่ตั้งโครงการ

2
ความเปนมาของโครงการ

เนื่องจากสะพานบางระจัน (เดิม) กอสรางเมื่อประมาณป พ.ศ.2500 มีอายุการใชงานประมาณ 60 ปเศษ ทําใหเกิดการชํารุด


และคอนกรีตแตกราวหลายจุด แขวงทางหลวงสิงหบุรีจึงไดประสาน ใหศูนยสรางและบูรณะสะพานที่ 3 (ปทุมธานี) มารวมตรวจ
ประเมินสภาพลักษณะความชํารุดเสียหาย
• ขนาดสะพาน ทางรถกวาง 7.00 ม. ขอบทางซาย 1.50 ม. ขวา 0.50 ม. ชวรืง้อสะพานเก
span า (LT.)
IG(2x20.00)+IG(3x60.00)+IG(2x20.00)=260.00 ม.

รื้อสะพานเกา (LT.)

3
รื้อสะพานเกา (LT.)

4
ตัวอยางความเสียหายที่ตรวจสอบพบ

5
การทดสอบกําลังรับแรงอัดคอนกรีตดวยวิธี Rebound Hammer

6
การดําเนินงานเจาะกอนตัวอยางคอนกรีตเพื่อนําไปทดสอบกําลังอัด

7
การทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกภายใตสภาวะตางๆ

8
การทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกภายใตสภาวะตางๆ

9
สรุปผลการตรวจสอบและการทดสอบประเมินโครงสราง
สรุปผลการตรวจสอบและการทดสอบประเมินโครงสรางสะพานเปน 2 แนวทาง
1. ระยะสั้น ซอมแซมชิ้นสวนที่พบความเสียหายหรือการเสื่อมสภาพรุนแรง เพื่อยืดอายุการใชงาน และควรจํากัดนํ้าหนัก
บรรทุกไมเกิน 12 ตัน
2. ระยะยาว เปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ๆไดรับผลกระทบ ขอสรุปคือใหรื้อสะพานเดิมดานซายทาง (LT)
และสรางสะพานใหม 1 ตัวในตําแหนงเดิม ตามมาตรฐาน AASHTO LRFD

กอสรางสะพานใหม
รื้อสะพานเดิม (LT.)

10
สะพานบางระจัน ทางหลวงหมายเลข 311 กม.32+227 LT.

11
Suspension Bridge Extradose Bridge

Box-Segment U-Girder
Steel Br. I-Girder U-Girder Box-Girder
12
เกณฑการคัดเลือก

13
BALANCE ARCH EXTRADOSE STEEL
CANTILEVER TRUSS

สะพานแบบคานยืนสมดุล สะพานเหล็กแบบโค้ง สะพานแบบคานขึง สะพานเหล็กแบบโครงถัก


(Balance cantilever bridge) (Steel arch bridge) (Extradosed bridge) (Steel truss bridge)

14
Arch & Balance Cant & Extradose

No Side Span No Side Span

150m

 Arch Bridge ค่ าก่อสร้ างลดลงเนืองจากไม่ มีสะพานต่ อเนืองด้ านข้ าง


19
Extradose Bridge

21
PART 2 : Concept Design Network Arch

สะพานอารคถายเมือป ค.ศ.1878 พื้นสะพานหิ้วดวยแผนเหล็กถักเปนตาขาย


(Steel strip hanger + Network)
24
25
เปรียบรูปแบบระบบเคเบิ้ลของโครงอารค
1.) ลวดเคเบิ้ลแบบ Vertical เมื่อน้ําหนักกระทําไมเต็มสะพาน ทําใหลวดเคเบิ้ลที่ใกลจุดที่น้ําหนักกระทําจะรับน้ําหนัก
มากกวาลวดเคเบิ้ลที่ไกลออกไป นอกจากนี้การโกงตัวในแนวดิ่ง (Deflection) ของพื้นสะพานมากวาลวดเคเบิ้ล
รูปแบบอื่นๆ (D=L/300)

2.) ลวดเคเบิ้ลแบบ Diagonal (Octavius F. Nielsen, Danish, 1926) ลวดทํามุมเอียงคงที่และไมไขวกัน ทําใหมีการ


กระจายน้ําหนักสูลวดเคเบิ้ลไดดีกวารูปแบบ Vertical และยังมีการโกงตัวในแนวดิ่งของพื้นสะพานนอยกวารูปแบบ
Vertical
Diagonal Diagonal

3.) ลวดเคเบิ้ลแบบ Network (Prof. Per Tveit, Norway, 1950) เคเบิ้ลไขวกันหลายๆครั้ง และทํามุมในแนวทแยง โดย
ที่มุมของลวดเคเบิ้ลไมคงที่ตลอดความยาวคาน (Variance) รูปแบบนี้ถูกพัฒนาตอมาจากรูปแบบ Diagonal ซึ่งจะ
ชวยใหแรงภายในชิ้นสวนตางๆ และการโกงตัวนอยกวา การจัดวางลวดแบบ Diagonal และ Vertical (D=L/3200)

26
Optimal hanger arrangement
 safe/durable
 economic/inexpensive, fast/easy to build
 functional, aesthetic, ecological

Vertical Diagonal

Variance
compression

1. รูปแบบ Nielsen (Diagonal) เกิดแรงอัดในลวดเคเบิ้ลสูงสุดเทากับ


2. ลวดเคเบิ้ลไขวกันหลายๆครั้ง และทํามุมในแนวทแยงแบบไมคงที่
(Variance) พบวาโมเมนตดัดและการโกงตัวลดลง
27
28
29
No. Hanger 35 34 70 80
Area (m2) 0.01010 0.01040 0.00503 0.00439

ขอสรุป คือลวดเครือขาย หรือที่เรียกวา Network เปนรูปแบบ


ลวดเคเบิ้ลดีที่สุด
30
Arrangement type
The 5 hanger arrangements that have been investigated
by Teich are:

(1) Constant angle

(2) Increasing angle

(3) Decreasing angle

(4) Radial arrangement

(5) Equally spaced along main girder


(only middle part)

31
Network & Vertical hanger

DL+SDL, Network : Vertical


Arch = 1:10
Tie = 1:15

DL+SDL+LL(half),
Network : Vertical
Arch & Tie = 1:10

DL+SDL+LL(full),
Network : Vertical
Arch = 1:13
Tie = 1:20
 Network น้ําหนักเหล็กโครงสราง
ลดลง 58%

32
Arch Bridge โครงอารคอยูดานบน

Tsakona Bridge, France 2013, vertical hanger


vertical hanger Greece span=270m, height=50m

saigon vietnam, vertical hanger

33
Arch Bridge โครงอารคอยูดานลาง

Old Port Mann Bridge, Canada

Zhijinghe River Bridge, China

34
Arch Bridge โครงอารคอยูดานบน

Tsakona Bridge Greece, vertical hanger, 90+390m, 20.4m width,


High seismic zone, The deck is not monolithically connected to the arches

35
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน Daninghe Bridge


- Wushan, Chongqing, China ค.ศ. 2009
- Longest arch bridge span 400m,
width 24.5 m, clearance 219m
- Steel arch / Deck concrete

สะพาน Maslenica Bridge


- Southern Croatia ค.ศ. 2005
- Span 155 m , width 10.5 m,
clearance 55m

โครงอารคอยูดานลาง 36
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน ApHae bridge, South Korea


- สะพานอะแพ เชื่อมระหวางเกาะมกโพและ
เกาะอาแพ กอสรางเสร็จสิ้น ค.ศ.2008
- Span 95m - 165m - 95m , width 21.4m
- Steel tied-arch, Diagonal hangers

สะพาน Lowry avenue bridge


- Minnesota, USA. ค.ศ. 2012
- Span 137m, width 33m
- Steel tied-arch bridge, Vertical
hangers

37
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน Bunting Island Bridge


- Kedah state, Malaysia ค.ศ. 2005
- Span 80 m , width 13 m
- Approach span, precast concrete box
beam 30m
- Steel tied-arch, Vertical hangers

สะพาน Caiyuanba Bridge


- Chongqing, China ค.ศ. 2007
- Span 420 m , width 36.5 m
- 6 lanes of traffic and 2 tracks
- Steel tied-arch, Vertical hangers

38
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน Wanzhou Railway Bridge


- Wanzhou District, Chongqing, China
complete in 2005
- Steel truss, Span 360 m
- Railway bridge

สะพาน Xinguang Bridge


- Guangzhou, Guangdong , China ค.ศ.
2008
- Steel arch bridge, Span 428 m
- Steel tied-arch, Vertical hangers

39
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน Chaotianmen Bridge


- Chongqing, China ค.ศ. 2009 Road-rail
bridge over Yangtze river
- Span 552 m, height 142 m, width
36.5m
- Upper deck, 6 traffic and 2 pedestrian
- Lower deck, 2 traffic on each side and
2 tracks in the middle
- Steel tied-arch, Vertical hangers

สะพาน Silver Jubilee Bridge


- Runcorn - Widnes, Cheshire United
Kingdom ค.ศ. 1961
- Span 330 m , width 16 m, height 87m
Designer : Mott, Hay and Anderson
Construction start : 25 April 1956
40
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

สะพาน Bugrinsky Bridge, Novosibirsk


- Russia ค.ศ. 2008-2014
- Span 380 m, Arch height 70m, width
34.5m, 6 lanes
- Steel tied-arch, Network hangers

Cuzco. Perú. 2020


- Network Arch Bridges
- Span 65 and 75m.
- สรางบนตลิ่ง..คอยๆเลื่อนมาบนจุดรองรับ

41
สะพาน Arch Bridge ในตางประเทศ

Lianxiang China Seri Saujana Bridge, Malaysia

Foshan Dongping bridge China Yangtze River Bridge China


42
สะพาน Arch Bridge ในประเทศไทย

สะพานปรีด-ี ธํารง ค.ศ. 1943 (79ป)


- ขามแมน้ําปาสัก อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา
- Arch rib และพื้นสะพานเปนคอนกรีต

สะพานเดชาติวงศ ค.ศ. 1950 (73ป)


- ขามแมน้ําเจาพระยา อ.เมือง จ.นครสวรรค

43
สะพาน Arch Bridge ในประเทศไทย

สะพานทาชมภู หรือสะพานขาว ค.ศ. 1919 (100ป)


- สะพานรถไฟ อ.แมทา จ.ลําพูน
- เปนสะพานโครงถัก คอนกรีตเสริมเหล็ก

สะพานเหล็กแบบโครงถักทองปลา (Deck Sag Truss)


- ใกลสถานีปางตนผึ้ง อ.เมือง จ.อุตรดิตถ
- ศูนยถวงโครงสรางอยูดานลาง โอกาสจะพลิกลม
ดานขาง (Out - plane bending) นอยกวา

44
PART 2 : Network Arch

Tied Arch with Network Cable


46
1.) 4 traffic + 2 pedestrian
2.) h/L=1/5
3.) Deflection : DLL=68mm < Dall (L/1000=150mm)
150m

30m

รูปแสดง PLAN AND ELEVATION 47


Network Cable =2x22 each (19, 27 strands) Parallel wire strand cable
Span =150m, Height=30m (h/L=1/5)
Rib =2.40m (L/62.5)
Tied =2.00m (L/75)
Floor beam =1.40m
Stringer =0.55m Arch Rib

Top Bracing

Network Cable
Stringer
Floor Beam
Tied Beam

48
The Troja Bridge (2014)
Prague, Czech
- Span 262 m, ออกแบบโดย
Mott MacDonald และ
Koucky Architects
- สรางโดย Metrostav
- สะพานมีลักษณะโคงเรียวและ
อัตราสวนความสูงตอชวงต่ํา
- Steel tied-arch, Network
cable

49
รูปแสดงขั้นตอนการกอสราง (1)

50
รูปแสดงขั้นตอนการกอสราง (2)

51
รูปแสดงขั้นตอนการกอสราง FEM(2)

1. ERECT TIED BEAM, ON TEMPORARY SUPPORTS. i


2. ERECT TIED BEAM, FLOOR BEAMS AND STRINGER ii
3. ERECT ARCH RIB ON TEMPORARY SUPPORTS. iii
4. COMPLETE ARCH RIB AND TOP BRACING. iV
5,6,7 ERECT CABLE HANGER ACCORDING TO CABLE FORCE. V
8. CASTING CONCRETE DECK PANELS AND REMOVE TEMPORARY SUPPORT. VI

52
4 lane traffic

53
Network Cable

54
 The top view and elevation view of the bridge. 55
รูปแสดงสวนตางๆของสะพาน 56
STAY ANCHOR DETAILS 57
Cable Stay

รูปแสดงจุดตอในสะพาน (ดานบน) 58
รูปแสดงจุดตอในสะพาน (ดานลาง) 59
รายละเอียด FLOOR BEAM 60
รายละเอียด TIED BEAM 61
รายละเอียด Stringer 62
Initial Cable Force
The allowable stresses
- 0.45 f's for Cable stay
สรุปแรงดึงในลวดเคเบิ้ลภายใตสภาวะการใชงาน - 0.60 f's for Extradosed
63
a) Moment Distribution a) Moment Distribution

b) Axial Force Distribution b) Axial Force Distribution

c) Displacement c) Displacement

No Cable Force Initial Cable Force

64
Cambered geometry
for elimination of dead
load deflection
Desired geometry under
full dead load

Precambered Diagram 65
(One Cable Replacement

a.) แรงในลวดเคเบิ้ลเสนที่เหลือเมื่อเปลี่ยนลวด Cable No. 9


ที่สภาวะการใชงานปกติแรงใน group 1 ของลวดเคเบิ้ล no.9=2251kN เมื่อถอดเปลี่ยนลวดเคเบิ้ล no.9 ทํา
ใหแรงในลวดเคเบิ้ลเสนอื่นเพิ่มสูงขึ้น เชน ลวดเคเบิ้ล no.11 เพิ่มจาก 1942kN เปน 2957kN คิดเปน 0.60fpu
(จุดที่เปลี่ยนลวดเคเบิ้ล..ตองไมมีนํ้าหนักจรบริเวณนั้นอยางนอย 1 เลน, 50% of normal live load)
66
รูปแสดงขั้นตอนการกอสราง FEM(1)

1. ERECT TIED BEAM, ON TEMPORARY SUPPORTS.


2. ERECT TIED BEAM, FLOOR BEAMS AND STRINGER
3. ERECT ARCH RIB ON TEMPORARY SUPPORTS.
4. COMPLETE ARCH RIB AND TOP BRACING.
5,6,7 ERECT CABLE HANGER ACCORDING TO CABLE FORCE.
8. CASTING CONCRETE DECK PANELS AND REMOVE TEMPORARY SUPPORT.
68
IDEA FOR ANALYSIS CABLE SYSTEM

Initial Cable Force


RELATION

Initial Cable Force


KEY

Initial Cable Force

69
จบการนําเสนอ

70

You might also like