You are on page 1of 158

บทที่ 5

ขอกําหนดการเดินสายและวัสดุ
ดุลยทรรศน นวลหงษ
กองวิศวกรรมไฟฟา, ฝายวิศวกรรมไฟฟาและระบบควบคุม
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
โทร 02-4361817
E-mail: dulyatat.n@egat.co.th

1
หัวขอการบรรยาย (Topics)
5.1 การเดินสายระบบแรงต่ํา
5.2 การเดินสายระบบแรงสูง
5.3 การเดินสายเปดหรือเดินลอย (Open wiring)
5.4-5.9 การการเดินสายในทอ
5.10-5.15 การเดินสายในชองเดินสาย (Raceway)
5.16 กลองสําหรับงานไฟฟา (Box)
5.17 Switchboard & Panel board
5.18 สายไฟฟา
5.19 สายเคเบิล Mineral insulated cable (MI)
2
5.1 ขอกําหนดการเดินสายสําหรับระบบแรงต่ํา

„ ขอกําหนดนีค
้ รอบคลุมการเดินสายทัง้ หมด
ยกเวน การเดินสายทีเ่ ปนสวนประกอบภายในของ
บริภัณฑไฟฟา เชน มอเตอร แผงควบคุม
และแผงสวิตชตางๆ ซึ่งประกอบสําเร็จรูป
จากโรงงาน

3
ระบบไฟฟาที่มีแรงดันตางกัน

„ ไฟฟากระแสสลับ (AC) และกระแสตรง (DC) อนุญาตให


ติดตัง้ สายไฟรวมกันได ถาฉนวนของสายมีความเหมาะสม
กับระบบแรงดันสูงสุดที่ใช
„ หามติดตัง้ สายไฟที่ใชกับระบบแรงต่ํารวมกับสายไฟระบบ
แรงสูง
AC Cables DC Cables

400 Vac (0.6 kVac) 50 Vdc (0.6 kVac4)


การปองกันความเสียหายโครงสรางไม

ขอบโครงสรางไม
„ การเดินสายผานโครงสรางไม
รูที่เจาะตองหางจากขอบ > 30 มม.

ไมนอยกวา 30 มม.
รูที่เจาะ

โครงสราางไม
โครงสร งไม

5
การปองกันความเสียหายโครงสรางโลหะ
ขอบโครงสรางโลหะ
บุชชิงยาง

การเดินสายไฟที่เปลือก
นอกไมเปนโลหะ ผาน
โครงสรางโลหะที่เจาะเปน โครงสรางโลหะ
โครงสร างโลหะ
ชองหรือรูตองมี
บุชชิง่ ยาง
6
ความลึกในการติดตั้งใตดิน
ผิวดิน
0.15 m

0.45 m
ทอโลหะหนา (RMC)
ทอโลหะหนาปานกลาง (IMC) 0.60 m

ทออโลหะเชน ทอ PVC และทอ HDPE ฯลฯ


ทอใยหินหุมคอนกรีตเสริมเหล็ก
ทอสายอื่นๆ
เคเบิลฝงดินโดยตรง

สําหรับระบบแรงดันต่ํา
7
การติดตั้งใตดินเมื่อมีแผน concrete ปดทับ
ผิวดิน

CONCRETE
50 mm

0.30 m

0.45 m

ทออโลหะเชน ทอ PVC และทอ HDPE ฯลฯ


ทอใยหินหุมคอนกรีตเสริมเหล็ก
ทอสายอื่นๆ
เคเบิลฝงดินโดยตรง
8
การติดตั้งใตดินบริเวณที่มีรถยนตวิ่งผาน

ทอรอยสาย 0.6 m

9
ตัวอยาง สาย NYY เดินรอยทอโลหะหนาฝงดิน
จงกําหนดความลึกของ A และ B

A = 0.6 ม.
B = 0.15 ม.
เครื่องวัดฯ

สนามหญา
A B

10
การติดตั้งเคเบิลลอดใตอาคาร

1. ตองติดตัง
้ อยูใ นทอรอยสาย
2. ทอรอยสายตองยาวเลยผนังดานนอกของอาคาร

ตัวอาคาร

พื้นดิน พื้นดิน

ทอรอยสายหรือทออื่นที่ยาวออกมานอกอาคาร เคเบิลใตดิน
11
เคเบิลฝงดินโดยตรงแลวโผลขึ้นจากดิน

ตองมีการปองกันอันตรายดวย
เครื่องหอหุม
 หรือทอรอยสาย
สูงจากระดับพื้นดิน 2.40 m เครื่องหอหุมสาย
พื้นดิน
ไมนอยกวา 2.40 เมตร

สายเคเบิล

12
เคเบิลฝงดินโดยตรงแลวโผลขึ้นจากดิน

13
การปองกันความชื้นในทอรอยสาย

ตองอุดทีป่ ลายใด
ปลายหนึ่งหรือทั้งสอง
ปลายของทอรอยสาย อุดทอสาย
เพื่อปองกันความชืน้
ทอสาย

14
การปองกันการผุกรอน
„ อุปกรณตางๆที่ตด
ิ ตั้งควรมีคุณสมบัติดงั นี้
- ใชวัสดุที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอม ที่ตดิ ตั้งใชงาน
- ตองเคลือบดวยวัสดุกันการผุกรอน เชน
สังกะสีแคดเมียม หรือ อีนาเมล (Enamel)

หมายเหตุ การปองกันดวยอีนาเมลไมอนุญาตใหใชใน
สถานที่เปยกหรือภายนอกอาคาร

15
การติดตั้งวัสดุและการจับยึด

ผนัง
สายไฟฟาในชองเดินสาย ทีจ่ ับยึด
แนวดิ่งตองมีการจับยึดที่
ปลายดานบนและจับยึดเปน
24 m ชองเดินสายไฟฟา
95 sq.mm.
ชวงๆ มีระยะไมเกินจากที่
กําหนดในตารางที่ 5-2
ทีจ่ ับยึด

16
การติดตั้งวัสดุและการจับยึด

17
ระยะหางสําหรับการจับยึดสายไฟในแนวดิ่ง
ตารางที่ 5-2
ขนาดของสายไฟฟา ( mm2 ) ระยะจับยึดต่าํ สุด ( m )
ไมเกิน 50 30
70-120 24
150-185 18
240 15
300 12
เกินกวา 300 10

ยกเวน ถาระยะตามแนวดิง่ นอยกวา 25% ของระยะที่กําหนดในตาราง 5-2 ไมตอ งใชที่จับยึด 18


การกําหนดสีของสายไฟหุม
 ฉนวน

สําหรับเฟส 1 สีดํา
สําหรับเฟส 2 สีแดง
สําหรับเฟส 3 สีน้ําเงิน

ตัวนํานิวทรัล ใชสีเทาออนหรือขาว

สายดินใชสีเขียว หรือ สีเขียวแถบเหลือง


หรือเปนสายเปลือย 19
การลดผลของกระแสเหนี่ยวนํา

- สายไฟแกนเดียวทุกเสน
และสายดิน ตองติดตัง้ G N N G
A B C B C A
ในทอรอยสายเดียวกัน สายไฟแกนเดียวในรางเดินสายเดียวกัน

- ถาอยูในรางเดินสาย (Wireways)
A G N
หรือรางเคเบิล (Cable Trays) ให B C
วางเปนกลุม เดียวกัน สายไฟแกนเดียวในทอรอยสายเดียวกัน
20
ตัวอยางการเดินสายทีผ
่ ิด

3
2
1
0

หมอแปลง
21
ตัวอยางการเดินสายทีถ่ ูก

3
2
1
0

หมอแปลง
22
จํานวนสายไฟสูงสุดในทอรอยสาย
ตารางที่ 5-3
พื้นที่หนาตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเสนคิดเปนรอยละเทียบกับพื้นที่หนาตัด
ของทอรอยสาย

จํานวนสายในทอรอยสาย 1 2 3 4 มากกวา 4
สายไฟทุกชนิด
53 31 40 40 40
ยกเวน สายชนิดมีปลอกตะกัว่ หุม
สายไฟชนิดมีปลอกตะกัว่ หุม 55 30 40 38 35
Spacing Index = Total cable cross section / Equivalent cross section

78 . 53 157 . 06
=1 = 0.5
78 . 53 314 . 15

235 . 56 314 . 15
= 0 . 64 บทที่ 5 ขอกําหนดการเดินสายและวัสดุ = 0 . 54 24
366 . 24 583 . 14
การสายในทอรอยสายรวมกับระบบอืน่
„ ในทอรอยสาย รางเคเบิล ชองสําหรับการเดินสาย
( Electrical Shaft ) ตองไมมท
ี อสําหรับงานอื่นเดินรวมดวย
เชน ทอประปา
ทอไฟฟา ทอประปา

Electrical Shaft

25
การติดตั้งไฟฟาผานผนัง

„ การติดตัง ้ ไฟฟาทีผ่ านผนัง ฉากกัน้ พื้นหรือ เพดานหรือ


ชองทอไฟฟา ตองมีการปองกันไมใหไฟลุกลามตามมาตรฐานการ
ปองกันอัคคีภัยของ วสท.
ผนังคอนกรีต ทอสาย

รางเดินสาย
Composite Sheet

แนวของรอยตออุดดวยอุปกรณสาํ หรับอุดรู 26
การเดินสายควบ
„ การเดินสายควบ
การเดินสายควบ ตองมีลักษณะดังนี้
- สายไฟฟาตองมีขนาดไมเล็กกวา 50 ตร.มม.
- เปนสายชนิดเดียวกัน
- ขนาดเทากัน
- ความยาวเทากัน
- มีการตอสายแบบเดียวกัน
27
การเดินสายควบ

ทอรอยสาย
A A
B B
C C
N ทอรอยสาย N

สายควบ

การเดินสายควบตองเดินสายเฟสแยกกันไปในแตละชุด
28
การเดินสายควบที่ผิด (นําสายเฟสมารวมกัน)

29
5.2 ขอกําหนดการเดินสายสําหรับระบบแรงสูง

ขอกําหนดของระบบแรงสูงจะคลายกับ
ระบบแรงต่ํา
แตจะมีขอกําหนดเพิ่มเติมดังนี้

30
การโคงงอของสายไฟแรงสูง
- สายไฟชนิดไมมีปลอกคัน ่ (sheath) ตองมีรัศมีการดัดโคง
ไมนอ ยกวา 8 เทาของเสนผานศูนยกลางภายนอก
- สายไฟชนิดมีปลอกคั่น (sheath) หรือมีเปลือกตะกัว่ ตองมีรัศมี
การดัดโคงไมนอยกวา 12 เทาของเสนผานศูนยกลางภายนอก

สายไฟชนิดไมมีปลอกคั่น สายไฟชนิดมีปลอกคั่น

r > 12 OD
r > 8 OD

31
สาย high volt แบบมีไมมี sheath

สาย high volt แบบมี sheath


32
Lead sheath

33
การติดตั้งใตดินสําหรับระบบแรงสูง
„การติดตั้งใตดิน (ระบบแรงสูง)
- สายใตดนิ (ในทอ) ตองฝงดินลึก ไมนอ ยกวา 0.90 m
ในทุกกรณี

0.90m

34
การติดตั้งใตดินสําหรับระบบแรงสูง
พื้นดิน

แผนคอนกรีต
0.90 m
0.1 m
0.3 - 0.45 m
สายเคเบิล
0.15 m 0.15 m

- ถาเปนสายฝงดินโดยตรงตองมีแผนคอนกรีตหนาไมนอยกวา
100 mm ปดทับอีกชั้นหนึ่ง เหนือสายเคเบิลระหวาง 0.30 m
ถึง 0.45 m แผนคอนกรีตตองกวางพอที่จะปดคลุมออกไปจาก
แนวสายทัง้ สองขาง อยางนอยขางละ 0.15 m 35
5.3 การเดินสายเปดหรือเดินลอย (Open Wiring)
บนวัสดุฉนวน
1. สายที่ใชตอ งเปนสายแกนเดียวและไม
ถูกปดบังดวยโครงสรางอาคาร
2. จับยึดสายดวยลูกตุม  หรือลูกถวย
3. ตองเดินภายนอกอาคาร

การเดินภายในอาคารทําไดเฉพาะ
. โรงงานอุตสาหกรรม
. งานเกษตรกรรม
. งานแสดงสินคา
36
การเดินสายเปดหรือเดินลอย สําหรับระบบแรงต่ํา

„- ตองเปนสายหุม  ฉนวน
„ - สายทีย ่ ึดเกาะไปกับผนัง
หรือกําแพงตองอยูส ูงจาก 2.50 เมตร

พืน้ ไมนอยกวา 2.50 m

ภายในอาคาร
37
การเดินสายเปดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร
ระยะการจับยึด, ระยะหาง และขนาดสาย
ตารางที่ 5-4
ระยะสูงสุด ระยะหางต่ําสุดระหวาง
(เมตร) ขนาดสาย
การ ระหวาง
ใหญสด

ติดตั้ง จุดจับยึดสาย สายไฟฟา สายไฟฟากับ (ตร.มม)
(เมตร) สิ่งปลูกสราง
บนตุม 2.5 0.10 0.025 50
บนลูกถวย 5.0 0.15 0.05 ไมกาํ หนด

ภายในอาคาร 38
การเดินสายเปดบนลูกตุม
 ภายนอกอาคาร

กรณีเดินบนลูกตุม ภายนอกอาคาร
สายไฟแกนเดียว
. ถาเดินผานในที่โลง ขนาดสาย
> 2.5 sq.mm.
ตองไมเล็กกวา 2.5 mm2
และระยะหางจุดจับยึดสาย
ไมเกิน 5.0 m
< 5.0 m
2.5 m
ภายนอกอาคาร ลูกตุม

39
40
การเดินสายเปดบนลูกถวยภายนอกอาคาร

การเดินสายบนลูกถวยนอกอาคารใหเปนไปตามทีก่ าํ หนด
ในตารางที่ 5-5 ภายนอกอาคาร
ระยะสูงสุดระหวาง ระยะหางต่ําสุดระหวาง ขนาดสาย
จุดจับยึดสาย (เมตร) เล็กสุด
(เมตร) สายไฟฟา สายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง (ตร.มม.)
ไมเกิน 10 0.15 0.05 2.5
11-25 0.20 0.05 4
26-40 0.20 0.05 6
41
การติดตั้งสายยึดโยงเสาไฟฟา

„ สําหรับระบบแรงสูง
เสาไ ฟฟ า
- ในกรณีทต ิ ตั้งสายยึดโยง (Guy Wire)
ี่ ด ลวดยึดโ ยง
จะตองติดตั้งลูกถวยสายยึดโยง (Guy ลู กถวย
สายยึดโ ยง
Strain Insulator) ในสายยึดโยง สูงจากพืน ้
ไมนอ ยกวา 2.40 m 2.40 m

- ลวดผูกสายตองมีขนาด
ไมเล็กกวา 10 mm2
การใชสายยึดโยงและ
ลูกถวยสายยึดโยง
42
ลูกถวยสายยึดโยง

43
5.4 การเดินสายในทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และ
ทอโลหะบาง

ทอโลหะหนา Rigid Metal Conduit (RMC)


ทอโลหะหนาปานกลาง Intermediate Metal Conduit ( IMC )
ทอโลหะบาง Electrical Metallic Tubing ( EMT )
44
45
ขอควรระวังในการติดตั้งสําหรับทอโลหะ
ชนิดหนา หนาปานกลาง และบาง
ใชไดกบั ทอทุกชนิด
1. หามใชทอขนาดเล็กกวา 15 มม.
2. จํานวนสายสูงสุดในทอ ตองเปนไปตามตารางที่ 5-3
3. หามใชทอโลหะเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน

สําหรับทอโลหะบาง
1. หามทําเกลียว
2. หามฝงดินโดยตรง
3. หามใชในระบบไฟฟาแรงสูง
46
การตอสายในกลองตอสาย

ปริมาตรของ
สายและฉนวน รวมทั้งหัวตอ
สายเมื่อรวมกันแลวตองไม
เกินรอยละ 75 ของปริมาตร
ภายในกลอง

47
48
มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสาย

90 ํ 90 ํ 90 ํ 90 ํ
- มุมดัดโคงระหวาง กลองไฟฟา กลองไฟฟา
อนุญาต
จุดดึงสายรวมกัน รวมได 90+90+90+90=360 ํ
แลวตองไมเกิน 45 ํ
กลองไฟฟา
360O 90 ํ 90 ํ 90 ํ 90 ํ
กลองไฟฟา 45 ํ
ไมอนุญาต
รวมได 90+90+45+45+90+90=450 ํ
ใชไดกบั ทอทุกชนิด
49
การเดินทอหลบคาน
มุมโคงรวม = 360 องศา

50
51
รัศมีการโคงงอของทอสําหรับทอโลหะ
ชนิดหนา หนาปานกลาง และบาง
ตารางแสดง รัศมีการดัดโคงดานในของทอรอยสาย
ขนาดทอ
(มม) รอยสายชนิดไมมปี ลอกตะกั่ว รอยสายชนิดมีปลอกตะกัว่

> 15 มม. >6 เทาของ OD.ทอ > 10 เทาของ OD.ทอ

= 15 มม. >8 เทาของ OD.ทอ > 12 เทาของ OD.ทอ

52
ระยะหางระหวางจุดจับยึดสําหรับทอโลหะ
ชนิดหนา หนาปานกลาง และบาง
- ทอรอยสายตองยึดกับที่ใหมนั่ คง โดยมีระยะหางระหวางจุดจับ
ยึด ไมเกิน 3.0 m และหางจากกลองตอสาย หรืออุปกรณ
ตางๆ ไมเกิน 0.9 m (ใชกบั หนา, กลาง, บาง)
0.9 m 3.00 m

กลองตอสาย ทอโลหะ
53
54
55
5.5 การเดินสายในทอโลหะออน
(Flexible Metal Conduit)

„ ลักษณะการใชงาน
- ใชในสถานที่แหง
- ใชในที่เขาถึงได เพื่อปองกันการเสียหายทาง
กายภาพหรือเดินซอนสาย
- ใชสําหรับเดินเขาผลิตภัณฑไฟฟาหรือกลองตอ
สาย (ยาวไมเกิน 2 เมตร)
56
ทอโลหะออน

57
กรณีทหี่ ามใชทอ โลหะออน
- ในปลองลิฟตหรือปลองขนของ
- ในหองแบตเตอรี่
- ในบริเวณอันตราย
- ฝงดินหรือฝงในคอนกรีต
- ในสถานที่เปยก ยกเวน ใชสายไฟฟาทีเ่ หมาะสมและ
ติดตัง้ ในทอโลหะออนที่ปองกันน้ําเขาทอ

58
ระยะหางระหวางจุดจับยึดสําหรับ
ทอโลหะออน
- ระยะหางระหวางจุดจับยึด ไมเกิน 1.5 เมตร และหางจาก
กลองตอสาย หรืออุปกรณตางๆ ไมเกิน 0.30 เมตร
0.3 m 1.50 m

ทอโลหะออน
กลองตอสาย

ใชไดกบั ทอโลหะออนกันของเหลวดวย 59
5.6 การเดินสายในทอโลหะออนกันของเหลว
(Liquidtight Flexible Metal Conduit)

„ ลักษณะการใชงาน
- สําหรับการใชงานในสถานทีต่ องการความออนตัวของทอ
- เพื่อปองกันของแข็ง ของเหลว ไอ หรือในบริเวณอันตราย

ทอโลหะออนกันของเหลว
ทอโลหะออน มอเตอร
กันของเหลว

ฝาเพดาน

โคมไฟ
60
ทอโลหะออนกันของเหลว

61
62
5.7 การเดินสายในทอ อโลหะออน
(Electrical Nonmetallic Tubing)

„ ทอมีลก
ั ษณะเปนลอน
(Corrugated)
„ ทนตอความชื้น สารเคมี
และมีคณุ สมบัตต ิ านเปลว
เพลิง
„ ดัดโคงไดดวยมือ

63
ลักษณะการใชงานทออโลหะออน

- หากเดินในสถานที่เปดโลง สถานที่ตองไมมี
ความเสียหายทางกายภาพและใชกับอาคารที่
สูงไมเกิน 3 ชั้น
- หากเดินในที่ซอน เชน ผนัง พื้นหรือเพดาน
ตองกัน้ ดวยแผนที่ทนไฟไดไมนอยกวา 15 นาที
- เดินฝงในคอนกรีต

64
กรณีที่หามใชทอ อโลหะออน

- ในบริเวณอันตราย
- ใชเปนเครื่องแขวนหรือยึดจับดวงโคม
- อุณหภูมิโดยรอบสูงจนทําใหทอเสียหาย
- ฝงในดินโดยตรง
- ในโรงมหรสพ
- แรงดันที่ใชงานเกิน 750 โวลต

65
การติดตั้งใชงานทออโลหะออน
(ในหัวขอ 5.7)
- หามใชทออโลหะออนขนาดเล็กกวา 15 มม. หรือ
ใหญกวา 26 มม
การติดตั้งใชงานทออโลหะออนกันของเหลว
(ในหัวขอ 5.9)
- หามใชทออโลหะออนขนาดเล็กกวา 15 มม. หรือ
ใหญกวา 100 มม
66
การจับยึดทออโลหะออน

- ตองมีการจับยึด ทุกระยะไมเกิน 1.0 เมตร

<1m

ทออโลหะออน
67
5.8 การเดินสายในทออโลหะแข็ง
(Rigid Nonmetallic Tubing)

„ เหมาะสําหรับงานทางไฟฟาทีท
่ นตอความชื้น สารเคมี
„ มีคณ
ุ สมบัตต ิ านเปลวเพลิง (Frame-Retardant) กรณี
ติดตัง้ เหนือพื้นดิน
„ มีคณุ สมบัตท ิ นแสงแดดเมื่อติดตั้งในบริเวณที่มีโอกาสถูก
แสงแดด
„ ทนแรงกระแทกและแรงอัด

68
69
ลักษณะการใชงานทออโลหะแข็ง

- เดินซอนในผนัง พื้นและเพดาน
- ในบริเวณที่ใหเกิดการผุกรอนและเกี่ยวของกับสารเคมี
- ในที่เปยกชืน้
- ในที่เปดโลง โดยไมเกิดความเสียหายทางกายภาพ
- ติดตั้งใตดนิ
- ทออโลหะออนทีต ่ ด
ิ ตั้งตองมีขนาดตั้งแต 15 มม. ขึ้นไป

70
กรณีที่หามใชทออโลหะแข็ง

- ในบริเวณอันตราย
- ใชเปนเครื่องแขวนหรือยึดจับดวงโคม
- ทีซ่ ึ่งมีอุณหภูมิของสายไฟฟาหรืออุณหภูมิโดยรอบ
สูงเกินกวาอุณหภูมิของทอที่ระบุไว
- ในโรงมหรสพ

71
5.9 การเดินสายในทออโลหะออนกันของเหลว (Liquid
Tight Flexible Nonmetallic Conduit)

„ ใชไดทั้งแบบเปดโลง
หรือเดินซอน
„ ในสถานทีท ่ ต
ี่ องการ
ความออนตัวของทอ
„ ปองกันสายไฟชํารุดจาก
ไอ ของเหลวหรือ
ของแข็ง

72
กรณีที่หามใชทออโลหะออนกันของเหลว

- สถานทีซ่ ึ่งอาจเกิดความ
เสียหายทางกายภาพ
- อุณหภูมิโดยรอบสูงเกินกวา
อุณหภูมิวัสดุของทอ
- มีความยาวเกิน 2.0 เมตร
- ในระบบแรงสูง

73
5.10 การเดินสายในชองเดินสายโลหะบนพื้นผิว
(Surface Metal Raceway)
„ ลักษณะการใชงาน
- ใชในสถานที่แหงเทานั้น
„ กรณีทห
ี่ ามใชชอ งเดินสายโลหะบนพื้นผิว
- สถานทีซ่ ึ่งอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
- ในบริเวณที่มไี อทีท
่ ําใหผกุ กรอน
- ในปลองขนของหรือปลองลิฟต
- ในที่ซอน ยกเวน ใตพื้นยก
- ในระบบแรงสูง 74
ชองเดินสายโลหะบนพื้นผิว

75
การติดตั้งใชงานชองเดินสายโลหะ
- ขนาดกระแสของสายไฟฟา
ใชตารางที่ 5-11(ค) กรณีทอโลหะ สําหรับสาย PVC หรือ 5-13 (ข) สําหรับสาย XLPE และ
ไมตองใชคา ตัวคูณลดกระแสเรื่องจํานวนสายตาม ตารางที่ 5-10 เมือ่
เปนไปตามขอตอไปนีท ้ กุ ขอ
1. พื้นที่หนาตัดของชองเดินสายโลหะบนพื้นผิวมากกวา 2,580 mm 2

2. จํานวนสายทีม ่ ีกระแสไหลในชองเดินสายโลหะบนพื้นผิวไมเกิน 30 เสน


3. พืน้ ที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทั้งหมดรวมกันไมเกินรอยละ 20 ของ
พื้นที่หนาตัดภายในชองเดินสายโลหะบนพื้นผิว
76
การติดตั้งใชงานชองเดินสายโลหะ

- หามตอชองเดินสายโลหะบนพืน้ ผิวตรงจุดที่ผา นผนังหรือพื้น


- การตอสาย: พื้นทีห่ นาตัดของสายรวมทั้งหัวตอสาย เมื่อ
รวมกันแลวตองไมเกินรอยละ 75 ของพื้นทีห่ นาตัดภายในของชอง
เดินสายโลหะ บนพืน้ ผิว ณ จุดตอสาย (ไมแนนเกินไป)
- ขอตอ ของอ ที่ใชตอ งตอเนื่องกันทั้งทางกลและไฟฟา
- ปลายชองเดินสายโลหะบนพืน้ ผิวตองปด
- หามใชเปนตัวนําตอลงดิน

77
มาตรฐานความหนาของชองเดินสายโลหะบนพื้นผิว

- มีความหนาไมตา่ํ กวาทีก่ าํ หนดในตาราง 5.6


ขนาดความสูง x กวาง ความหนา
(mm) (mm)
ไมเกิน 50 x 100 0.8
ไมเกิน 100 x 150 1.2
ไมเกิน 100 x 200 1.2
ไมเกิน 150 x 200 1.4
ไมเกิน 150 x 300 1.4
เกิน 150 x 300 1.6

78
5.11 การเดินสายในชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิว
(Surface Nonmetallic Raceway)

„ วัสดุทนความชื้น สารเคมี
„ ไมตด
ิ ไฟ
„ ทนแรงกระแทก
„ ไมบิดเบี้ยวจาก
ความรอนในภาวะใชงาน
„ ใชงานที่อณ
ุ หภูมิตา่ํ ได

79
การเดินสายในชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิว

80
ลักษณะการใชงานชองเดินสายอโลหะ
„ ใชในสถานทีแ่ หงเทานัน้
„ กรณีที่หามใชชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิว
- สถานทีซ่ ึ่งอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
- ในทีซ่ อ น
- ในปลองขนของหรือปลองลิฟต
- ในบริเวณอันตราย
- ในระบบแรงสูง
- ทีซ่ งึ่ มีอณ
ุ หภูมิของสายไฟฟาหรืออุณหภูมิโดยรอบสูงเกิน
กวาอุณหภูมิของชองเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิวทีร่ ะบุไว
81
การติดตั้งใชงานช
าน องเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิว

เหมือนกับ metallic surface raceway

- ขนาดกระแสของสายไฟฟา ใชตารางที่ 5-11(ค) กรณีทออโลหะ


และไมตองใชคา ตัวคูณลดกระแสเรื่องจํานวนสายตาม
ตารางที่ 5-10 เมื่อเปนไปตามขอตอไปนีท
้ กุ ขอ
1 พื้นที่หนาตัดของชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิวมากกวา 2,580 mm2
2 จํานวนสายที่มีกระแสไหลในชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิวไมเกิน 30 เสน
3 พื้นที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทั้งหมดรวมกันไมเกินรอยละ 20 ของ
พื้นที่หนาตัดภายในชองเดินสายอโลหะบนพื้นผิว
82
การติดตั้งใชงานช
าน องเดินสายอโลหะบนพื้นผิว

- หามตอชองเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิวตรงจุดที่ผา นผนังหรือพื้น


- พื้นทีห่ นาตัดของสายรวมทั้งหัวตอสาย เมื่อรวมกันแลวตอง
ไมเกินรอยละ 75 ของพื้นทีห่ นาตัดภายในของชองเดินสาย
อโลหะบนพืน้ ผิว ณ จุดตอสาย
- ปลายชองเดินสายอโลหะบนพืน้ ผิวตองปด

83
5.12 การเดินสายในรางเดินสาย (Wireways)

„ ลักษณะการใชงาน
- ติดตัง้ ในที่เปดโลงเทานั้น
ยกเวน พื้นที่ปดที่ติดตั้งสามารถเขาถึงไดในการตรวจสอบ
บํารุงรักษาตลอดแนวรางเดินสาย
- ติดตั้งภายนอกตองเปนชนิดกันฝน (Raintight) 84
การเดินสายในรางเดินสาย

ขนาดกระแสของสายไฟฟา ไมตอ  งใชคาตัวคูณลดกระแส


เรื่องจํานวนสายตามตารางที่ 5-10 เมือ่ เปนไปตามขอตอไปนีท
้ กุ
ขอ
1. ตัวนําทีม
่ ีกระแสไหลรวมกันไมเกิน 30 เสน

2. พื้นทีห
่ นาตัดของตัวนําและฉนวนทั้งหมดรวมกันไมเกิน
รอยละ 20 ของพื้นทีห่ นาตัดภายในรางเดินสาย

85
ตัวคูณลดคากระแส

86
การติดตั้งใชงานรางเดินสาย

- จุดปลายรางเดินสายตองปด
- จับยึดทุกระยะ 1.50 เมตร หรือมากกวาไดถาจําเปน แต
ตอง ไมเกิน 3.00 เมตร
- ในแนวดิ่งจับยึดทุกระยะไมเกิน 4.50 เมตร และหามมีจุด
ตอเกิน 1 จุดในแตละระยะจับยึด จุดจับยึดตองหางจาก
ปลายรางเดินสายไมเกิน 1.50 เมตร

87
การจับยึดรางเดินสาย

เพดาน
1.50-3.00 m

ภาพหนาตัด
จุดจับยึด
รางเดินสาย
สายไ ฟฟ า

88
89
90
5.13 การติดตัง้ บัสเวย (Busways)
„ ตัวนําเปนทองแดงหรืออลูมิเนียม
„ ลักษณะการใชงาน
- ติดตั้งในที่เปดเผย มองเห็น ตรวจสอบบํารุงรักษาได
ตลอดเวลา
„ กรณีที่หามใชบัสเวย
- บริเวณที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพอยางรุนแรง
- ในปลองขนของหรือปลองลิฟต
- ในบริเวณอันตราย
- กลางแจง สถานทีช่ นื้ หรือเปยก
91
บัสเวย (Busways)

92
การติดตั้งบัสเวย

„ การติดตัง
้ ใชงาน
- ระยะหางระหวางจุดยึดไมเกิน 1.50 เมตร หรือตามการ
ออกแบบของผูผลิต
- การตอแยกบัสเวยตองใชเครื่องประกอบที่ออกแบบมา
โดยเฉพาะและที่จุดตอแยกตองติดตัง้ เครื่องปองกันกระแสเกิน
- ตองไมตด
ิ ตั้งใหสม
ั ผัสกับวัสดุทต
ี่ ด
ิ ไฟไดงาย

93
การติดตั้งบัสเวย

- เปลือกหุม
 โลหะตองตอลงดินและสามารถใช
เปนตัวนําลงดินไดถามีการออกแบบไว
- ขนาดกระแสของบัสเวยใหใชตามที่ผผ
ู ลิตกําหนด
โดยคิดทีอ่ ุณหภูมิโดยรอบ 40 oC

94
5.14 การเดินสายบนผิวหรือเดินสายเกาะผนัง (Surface
Wiring)

„ ลักษณะการใชงาน
- ใชกับการเดินสายแรงต่ําในอาคารทั่วไป
ยกเวน ในบริเวณอันตราย

95
การเดินสายบนผิวหรือเดินสายเกาะผนัง

„ การติดตัง
้ ใชงาน
- ระยะหางระหวางจุดยึดไมเกิน 200 มม.
- การตอและการตอแยกทําในกลองสําหรับงานไฟฟาเทานัน้
- ขนาดกระแสของสายไฟฟา ใชตารางที่ 5-11 (ข) และไม
ตองใชคา ตัวคูณลดกระแสเรื่องจํานวนสาย
- การเดินสายใหติดตั้งเรียงเปนชัน้ เดียว หามติดตัง้ ซอนกัน

96
5.15 การเดินสายในรางเคเบิล (Cable Tray)

„ รางเคเบิล หมายถึง รางเปดซึ่งทําดวยวัสดุไมติด


ไฟใชสาํ หรับรองรับและจับยึดสายเคเบิล

แบบบันได แบบรางมีชองระบายอากาศ

แบบดานลางทึบ
97
สิ่งที่สามารถเดินในรางเคเบิลได

1.สายเคเบิลแกนเดียวชนิดมีเปลือกนอก (NYY)และ
ตองมีขนาดไมเล็กกวา 50 ตร.มม.

2.สามารถติดตั้งสายเคเบิลแกนเดียวชนิดไมมีเปลือก
นอก (THW) ขนาดไมเล็กกวา 50 ตร.มม. ได ในราง
เคเบิลแบบบันได (Ladder) หรือหากใชกบั รางเคเบิล
แบบมีชอ งระบายอากาศ (Tray) ระยะหางระหวางขั้น
บันไดตองไมเกิน 230 mm
98
สิ่งที่สามารถเดินในรางเคเบิลได

3. MI Cable (Mineral Insulated Cable)


MC (Metal-clad Cable)
AC (Armored Cable)

4. ทอรอยสายตางๆ

99
MC (Metal-Clad Cable)

100
AC (Armored Cable)

Armored wire

101
102
103
104
105
106
รางเคเบิลปดทึบดานบน
107
108
กรณีที่หามใชรางเคเบิล
- บริเวณที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
- ในปลองขนของหรือปลองลิฟต
- ในสถานที่ใชงานซึง่ สายมีโอกาสถูกแสงแดดโดยตรง ตอง
ใชสายชนิดทนแสงแดด
- หามใชรางเคเบิลเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน
- หามติดตั้งทอสําหรับงานอืน่ ทีไ่ มใชงานไฟฟา เชน ทอไอ
น้าํ ทอประปา ทอแกส อยูบ นรางเคเบิล

109
การติดตั้งรางเคเบิลและสายเคเบิล

- รางเคเบิลตองตอเนื่องทัง้ ทางกลและทางไฟฟา
- เมือ่ ใชสายเคเบิลแกนเดียว สายเสนไฟแตละวงจร
ตองเดินรวมกันเปนกลุม และสายตองมัดเขาดวยกัน
ปองกันการเกิดกระแสไมสมดุล
และปองกันสายเคเบิลเคลื่อนเมื่อเกิดกระแสลัดวงจร
- การตอสายในรางเคเบิล จุดตอสายตองอยูในราง
เคเบิลและตองไมสูงเลยขอบดานขางของรางเคเบิล
110
จํานวนสายเคเบิลหลายแกน
ระบบแรงต่ําในรางเคเบิล
1. รางเคเบิลทีม
่ ีเฉพาะสายเคเบิลขนาด
รางเคเบิล
ตั้งแต 95 ตร.มม. ขึ้นไป
D D D D
- ผลรวมของเสนผานศูนยกลางของสาย
ทั้งหมดตองไมเกินขนาดความกวางของ
ราง w

- วางเรียงไดชนั้ เดียวเทานัน้ สายเคเบิล> 95 sqmm

> 95 mm2 พิจารณาทีค


่ วามกวาง
111
จํานวนสายเคเบิลหลายแกน
ระบบแรงต่ําในรางเคเบิล
ตาราง 5-7
2. รางเคเบิลทีม ่ ีสายเคเบิลขนาดเล็กกวา 95 ตร.มม.
ผลรวมพื้นทีห่ นาตัดของสายทั้งหมด ตองไมมากกวา
พื้นทีส่ ูงสุดทีก่ าํ หนดในตาราง 5-7 ชองที่ 1 < 95 mm2

3. รางเคเบิลทีม ่ ีสายเคเบิลทีม
่ ีขนาดตัง้ แต 95 ตร.มม. ขึ้นไป
และเล็กกวา 95 ตร.มม. รวมกัน Mix 95 mm2

ผลรวมพื้นทีห่ นาตัดของสายทีม ่ ขี นาดเล็กกวา 95 ตร.มม.


ทั้งหมดตองไมมากกวาพื้นทีส่ ูงสุดทีก่ าํ หนดในตารางที่ 5.7 ชองที่ 2
112
ตารางที่ 5-7 หลายแกน

รางเคเบิลแบบบันไดหรือแบบ
รางเคเบิลแบบดานลางทึบ
รางมีชองระบายอากาศ

< 95 mm2 Mix 95 mm2 < 95 mm2 Mix 95 mm2

113
Sd=dia. of bigger cond.
จํานวนสายเคเบิลหลายแกน
ระบบแรงต่ําในรางเคเบิล
ตาราง 5-7

4. กรณีเดินสายผสมกันสายเคเบิลทีม
่ ีขนาดตัง้ แต 95
ตร.มม. ขึน้ ไปตองวางเรียงกันโดยไมมีสายเคเบิล
อื่นมาวางทับยกเวน สายเล็กกวา 95 ตร.มม.
วางซอนได Mix 95 mm2

114
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว
แรงต่าํ ในรางเคเบิล ตาราง 5-8
120-300 mm2

1. สายเคเบิลทีม
่ ขี นาดตั้งแต 120 ตร.มม. ถึง 300
ตร.มม ผลรวมพืน้ ทีห่ นาตัดของสายตองไมเกิน
จากทีก่ าํ หนดไวในตารางที่ 5-8 ชองที่ 1
2. สายเคเบิลทีม
่ ขี นาดตั้งแต 400 ตร.มม. ผสม
กับสายขนาดเล็กกวา 400 ตร.มม ผลรวม
พื้นทีห่ นาตัดของสายตองไมเกิน Mix 400 mm2
จากทีก่ าํ หนดไวในตารางที่ 5-8 ชองที่ 2
115
120-300 mm2 Mix 400 mm2

116
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว
แรงต่ําในรางเคเบิล
3. สายเคเบิลทีม
่ ขี นาดตั้งแต 50 ตร.มม. ถึง 95 ตร.มม.

4. รางทีม
่ ีเฉพาะสายเคเบิลทีม
่ ขี นาดตั้งแต 400
ตร.มม. ขึ้นไป

“ผลรวมเสนผาศูนยกลางรวมฉนวนและเปลือกสาย
ทั้งหมดตองไมเกินขนาดความกวางของรางเคเบิล”
117
ตัวอยางการคํานวณ ตาราง 5-7
การเดินสายหลายแกนในรางเคเบิล
สาย NYY แบบ 2 แกน ขนาด 70 mm2 จํานวน 15 เสน
ตองการเดินบน Cable tray แบบมีชอ งระบายอากาศ
จะตองใชขนาดความกวางต่าํ สุดเทาใด

กําหนดใหสายขนาด 70 mm2 มีพื้นที่หนาตัดรวม 1288.2 mm2


มีสาย 15 เสน ดังนั้น พท. หนาตัดรวม
เทากับ 1288.2 x 15 = 19323 mm2
จากตารางที่ 5-7 ชองที่ 1 เลือกใชรางเคเบิล 750 mm2
มี พ.ท. หนาตัด 22500 mm2
118
ตัวอยางการคํานวณ ตาราง 5-8
การเดินสายหลายแกนในรางเคเบิล
สาย THW แกนเดีย่ วขนาด 500 mm2 (> 400 mm2)
จํานวน 8 เสนเดินบน Cable tray แบบบันใดขนาด 600 mm
จะสามารถวางสาย THW ขนาด 150 mm2 ไดอีกกี่เสน
กําหนดใหสาย THW ขนาด 500 mm2 มีเสนผาศูนยกลาง 38.0 mm
Cable tray ขนาด 600 mm = 16500 - (27.9 x Sd)
= 16500 - (27.9 x 8 x 38.0)
= 8018.4 mm2
กําหนดใหสาย THW ขนาด 150 mm2 มีพท. หนาตัด 363.1 mm2
ดังนั้นสามารถวางบน cable tray ได = 8018.4/363.1 = 22 เสน
119
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว XLPE
แรงต่ําในรางเคเบิล
ขนาดสายหาไดจากตารางที่ 5-13 (ก) Derating

รางเคเบิลแบบเปด
- สายเคเบิลขนาดตั้งแต 300 mm2 ขึ้นไปใชขนาดกระแสได
ไมเกินรอยละ 75 ของขนาดกระแสทีก่ าํ หนด

- สายเคเบิลขนาดตั้งแต 50 mm2 ขึ้นไปแตนอ ยกวา 300 mm2


ขนาดกระแสใชไดไมเกินรอยละ 65 ของขนาดกระแส
120
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว XLPE
แรงต่ําในรางเคเบิล

รางเคเบิลแบบปดตลอดดวยฝาทึบยาวเกิน 1.80 m

- สายเคเบิลขนาดตั้งแต 300 mm2 ขึ้นไปขนาดกระแสใชได


ไมเกินรอยละ 70 ของขนาดกระแสทีก่ าํ หนด

- สายเคเบิลขนาดตั้งแต 300 mm2 ขึ้นไปขนาดกระแสใชได


ไมเกินรอยละ 60 ของขนาดกระแสทีก่ าํ หนด

121
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว XLPE
แรงต่ําในรางเคเบิล
X > 50 mm2

- สายเคเบิลขนาดตั้งแต 50 mm2 ขึ้นไป วางเปนรูปสามเหลีย่ ม ใน


รางเคเบิลเปด โดยมีระยะหางระหวางกลุม
 เคเบิล ไมนอ ยกวา 2.15
เทาของเสนผานศูนยกลางของสายเคเบิล ขนาดกระแสใหใชไดไม
เกินรอยละ 85 ของขนาดกระแสทีก่ าํ หนด

-สายขนาด ตั้งแต 50 mm2 ขึ้นไป แตละเสนวางหางกัน


ไมนอ ยกวาขนาดเสนผานศูนยกลางของสายเคเบิลเสนที่โตกวา
ทีอ่ ยูใ กลกนั ขนาดกระแสใหใชคา กระแสทีก่ าํ หนด
122
จํานวนสายเคเบิลหลายแกน XLPE
แรงต่ําในรางเคเบิล

„ ขนาดสายหาไดจากตารางที่ 5-13 (ข)


„ ยกเวนรางเคเบิลแบบปดทึบความยาวเกิน 1.80 m
ใหลดขนาดกระแสเหลือรอยละ 95 ของกระแสทีก่ าํ หนด

123
จํานวนสายระบบแรงสูงในรางเคเบิล

“ผลรวมของเสนผานศูนยกลางของสายเคเบิล
แกนเดียวและหลายแกนทั้งหมดรวมกันตองไม
เกินความกวางของรางเคเบิล”

W > Sum OD

124
จํานวนสายเคเบิลแกนเดียว
ระบบแรงสูงในรางเคเบิล
X > 50 mm2
- ขนาดกระแสของสายเคเบิลแกนเดียวขนาดตั้งแต 50 mm2 ขึ้นไป
ติดตัง้ ในรางเคเบิลแบบเปดใหใชไดไมเกินรอยละ75 ของขนาด
กระแส
- ถาเปนรางเคเบิลแบบปดยาวเกิน 1.80 m ขนาดกระแสใชไดไมเกิน
รอยละ 70 ของขนาดกระแส
- การติดตัง้ รางเคเบิลแกนเดียวขนาดตั้งแต 50 mm2 ขึ้นไป แตละ
เสนวางหางกันไมนอ ยกวาขนาดเสนผานศูนยกลางของสายเคเบิล

125
5.16 กลองสําหรับงานไฟฟา (Box)
„ ทําดวยวัสดุทนการผุกรอน
„ มีการปองกันที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอก
เชนเคลือบสี หรืออาบสังกะสี

126
กลองตอสาย

„ลักษณะการใชงาน
- สําหรับจุดตอไฟฟาของสวิตชหรืออุปกรณ
- ตอสาย
- ดึงสาย
- แยกสาย

127
การติดตั้งใชงานกลองไฟฟา
- เมือ่ ติดตั้งกลองแลว ตองเขาถึงไดโดยไมตอ งรื้อ สวนใดสวน
หนึ่งของอาคาร และตองมีที่วางใหสามารถทํางานไดสะดวก
- ตองมีฝาปดที่เหมาะสมและปดอยางแนนหนา
- กลองที่ใชกบั อุปกรณแรงสูงตองมีปา ย “อันตราย
ไฟฟาแรงสูง” ติดไวอยางถาวรและเห็นไดชดั
- ตองมีบชุ ชิง่ หรือเครื่องประกอบทีม ่ ีขอบมนเรียบ
- กลองตองไมมีรหู รือชองที่โตพอใหวัตถุทมี่ ีเสนผาศูนยกลางขนาด
7.5 มม. ลอดได
128
5.17 แผงสวิตชและแผงยอย
(Switchboard and Panelboard)
„ การติดตัง
้ ใชงาน
„ การยึดและการจัดบัสบาร
และตัวนํา
„ แผงสวิตช
( SWITCHBOARD )
„ แผงยอย
( PANELBOARD )

129
แผงสวิตชและแผงยอย

„ การติดตั้ง
- อยูในหองหรือทีเ่ ฉพาะ
- หามมีทอ ลม ทองานอื่น หรือบริภัณฑสําหรับงานอื่น ติดตั้ง
เหนือหรืออยูใตแผงสวิตช หรือทางเดินเขาสูหอง

130
แผงสวิตชและแผงยอย

„ แผงสวิตช ( SWITCHBOARD )
- สวนบนของแผงสวิตชตองอยูหางจากเพดาน
ที่ติดไฟไดไมนอยกวา 0.90 m

131
การติดตั้งแผงสวิตชและแผงยอย

„ แผงยอย ( Panelboard )
- การติดตั้งแผงยอยในสถานทีเ่ ปยกหรือชื้นตองมีพื้นรองรับไม
นอยกวา 5 mm
- แผงยอยที่ประกอบดวยสวิตชธรรมดาขนาดไมเกิน
30 A หลายตัวตองมีเครื่องปองกันกระแสเกินทีม
่ พ
ี ิกด
ั ไมเกิน
200 A
- เครื่องปองกันกระแสเกินในแตละแผงยอยตองไมเกิน 42 ขั้วไม
รวมขั้วที่เปนประธาน
132
ขอกําหนดโครงสรางบัสบารและตัวนํา

„ ขอกําหนดโครงสราง
- ใบมีดทีเ่ ปดโลงของสวิตชใบมีดตองไมมไี ฟเมื่อ
อยูในตําแหนงปลด
- แผงสวิตชตอ งมีระยะหางระหวาง บัสบารกบั ดานลางของตู
200 mm สําหรับบัสบารหม ุ ฉนวน
250 mm สําหรับบัสบารเปลือย
133
ระยะหางของบัสบาร ตารางที่ 5-9

„ ระยะหางต่ําสุดระหวางสวนที่มีไฟฟาเปลือย (mm)
แรงดันระหวาง ขั้วตางกันบน ขั้วตางกัน เมือ่ สวนทีม
่ ีไฟฟา
สายเสนไฟ พื้นผิวเดียวกัน ขึงในอากาศ เปลือยกับดิน
<125 19 12.5 12.5
<250 31.5 19 12.5
<750 50 25 25
134
การจัดเฟสบัสบารสําหรับแผงสวิตชแรงสูง

- ในการทําเครื่องหมาย ใหใชสแ
ี ดง เหลือง น้ําเงิน
สําหรับเฟส R Y B ตามลําดับ
- การจัดเฟสของบัสบารในแผงสวิตช เมื่อมองจากดานหนาให
อยูในลักษณะ
R
R Y B เรียงบนลงลาง
Y
เรียงซายไปขวา
B
135
ขอกําหนดเพิ่มเติมสําหรับแผงสวิตชแรงสูง

- ตองจัดใหมีบัสตอลงดิน ( Grounded Bus ) ทําดวย ทองแดงมี


ขนาดไมเล็กกวา
95 mm2 สําหรับระบบ 12 kV
50 mm2 สําหรับระบบ 24 kV
35 mm2 สําหรับระบบ 33 kV
- ตัวนําสําหรับตอลงดินของกับดักเสิรจตอง
ทนแรงดันไมนอยกวา 750 V
136
5.18 สายไฟฟา

„ การเลือกสายไฟฟาที่เหมาะสม
ขอกําหนดที่จะตองพิจารณาในการเลือกสายไฟฟา ไดแก
- พิกด
ั แรงดัน ( Voltage Rating )
- พิกด
ั กระแส ( Current Rating )
- สายควบ ( Multiple Conductors )
- แรงดันตก ( Voltage Drop )

137
พิกด
ั แรงดันและกระแส
พิกด
ั แรงดัน
สายไฟฟาตองสามารถทนตอแรงดันใชงานไดตาม มอก.11-
2531 ไดกําหนดแรงดันใชงานเอาไว 2 ระดับคือ 300 V และ
750 V
ขนาดพิกด
ั กระแส
- ใหใชตามตารางที่ 5-11 ถึง 5-15
o
- ขนาดตามตาราง ใชสาํ หรับอุณหภูมิโดยรอบ 30 C และ
o
40 C แลวแตกรณี (ในอากาศ หรือใตดนิ ) 138
ปจจัยที่สงผลตอพิกัดกระแส

- อุณหภูมิโดยรอบ ถาอุณหภูมิบริเวณรอบๆ ของ


สายไฟฟาที่ใชมีคา สูงขึ้น ก็จะสงผลใหคาพิกด
ั ของกระแส
ลดลงจากคาปกติ
- การถายเทอากาศ สายไฟฟาติดตัง้ ในบริเวณที่อากาศ
ถายเทไดสะดวก ก็จะมีคาพิกด
ั กระแสสูงกวากรณีที่ตด
ิ ตัง้ ใน
บริเวณอากาศถายเทไมสะดวก

139
การใชตัวคูณลดคากระแส

- จํานวนสาย มากกวา 3 เสนในชองเดินสายไฟฟา


เดียวกันใหใชตัวคูณลดคากระแสเนื่องจากจํานวนสาย
ตาม ตารางที่ 5-10
- o
อุณหภูมิโดยรอบ ตางจาก 30 C (กรณีสายใตดนิ ) หรือ
o
ตางจาก 40 C (กรณีเดินในอากาศ) ใหคูณคาขนาดกระแส
ดวยตัวคูณลด
140
การใชตัวคูณลดคากระแส

ตารางที่ 5-10 ตัวคูณลดคากระแสเนื่องจากจํานวนสาย


หลายเสนในชองเดินสายไฟฟาเดียวกัน
จํานวนสาย ตัวคูณ
4-6 0.82
7-9 0.72
10-20 0.56
21-30 0.48
31-40 0.44
เกิน 40 0.38

141
การใชตัวคูณลดคากระแส
ตารางที่ 5-11 อุณหภูมิโดยรอบตางจาก 30 oC (กรณีสาย
ใตดิน) 40 oC (กรณีเดินในอากาศ) ใหคูณคาขนาดกระแส
ดวยตัวคูณลด ดังนี้

142
ตัวอยางผลของอุณหภูมิ

„ โหลดขนาด 40 kVA, 380 V, 3 เฟส จงหาขนาดของ


สายไฟฉนวน PVC ตาราง 5-11 เดินในทอโลหะรอย
สายในอากาศ อุณหภูมิโดยรอบดังนี้
1. 40 oC
2. 55 oC

143
ตัวอยางผลของอุณหภูมิ

1. Temp 40 oC จาก ตาราง 5-13 ไมตองใชตัวคูณลด

40 x103
IL = = 60.8 A
3 x380

จาก ตาราง 5-11 การเดินสายแบบ ค. ในทอโลหะ


ใชสายขนาด 3 x 25 mm2 (77 A)
144
ตัวอยางผลของอุณหภูมิ

2. Temp 55 oC จาก ตาราง 5-13 ตองใชตัวคูณลด 0.71

3
40 x10
IL = = 60.8 A
3 x380
จาก ตาราง 5-11
ใชตัวคูณลด การเดินสายแบบ ค. รอยทอใน
60.8 อากาศใชสายขนาด 3 x 35 mm2
IC ≥ = 85.6 A (95 A)
0.71
145
ขอกําหนดของตัวนํานิวทรัล ( Neutral )

ในระบบ 3 เฟส ใหนบั ตัวนํานิวทรัลดวยเมื่อ

โหลดสวนใหญ (มากกวารอยละ 50 ) ประกอบดวยหลอด


ชนิดปลอยประจุ เชน หลอดฟลูออเรสเซนต หรืออุปกรณ
อื่นทีม
่ ลี กั ษณะ คลายกันทีท
่ าํ ใหเกิดกระแสฮารมอนิกใน
ตัวนํานิวทรัล

146
ตัวอยางผลกระแสฮารมอ
มอนิก

„ จงหาขนาดสายปอนของวงจรโหลดแสงสวางของโรงงานอุสาหกรรม
(demand factor 100% ) ขนาด 55 kVA,
3 เฟส, 380 V เดินในทอโลหะรอยสายในอากาศ สายไฟฉนวน PVC
ตาราง 5-11

กรณีที่ 1: โหลดมากกวา 50 % เปนหลอดฟลูออเรสเซนต


กรณีที่ 2: โหลดมากกวา 50 % เปน Resistive load
หมายเหตุ: การคิด demand factor
ใหไปดูรายละเอียดในบทที่ 3: ตารางที่ 3-1 147
ตัวอยางผลกระแสฮารมอ
มอนิก
„ กระแสโหลดของสายปอน 55 kVA, 380 V,
3 เฟสหาไดดงั นี้ 55 x103
IL = = 83.5 A
3 x380

พิจารณาโหลดมากกวา 50 % เปนหลอด FL
ดังนัน้ จึงตองนับสายนิวทรัลดวย (สายรวมจึงเปน 4 เสน)

83.5 ใชตัวคูณลด 0.82 จาก


IC ≥ = 101.8 A
0.82 ตาราง 5-10
148
ตัวอยางผลกระแสฮารมอ
มอนิก

การเดินสายแบบ ค. ตาราง 5-11


ใชสายเฟสขนาด 3 x 50 mm2 (119 A)
สายนิวทรัล 1x50 mm2 (119 A)

หมายเหตุ กระแสโหลด < 200 A สายเฟส = สายนิวทรัล


> 200 A สวนเกินคิด 70 %
149
ตัวอยางผลกระแสฮารมอ
มอนิก

พิจารณาโหลดมากกวา 50 % เปน resistive load


ดังนัน้ ไมตองนับสายนิวทรัล (จํานวนสายจึงไมเกิน 3 เสน)
3
55 x10
IL = = 83.5 A
3 x380
จาก ตาราง 5-11 การเดินสายแบบ ค.
ใชสายขนาด 4 x 35 mm2 (95 A)
150
ขอกําหนดการใชงานของสาย XLPE

“การติดตั้งภายในอาคารตอง
 มิดชิด”
เดินในชองเดินสายที่ปด

ยกเวน ฉนวน XLPE ที่มี


การผสมสารเพื่อใหมีคุณสมบัติไมไหมลุกลาม

151
5.19 เคเบิลชนิดเอ็มไอ
( Mineral Insulated Cable )
„ เคเบิลเปลือกโลหะทีต
่ วั นําไฟฟาหุม
 ดวยฉนวนแรแบบชนิดเอ็ม
ไอ ประกอบดวยตัวนําเดียวหรือมากกวา มีฉนวนเปนแรทถี่ กู
อัดแรงอยางสูงและถูกลอมในปลอกทองแดงอยางตอเนื่องซึ่ง
กันของเหลวและกันกาซ

152
เคเบิลแบบชนิดเอ็มไออนุญาตใหใชดังตอไปนี้

1. ใชเปนสายประธาน สายปอน และสายวงจรยอย


2. ในสถานทีแ่ หง ที่เปยก หรือที่ชื้นตลอดเวลา
3. ในอาคารหรือนอกอาคาร
4. ในที่เปดโลงหรือทีซ่ อน
5. ฝงในปูน คอนกรีต ดินหรือในอิฐ

ขนาดกระแสเปนตามตารางที่ 5-17 และ ตารางที่ 5-18


153
ขอหามสําหรับสาย MI

เคเบิลแบบชนิดเอ็มไอหามใชในที่เปดโลงตอสภาวะที่ทํา
ใหเกิดการผุกรอนได

ยกเวน ในที่มีการปองกันดวยสารที่เหมาะสมใน สภาวะ


นั้นแลว

154
การติดตั้งสาย MI

1. ที่รองรับเคเบิลแบบชนิดเอ็มไอตองถูกยึดอยาง
มั่นคงชวงละไมเกิน 1.80 m
2. การงอเคเบิลแบบชนิดเอ็มไอตองไมเปน
อันตรายตอเคเบิล รัศมีความโคงของขอบใน
ตองไมนอยกวา 5 เทาของเสนผานศูนยกลาง
ของเคเบิล
155
รัศมีความโคงของสายเคเบิล MI

r > 5 OD

156
ขอกําหนดเกี่ยวกับโครงสรางสาย MI

1. ตัวนําของเคเบิลแบบชนิดเอ็มไอ ตองเปนทองแดงเดี่ยวมี
พื้นทีภ่ าคตัดขวางตามกําหนด

2. ฉนวนที่หุมสายตัวนําของเคเบิลแบบชนิดเอ็มไอ ตองเปนแรที่ถกู รีด


อัดอยางแรงที่จะมีระยะหางระหวางตัวนําอยางเหมาะสม

3.เปลือกนอกของเคเบิลแบบชนิดเอ็มไอตองเปนทองแดงที่มีโครงสราง
ตอเนือ่ งเพื่อปองกันแรงกลผนึกความชื้นและเพียงพอตาม
วัตถุประสงคในการตอลงดิน
157
Thank You

158

You might also like