You are on page 1of 102

หลักดิ น

Grounding Electrode
(3)
ผศ. พิ ทยพัฒน์

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 1
1. ดิ น ( Earth )

- เป็ นจุดอ้างอิ ง สามารถรองรับกระแสต่างๆ

-
ของสถานประกอบการต่างๆ
-
เท่ากับดิ นคือเป็ นศูนย์

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 2
ในการศึกษา สภาพการนําไฟฟ้ าของดิ น เราจะทําการ
ศึกษา ความต้านทานจําเพาะของดิ น (  ) แทน

 = 1/
 คือ ความต้านทานจําเพาะของดิ น (  - m )
 คือ สภาพการนําไฟฟ้ าของดิ น ( Mho/m )

( 10 - 100  - m )
แสดงว่ามีสภาพการนําไฟฟ้ าดี
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 3
ความต้านทานจําเพาะของดิ น (  )

องค์ประกอบต่างๆ

- ( Saline Water )
- องค์ประกอบของดิ น ( Compositions )
- ขนาดของอนุภาคดิ น ( Size of Particles )
- ความหนาแน่ นของดิ น ( Compactness )
- อุณหภูมิ ( Temperature )
- ( Moisture )
- ( Weather Conditions )
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 4
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 5
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 6
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 7
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 8
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 9
ตัวอย่าง ความต้านทานจําเพาะของดิ นชนิ ด ต่างๆ
ดังแสดงในตาราง
ชนิ ดของดิ น
(-m)
ดิ นผสมวัชพืชเปี ยก 10
100
ดิ นแห้ง 1000
ทราย 500 - 1000
หิ นแข็ง 10000

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 10
2. หลักดิ น ( Grounding Electrode )

2.1 นิ ยาม

หลักดิ น ต่อโดยตรงเข้ากับดิ น

และ อุปกรณ์ไฟฟ้ าเข้ากับดิ น ดิ นถือว่ามีศกั ดาเป็ นศูนย์

กระจายแรงดันเกิ น
ฟ้ าผ่า หรือเตะกับระบบ HV เข้าไปในดิ น
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 11
มักมีผเ้ ู ข้าใจผิดอยู่เสมอว่า

- การนํากระแสลัดวงจร

- แต่ในความเป็ นจริ งแล้ว หลักดิ นไม่อาจ

หลักดิ นกับอุปกรณ์ป้องกัน มี อิ มพีแดนซ์สงู


ทําให้กระแสไม่เพียงพอ
อุปกรณ์ป้องกันทํางาน
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 12
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 13
2.2 ความต้านทานของหลักดิ น

ความต้านทาน ( ค.ต.ท. ) ของหลักดิ น

ความต้านทาน ( ค.ต.ท. ) ของหลักดิ น ประกอบด้วย


1 ค.ต.ท.
2 ค.ต.ท. ส่วนสัมผัสระหว่างหลักดิ นกับดิ น
3 ค.ต.ท.
( Infinite Earth )

ค.ต.ท. 2 ส่วนแรก มีค่าน้ อย


ค.ต.ท. 3 จะเป็ น ค.ต.ท. ของหลักดิ น
ผศ. 14
อาจดูเป็ น รูปทรงกระบอก Concentric Shell

.ต.ท. จะสูง

ค.ต.ท.

ผศ. 15
ผศ. 16
จากรูปแสดง
d = ⅝ in ( 14.2 mm )
l = 10 ft ( 3 m )

ทางกระแสไหลออกจากดิ นจะเป็ นรูป


Cylindrical and hemispherical shells

Shells
ค่า ค.ต.ท. จะลดลง
ผศ. 17
จากตาราง แสดงให้เห็นว่า

ระยะ 0.1 ft ( 0.03 m ) ค.ต.ท. จะเป็ น 25 %


ระยะ 0.5 ft ( 0.15 m ) ค.ต.ท. จะเป็ น 52 %
ระยะ 1.0 ft ( 0.30 m ) ค.ต.ท. จะเป็ น 68 %

ถ้าให้ Remote Earth 25 ft ( 7.6 m )

ค.ต.ท. หลักดิ น เป็ น 100 %

ผศ. 18
ผศ. 19
จะเห็นได้ว่า
มีความสําคัญมากต่อ ค.ต.ท. ของหลักดิ น

การลดค่า ค.ต.ท. ของหลักดิ น


คือการลดค่าความต้านทานจําเพาะ
โดยการใช้วิธี

Chemical Treatment

Ground Enhancement Material


ผศ. 20
Chemical Treatment

- Listed Electrodes
- Known as chemical rods
- Have chemicals inside copper tubing
and weep or drain holes to permit the chemicals
to leach into the soil to enhance the earth connection
- An access cover is provided to permit chemicals
to be added as deeded over time
- These copper tubing grounding electrodes
cannot be driven , so a hole must be excavated or bored
to permit their installation
ผศ. 21
ผศ. 22
Ground Enhancement Material

Soil Treatment to Lower Ground Resistance

IEEE Std 80-2013: Page 70, Clauses 14.5d

ผศ. 23
• Applicable to Encase the Electrode
( Same as Concrete Encased Electrode )
• Very Low Resistivity
• Permanent
• Environment Friendly , Not Leach any
Chemical into the Ground

ผศ. 24
Soil Treatment to Lower Ground Resistance

Ground Enhancement Material

is an alternate solution for effectively

by modifying the soil surrounding

the electrode, typically placed around

the rod in augered hole or around

grounding conductors in trench.

ผศ. 25
MEG Encased Ground Rod Calculation
Rod 5/8”( 14.2 mm ) x 3m Only

ผศ. 26
Rod with MEG Ø 15cm

ผศ. 27
2.3 ค่าความต้านทานของหลักดิ น

วสท. 4 การต่อลงดิ นกําหนดให้


- ค่าความต้านทานของหลักดิ นกับดิ นต้อง ไม่เกิ น 5 
- ถ้าความต้านทานของ
หลักดิ น เกิ น 5  และทางการไฟฟ้ าเห็นชอบ
อาจกําหนดให้มีค่า ไม่เกิ น 25  ได้

NEC 250 Grounding and Bonding


- Not over 25 
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 28
3. หลักดิ นแบบต่างๆ

และ สัมผัสกับดิ นอย่างดี

สามารถทําได้หลายแบบ 2 มาตรฐาน

1. หลักดิ นตามมาตรฐานของ วสท.

2. หลักดิ นตาม NEC 250


ผศ. พิ ทยพัฒน์ 29
หลักดิ นตาม มาตรฐานของ วสท. 2

1 ) แท่งเหล็กชุบด้วยทองแดง ( Copper-Bonded Steel )

- แท่งทองแดง ( Solid Copper )

- แท่งเหล็กอาบสังกะสี ( Hot-dip Galvanized Steel )


เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 ( 14.2 mm )
ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 m

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 30
2 ) แผ่นตัวนําชนิ ดป้ องกันการผุกร่อน
- 0.18 m2
- เหล็กอาบโลหะชนิ ดกันการผุกร่อนต้อง
หนาไม่น้อยกว่า 6 mm
- ไม่น้อยกว่า 1.50 mm
3) หรือ
โลหะผสมอะลูมิเนี ยมเป็ นหลัก ดิ น
4 ) ยอมให้ใช้ และมีการ
ต่อลงดิ นอย่างถูกต้อง โดยมี
ค่าความต้านทาน ไม่เกิ น 5 
5) ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 31
Grounding Electrodes to
NEC 250 Grounding and Bonding
(1) Metal Underground Water Pipe.
(2) Metal Frame of the Building or Structure.
(3) Concrete - Encased Electrode.
(4) Ground Ring.
(5) Rod and Pipe Electrodes.
(6) Other Listed Electrodes.
(7) Plate Electrodes.
(8) Other Local Metal Underground Systems
or Structures.
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 32
Grounding Electrode System

All grounding electrodes as described


that are present at each building or structure served

shall be bonded together


to form the Grounding Electrode System.

ผศ. 33
ผศ. 34
Bonding Jumper

Bonding Jumper

สําหรับ Grounding Electrode

Grounding Electrode System

ใช้ขนาดไม่เล็กกว่า 35 mm2

ผศ. 35
Auxiliary Grounding Electrodes

One or more grounding electrodes shall be


permitted to be connected to
the equipment grounding conductors

but the earth shall not be used


as an effective ground-fault current path

ผศ. 36
ผศ. 37
นิ ยมใช้

หลักดิ นดิ น 4 แบบ คือ

1. ( Ground Rod )
2. หลักดิ นแบบรัศมี ( Radial Electrode )
3. หลักดิ นแบบวงแหวน ( Ring Electrode )
4. ( Concrete Encased Electrode )

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 38
1. ( Ground Rod )

เพราะ ราคาถูก
และ

- ยาวไม่น้อยกว่า 2.4 m
- เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 ( 14.2 mm )
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 39
- แท่งเหล็กชุบด้วยทองแดง
( Copper Clad or Copper Bonded Steel )
- แท่งเหล็กอาบสังกะสี
( Hot Dip Galvanized Steel )
- เหล็กกล้า
( Stainless Steel )

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 40
แท่งเหล็กชุบด้วยทองแดง ( Copper - Clad Steel )

- เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 ( 14.2 mm )


- ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 m
- แกนเป็ น Low Carbon Steel
Tensile Strength ไม่น้อยกว่า 600 N / mm2
- 99.9 %
- 250 μm
- ได้ตามมาตรฐาน UL - 467 , IEC 62561 - 2
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 41
แท่งเหล็กอาบสังกะสี ( Hot-dip Galvanized Steel )

- เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 ( 14.2 mm )

- ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 m

- 85 μm

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 42
แท่งเหล็กกล้า ( Stainless Steel )

- เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 ( 14.2 mm )


- ยาวไม่น้อยกว่า 2.40 m

- ทําด้วย Solid Stainless Steel


- Highly Corrosive Soils
- อายุการใช้งานยาวถึง 50 ปี

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 43
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 44
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 45
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 46
- วัดแล้วมีความต้านดิ นมากเกิ นไป
อาจลดความต้านดิ นได้ โดยการตอกหลักดิ น
ต้องจัดให้ ระยะห่างระหว่างแท่งหลักดิ น
ต้อง ไม่น้อยกว่า ความยาวหลักดิ น ( NEC 250 , 6 ft = 1.83 m )

ตามมาตรฐาน BS 7430 - 1998


ผศ. พิ ทยพัฒน์ 47
จํานวนหลักดิ น ตัวคูณ
2 0.58
3 0.42
4 0.34
5 0.28
6 0.24
7 0.22
8 0.19
9 0.18
10 0.16

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 48
ความต้านทานดิ น 1 หลัก เท่ากับ
ถ้าใช้ 2 หลัก ใช้ตวั คูณลด เท่ากับ 0.58
ใช้ 3 หลัก ใช้ตวั คูณลดเท่ากับ 0.42

ถ้าตอกหลักดิ น 1 หลัก วัดความต้านทานดิ นได้ 10 

หลักดิ น 2 หลัก จะได้ค่าความต้านทานดิ น


เท่ากับ 10 x 0.58 = 5.8 

หลักดิ น 3 หลัก จะได้ค่าความต้านทานดิ น


เท่ากับ 10 x 0.42 = 4.2 
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 49
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 50
2 หลักดิ นแบบรัศมี ( Radial Electrode )

- ฝังอยู่ในดิ นลึกประมาณ 0.75 m


- ตัวนําทองแดงยาวไม่น้อยกว่า 6 m
- ตัวนําทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 35 mm2

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 51
หลักดิ นแบบแนวรัศมี
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 52
3 หลักดิ นแบบวงแหวน ( Ring Electrode )

และมีคณุ สมบัติเหมือนหลักดิ นแบบรัศมี คือ


- ฝังอยู่ในดิ นลึกประมาณ 0.75 m
- ตัวนําทองแดงยาวไม่น้อยกว่า 6m
- ตัวนําทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 35 mm2

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 53
หลักดิ นแบบวงแหวน
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 54
4.
( Concrete Encased Electrode )

( Reinforcing Bar )

คุณสมบัติ คือ
- ตัวนําต้องหุ้มด้วยคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 50 mm.
ใกล้ส่วนล่าง

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 55
- ถ้าตัวนําแบบเหล็กเสริ มหรือว่าแท่งเหล็กต้องยาว
ไม่น้อยกว่า 6 m. และเส้นผ่านศูนย์กลาง
ไม่น้อยกว่า 13 mm.

- ตัวนําทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 25 mm2
ยาวไม่น้อยกว่า 6 m.

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 56
หลักดิ น
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 57
4. การคํานวณค่าความต้านทานหลักดิ น

ความต้านทานหลักดิ น สามารถคํานวณ
- ค่าความต้านทานจําเพาะ 
- ค่าโดยประมาณ
วิ ศวกรไฟฟ้ า ต้องสามารถคํานวณ ค่าความต้านทานหลักดิ นได้
ในการออกแบบระบบหลักดิ น
แต่สดุ ท้ายค่าจริ งต้องได้จาก
ผศ. 58
1.
ความต้านทานหลักดิ นสามารถคํานวณได้จากสูตร

 4L 
 
R = ρ 
ln 


 1

2 π L   r  

R = ความต้านทานดิ น (  )
 = ความต้านทานจําเพาะ (  - m )
L = ความยาว ( m )
r = รัศมี ( m )
ln = Natural
ผศ.
Logarithm
พิ ทยพัฒน์ 59
สูตรโดยประมาณ
ρ 8L
R  ln
2πL r

หรือ
ρ
R 
L

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 60
1 แท่งดิ นมีรศั มี ( r ) 8 mm , ยาว 3 m
ดิ นมี  = 100  - m
จงหาความต้านทานของดิ น ,
1) ถ้าเ มรัศมีเป็ น 2 เท่า
ความต้านทานดิ นเป็ นเท่าใด
2) และถ้าเ มความยาวเป็ น 2 เท่า
ความต้านทานดิ นเป็ นเท่าใด

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 61
วิ ธีทาํ
L = 3000 mm
r = 8 mm

100  43000
R  2π3  ln  8  1

 

   

= 33.5 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 62
โดยประมาณ

R = /L

= 100 / 3

= 33.3 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 63
1) 2 เท่าคือ 16 mm
 43000
R  2100 
 ln 
π3   8  

 1 


29.8 

จะเห็นได้ว่าการ 2 เท่า
4 เท่า
จะลดความต้านทานลงเพียง

33.529.8100  11.0 %
33.5
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 64
2) 2 เท่า คือ 6 m

100  46000
R  2π6  ln  8  1  18.6 
 

   

2 เท่า
2 เท่า
จะลดความต้านทานลงได้ถึง
33.518.6100  44.5 %
33.5
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 65
2. หลักดิ นแบบรัศมี

 2L
R  ln
 L d

สูตรโดยประมาณ
2
R 
L
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 66
2 หลักดิ นแบบรัศมี ยาว 20 m
ตัวนํามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 mm
 = 200  - m
ให้คาํ นวณหาความต้านทานดิ น

ρ
R ln 2 L
πL d

200 2  20  1000
 ln
  20 20
= 24.2 
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 67
หรือ


R
L

2  200

20

= 20 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 68
3. หลักดิ นแบบวงแหวน

หลักดิ นแบบวงแหวนมี สูตรการคํานวณ


ρ
R  ln 2 π D
π 2D d

D = เส้นผ่านศูนย์กลางของวงแหวน
สูตรโดยประมาณ

R 
3D
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 69
3 หลักดิ นแบบวงแหวน
มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 80 m
ตัวนํามีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 20 mm
และดิ นโดยรอบมี  = 100  - m
ให้คาํ นวณหาความต้านดิ นของหลักดิ น

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 70
วิ ธีทาํ

R ρ ln 2 D
π 2D d

100 2  80  1000
 2 ln
  80 20

= 1.28 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 71
หรือ

R 
3D
2  100

3  80

= 0.83 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 72
หลักดิ น 3 ชนิ ด

- ( Ground Rod )
- หลักดิ นแบบรัศมี ( Radial Electrode )
- หลักดิ นแบบวงแหวน ( Ring Electrode )

จึงได้มีการทํา Graph ความต้านทานดิ น

หลักดิ น แบบรัศมี และ หลักดิ น แบบวงแหวน


สามารถใช้ Graph เดียวกันได้
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 73
หลักดิ นแนวรัศมี
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 74
4 10 m , d = 20 mm

ดิ นมี  = 100 Ω - m

จงหาความต้านทานของหลักดิ น

จาก Graph

L = 10 m ,  = 100 Ω - m

R = 13 Ω
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 75
4.

ρ
R 
πD

D  1.57 3 V

V = ปริ มาตรของฐานราก ( m3 )
 = ความต้านทานจําเพาะของคอนกรีต (  - m )
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 76
5 ฐานรากคอนกรีตของอาคาร
มี W x L x D = 20 x 30 x 1 m
 = 100  - m
ให้คาํ นวณหาความต้านทานดิ น

V = 20 x 30 x 1 = 600 m3
D  1.57 3 V
 1.57 3 600

= 13.2 m
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 77
ตัวอย่าง ( ต่อ)
ρ
R 
πD

= 100
π  13.2

= 2.4 

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 78
5. การวัดการต่อลงดิ น

จะเห็นได้ว่า ความต้านทานจําเพาะของดิ น (  )
มี องค์ประกอบหลายอย่าง ทําให้ค่าไม่แน่ นอน
ส่งผลให้ ความต้านทานของหลักดิ น

การวัดการต่อลงดิ นจึงมีความสําคัญมาก
การวัดการต่อลงดิ นแบ่งเป็ น 2 แบบคือ
- การวัดความต้านทานจําเพาะของดิ น
- การวัดความต้านทานของหลักดิ น
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 79
5.1 การวัดความต้านทานจําเพาะของดิ น
( Soil Resistivity Measurement )

จะใช้ แบบ 4 หลัก


( 4 Point Measurement or Wenner Method )

Auxiliary Electrode 4 อัน


ปักห่างกัน ระยะ A และ ตอกลึก B

ผศ. 80
C1 P1 P2 C2

A A A

ผศ. 81
ค่า  สามารถคํานวณได้ตามสูตร

A = ระยะห่างระหว่างหลัก ( m )
B = ความลึกของหลัก ( m )
ถ้า A > 20 B สูตรจะได้

 = 2AR
ผศ. 82
ตัวอย่าง ให้ความลึกของ Auxiliary Electrode 0.25 m
ระยะห่างของ Auxiliary Electrode ควรเป็ นเท่าใด

B = 0.25 m
A = 20 B = .25 x 20 = 5 m

ควรใช้ระยะห่าง 6 m

ผศ. 83
ตัวอย่าง การวัดความต้านทานจําเพาะของดิ น
ได้ค่า R = 10 Ω
A = 6m

 = 2AR
= 2  x 6 x 10
= 377 Ω-m

ผศ. 84
5.2 การวัดความต้านทานหลักดิ น

การวัดความต้านทานหลักดิ นจะใช้ แบบ 3 จุด

C1 P1
Grounding Electrode
P2 , C2 เป็ น Auxiliary Electrode 2 อัน

Fall of Potential Method

ผศ. 85
ผศ. 86
ในการวัดจะต้องให้ Electrode C2
ไกลจาก Grounding Electrode
Electrode P2 อยู่ ภายนอก
Effective Resistance Area
Grounding Electrode และ Auxiliary Current Electrode

ผศ. 87
Electrode P2 แล้วอ่านค่า
ถ้า Electrode P2 ยังอยู่ใน Effective Resistance Area

และถ้า Electrode P2 อยู่ภายนอก


Effective Resistance Area

ค่าความต้านทานของหลักดิ น

ผศ. 88
C1 P2 C2

Effective resistance
Areas (overlapping)
Resistance

52% 62% 72% Reading variation


Of total distance from C1 & C2

100% of distance
Between C1 & C2

ผศ. 89
ผศ. 90
62 % Area
62 % Method
ระยะของ Auxiliary Electrodes
ระยะระหว่าง C1 และ C2 บอกให้แน่ ชดั ไม่ได้

- เส้นผ่านศูนย์กลาง ของ Grounding Electrode


- ความยาว ของ Grounding Electrode
- ของ ความต้านทานจําเพาะของดิ น
ผศ. 91
อย่างไรก็ตาม อาจให้ค่าโดยประมาณ
สําหรับ Grounding Electrode d = 1’’
ถ้า d = 1/2 ” ให้ลดระยะลง 10 %
ความลึกของ ระยะ C1, P2 ระยะ C1 , C2
Grounding Electrode (m) (m)
8 Ft ( 2.4 m ) 17 27
10 Ft ( 3.0 m ) 18 29
12 Ft ( 3.6 m ) 20 32
18 Ft ( 5.4 m ) 24 39
20 Ft ( 6.0m ) 25 40
ผศ. 92
6. หลักดิ น

.
สถานประกอบการทุกประเภท ต้องมีการต่อลงดิ น
ตัวนํา Neutral บริ ภณ
ั ฑ์ประธาน
การต่อลงดิ นอาจแบ่งตามขนาดความสําคัญ
ของอาคารได้คือ
- อาคารขนาดเล็ก
- อาคารขนาดปานกลาง
- อาคารขนาดใหญ่

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 93
6.1 อาคารขนาดเล็ก
อาคารขนาดเล็ก เช่น ห้องแถว
Town House เป็ นต้น
การต่อลงดิ นอาจใช้
- หลักดิ น 1 ชุด ยาวไม่น้อยกว่า 2.4 m
เส้นฝ่ นศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 14.2 mm
ตอกลงดิ นจากระดับดิ นไม่น้อยกว่า 0.3 m
- เดิ นสายต่อหลักดิ น ขนาดตาม 4-1
มายังบริ ภณั ฑ์ประธาน
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 94
การต่อหลักดิ นของอาคารขนาดเล็ก
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 95
6.2 อาคารขนาดปานกลาง

- อาคารขนาดปานกลางได้แก่
สํานักงานขนาดปานกลาง
โรงแรมขนาดปานกลาง
โรงงาน ขนาดเล็ก
-
มีความสําคัญ
- การต่อลงดิ นจึงมีความสําคัญมาก

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 96
อาคารขนาดปานกลาง ( ต่อ )

- การต่อลงดิ นจึงมีความสําคัญมาก
- ระบบการต่อลงดิ นแนะนําเป็ น
หลักดิ นแบบวงแหวน

-
ระบบไฟฟ้ า
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

ผศ. พิ ทยพัฒน์ 97
การต่อหลักดิ นของอาคารขนาดกลาง
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 98
6.3 อาคารขนาดใหญ่

- อาคาร ขนาดใหญ่ ได้แก่


อาคารสูง อาคารใหญ่
สํานักงานขนาดใหญ่
โรงแรมขนาดใหญ่
โรงงานขนาดใหญ่
-
มีความสําคัญมากๆ
- การต่อลงดิ นจึงมีความสําคัญมาก ๆ
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 99
อาคารขนาดใหญ่ ( ต่อ )

- การต่อลงดิ นจึงมีความสําคัญมาก ๆ
- ระบบการต่อลงดิ นแนะนําเป็ น
หลักดิ นแบบวงแหวน

-
ระบบไฟฟ้ า
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 100
การต่อหลักดิ นของอาคารขนาดใหญ่
ผศ. พิ ทยพัฒน์ 101
ต้องการมีความรู้ทนั โลก
ต้องให้เวลาในการศึกษา
ดัวยความปรารถนาดี
จาก
ผศ. พิ ทยพัฒน์
ผศ. 102

You might also like