You are on page 1of 101

สายทนไฟตาม

มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าของ


วสท. 2556
โดย
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 1


ในมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ า วสท. พ.ศ. 2556

มี หลาย บทที่เกี่ยวกับสายทนไฟ
บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้ า
บทที่ 12 วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

การบังคับใช้อยู่ที่บท
บทที่ 8 สถานที่เฉพาะ
บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรือ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ผิวดิน
( Sub – Surface Building )
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 2
บทที่ 11

มาตรฐานการทนไฟของ
สายไฟฟ้ า

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 3


Fire Performance Cables
- เมื่อเกิดเพลิงไหม้ของอาคารจะทําให้เกิด
ควัน ( Smoke )
ก๊าซกรด ( Acids gas )
ความร้อน ( Heat )

- ควันและก๊าซกรด จะทําให้เกิด การเสียชีวิต

- ความร้อน จะทําให้เกิด การสูญเสียทรัพย์สิน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 4


- สายไฟฟ้ าซึ่งมีใช้อยู่อย่างมากมายในอาคารขณะนี้
ส่วนมากมี ฉนวนเป็ น PVC
- เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ทําให้เกิดควันและก๊าซกรด
เป็ น จํานวนมาก
- ดังนัน้ สายไฟฟ้ าที่จะใช้ในอาคารสมัยใหม่จะต้อง
ทําให้ มีคณุ สมบัติป้องกันการเกิดสิ่งเหล่านี้
สายไฟฟ้ านี้ รียกว่า Fire Performance Cables
- สายไฟฟ้ าในวงจรที่สาํ คัญ ยังต้องสามารถจ่าย
กระแสได้ ระยะหนึ่ งเมื่อเกิดเพลิงไหม้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 5


ทัวไป

- สายทนไฟใช้กบั สายไฟฟ้ าใน
ระบบของ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต ของ
- อาคารชุด
- อาคารสูง
- อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
- อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ผิวดิน
( Sub - Surface Building )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 6


Fire Performance Cables
มี คุณสมบัติที่สาํ คัญ 4 ประการ ดังต่อไปนี้

- คุณสมบัติต้านเปลวเพลิง
( Flame Propagation or Flame Retardant )
- คุณสมบัติการปล่อยก๊าซกรด
( Acids and Corrosive Gas Emission )

- คุณสมบัติการปล่อยควัน
( Smoke Emission )
- คุณสมบัติต้านทานการติดไฟ
( Fire Resistance )
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 7
1. Flame Propagation ( Flame Retardant )

- คือคุณสมบัติ การหน่ วงเหนี่ ยวลุกลาม ของการลุกไหม้


ของสายไฟฟ้ า

- เมื่อเกิดไฟไหม้สายไฟฟ้ าจะ ช่วยลดปัญหาลุกลามของไฟ


ไปตามสายไฟฟ้ า

- ดังนัน้ บริเวณที่ถกู ไฟไหม้จะไม่ขยายเป็ นบริเวณกว้าง


และ เมือ่ เอาแหล่งไฟออกก็จะดับเอง ( Self–extinguish )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 8


กําหนดให้ทดสอบตามมาตรฐาน
IEC 60332 - 1
Test on electric and optical fiber cables
under fire conditions.
Part 1 Test for vertical flame propagation

for a single insulated wire or cable

IEC 60332 - 3
Tests on electric cables under fire conditions.
Part 3 Test for vertical flame spread of

vertically-mounted bunched wires or cables


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 9
มาตรฐาน IEC 60332-1

ขอบเขต
- อธิบายถึงวิธีการทดสอบ การหน่ วงเหนี่ ยวการลุกลาม
ไฟของสายไฟของสายไฟเส้นเดี่ยวในแนวตัง้
อุปกรณ์ทดสอบ
- การทดสอบนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
หัวเผา ขาตัง้ สําหรับยึดสายและฉากกัน้ ทําด้วยโลหะ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 10


ขัน้ ตอนการทดสอบ
- นําชิ้นทดสอบยาว 550 mm. ยึดกับที่ยึดสายในแนวตัง้ และ
จุดหัวเผา โดยให้หวั เผาเอียงทํามุม 45 องศา แล้วทําการ
เผาสายไฟในเวลาที่กาํ หนด ตามตารางด้านล่าง
Overall Diameter of test piece (D) ; Time for flame application ; S
mm
D ≤ 25 60
25 < D ≤ 50 120
50 < D ≤ 75 240
D > 75 480

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 11


การทดสอบการลุกลามของไฟในแนวตัง้ ( IEC 60332-1 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 12


การประเมินผล
- เมื่อเผาแล้ววัดจากปลายสายด้านบนลงมาถึงระยะที่
เปลวไฟลามมาถึงต้องได้ มากกว่า 50 mm.
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 13
มาตรฐาน IEC 60332 - 3
ขอบเขต
- มาตรฐานใช้สาํ หรับการทดสอบสายไฟฟ้ าเพื่อกําหนด
ความสามารถในการต้านทานการลุกลามของไฟ ภายใต้
สภาวะที่กาํ หนด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 14


ประเภทของการทดสอบ

ขัน้ ตอนการทดสอบ
- นําสายที่ต้องการทดสอบความยาว 3.5 m. จํานวน 1 ท่อนหรือ
มากกว่า ติดตัง้ แบบแนวตัง้ ภายใน ตู้เผาขนาด ( 1 m x 2 m x 4 m )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 15


การทดสอบการลุกลามของไฟในพืน้ ที่ถกู กําหนด ( IEC 60332 - 3 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 16


การประเมินผล
- เมื่อเผาสิ้นสุดแล้ว ระยะที่ถกู เผาไหม้ต้อง สูงไม่เกิน 2.5 m วัดจากหัวเผา
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 17
2. Acids and Corrosive Gas Emission

- สายไฟฟ้ าเมื่อถูกไฟไหม้ส่วนประกอบบางส่วนจะทําให้
เกิดก๊าซขึน้

- ก๊าซบางอย่างก็จะทําให้เกิดกรด ซึ่งมีคณ
ุ สมบัติการกัด
กร่อนสูง

- สายไฟฟ้ าต้องไม่มีส่วนประกอบที่ทาํ ให้เกิดสารฮาโลเจน


( Zero Halogen )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 18


กําหนดให้ทดสอบตามมาตรฐาน

IEC 60754 - 2
Test on gases evolved during combustion of
electric cables.
Part 2 Determination of degree of acidity of
gases evolved during the combustion of
materials taken from electric cables by
measuring pH and conductivity

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 19


การทดสอบ ตามมาตรฐาน IEC 60754 - 2
ขอบเขต
- การทดสอบนี้ ใช้วดั ค่าความเป็ นกรดของก๊าซซึ่งถูกปล่อยออกมาใน
ระหว่างการเผาไหม้ของวัตถุดิบที่นํามาจากส่วนต่างๆ ของตัวอย่างสายไฟ

อุปกรณ์ทดสอบ
- เตาเผา : ให้ความร้อนด้วยไฟฟ้ า
- ถาดสําหรับเผา : ใช้ใส่วตั ถุที่ต้องการทดสอบ
- ชุดเครื่องมือดูดซับก๊าซ : ช่วยดูดซับก๊าซจากการเผาไหม้ได้ดีขึน้
- ระบบส่งอากาศ : นําพาก๊าซจากการเผาไหม้ไปยังขวดนํ้า

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 20


ขัน้ ตอนการทดสอบ
- เตรียมชิ้นทดสอบประมาณ 1000 mg. จากสายตัวอย่างแล้วนํามา
ตัดเป็ นชิ้นเล็กๆ แล้วนําไปใส่ไว้ในถาดสําหรับเผา

- เตรียมระบบส่งอากาศและเตาเผาให้พร้อม แล้วนําถาดพร้อมชิ้น
ทดสอบเข้าเตาเผาแล้วเริ่มจับเวลา

- อุณหภูมิในการเผาต้อง ไม่ตาํ่ กว่า 935 °C ใช้เวลา 30 นาที


- นํานํ้าในขวดไปตรวจสอบ ค่า pH และ ค่า Conductivity

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 21


การทดสอบหาค่าความเป็ นกรดของก๊าซ Halogen ( IEC 60754 - 2 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 22


การประเมินผล
- ค่า pH ที่ได้ต้องไม่น้อยกว่า 4.3 และค่า Conductivity ต้องไม่เกิน 10 µS/mm

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 23


3. Smoke Emission

- สายไฟฟ้ าเมื่อถูกไฟไหม้ส่วนประกอบหลายอย่าง

จะทํา ให้เกิดควันขึน้

- ควันเหล่านี้ จะทําให้ การมองเห็นลดลง

และ ทําให้สาํ ลักควันเสียชีวิต

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 24


การทดสอบตามมาตรฐาน

IEC 61034 - 2

- Measurement of smoke density of cables burning


under defined conditions
Part 2 Test procedure and requirements

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 25


ขอบเขต
- การทดสอบในส่วนนี้ ว่าด้วยการทดสอบ
เพื่อวัดความหนาแน่ นของควันที่เกิดจาก
การเผาไหม้สายไฟฟ้ าภายใต้สภาวะเงื่อนไขที่กาํ หนด

อุปกรณ์ทดสอบ
- การทดสอบนี้ มีอปุ กรณ์ดงั นี้ ห้องทดสอบ,ระบบวัดแสง,
แหล่งกําเนิดเปลวไฟ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 26


ขัน้ ตอนการทดสอบ
- ทดสอบในห้องทึบรูปทรงสี่เหลี่ยมมีขนาด 3 ลูกบาศก์เมตร
- ทําการเผาสายตัวอย่างความยาว 1 เมตร
- วางในแนวนอนบนถาดแอลกอฮอล์
- จากนัน้ จึงปิดระบบหมุนเวียนอากาศแล้วจุดไฟ
- การทดสอบจะถือว่าเสร็จสิ้น หลังจากเปลวไปดับแล้ว
- และไม่มีการลดของปริมาณแสงที่ส่องผ่าน 5 นาที
- และใช้เวลาในการทดสอบทัง้ สิ้นไม่ควรเกิน 40 นาที
- เสร็จแล้ว บันทึกค่าตํา่ สุดของค่าความเข้มแสงที่ผา่ น

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 27


การทดสอบปริมาณควัน ( IEC 61034 - 2 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 28


การทดสอบปริมาณควัน ( IEC 61034 - 2 )

การประเมินผล
- ความเข้มของแสงที่จดบันทึกไว้จากเครื่องรับแสง ต้องมีความเข้ม
แสง หลังการทดสอบ ไม่น้อยกว่า 60 % ก่อนการทดสอบ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 29
4. Fire Resistance

- สายไฟฟ้ าที่ทนต่อการติดไฟ

ไม่ก่อให้เกิดการลุกลามของไฟ

- และขณะไฟลุกไหม้อยู่

สายไฟฟ้ ายัง สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้ าได้ปกติ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 30


กําหนดให้ทดสอบตามมาตรฐาน
IEC 60331
Tests for electric cables under fire conditions

BS 6387
Specification for Performance requirements
for cables required to maintain circuit integrity
under fire conditions
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 31
BS 6387
การทดสอบ เครื่ องหมาย
650OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง A
750OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง B
950OC เป็ นเวลา 3 ชั่วโมง
การทนไฟ C
950OC เป็ นเวลา 20 นาที S
650OC เป็ นเวลา 15 นาที W
การทนไฟและนํา้ จากนั้น พ่ นนํา้ และทําการทดสอบ
650OC เป็ นเวลา 15 นาที
650OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี X
แรงกระแทก
การทนไฟ
750OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี Y
และทนแรง แรงกระแทก
กระแทก 950OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี Z
แรงกระแทก

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 32


การทดสอบ ตามมาตรฐาน IEC 60331

ขอบเขต

- มาตรฐานนี้ ระบุถึงคุณสมบัติที่ต้องการของสายไฟฟ้ า

ที่สามารถจะจ่ายกระแสไฟฟ้ าได้ปกติ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 33


การทดสอบการทนไฟ ( Fire Resistant Test ) IEC 60331

- ต้องไม่เกิดการบกพร่องด้านระบบการจ่ายแรงดันไฟฟ้ า
ตลอดระยะเวลาของการทดสอบ หรือฟิวส์ 3 A ต้องไม่ขาด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 34


การทดสอบ ตามมาตรฐาน BS 6387

ขอบเขต
มาตรฐานนี้ ระบุถึงคุณสมบัติที่ต้องการของสายไฟฟ้ าที่
สามารถจะจ่ายกระแสไฟฟ้ าได้

การทดสอบ
- การทดสอบการทนไฟแบ่งเป็ น 3 แบบ 8 ประเภท
- กําหนดเครื่องหมายด้วย ตัวอักษรแบ่งตามคุณสมบัติ
การทนไฟ
- อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการทดสอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 35
ทดสอบความทนตอการลุกไหมของเปลวไฟ ( BS 6387 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 36


ทดสอบความทนตอการลุกไหมของเปลวไฟ
( BS 6387 )

การประเมินผล
- จะต้องไม่เกิดการลัดวงจร ตลอดระยะเวลาการทดสอบ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 37
การทดสอบการทนไฟและนํ้า ( BS 6387 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 38


การทดสอบการทนไฟและนํ้า ( BS 6387 )

การประเมินผล
- จะต้องไม่เกิดการลัดวงจร ตลอดระยะเวลาการทดสอบ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 39
การทดสอบการทนไฟและแรงกระแทก ( BS 6387 )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 40


การทดสอบการทนไฟและแรงกระแทก ( BS 6387 )

การประเมินผล
- จะต้องไม่เกิดการลัดวงจร ตลอดระยะเวลาการทดสอบ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 41
การรับรองผลิตภัณฑ์

สายทนไฟต้อง ได้รบั การรับรองผลิตภัณฑ์ ( Certificate )

จากสถาบันทดสอบที่เชื่อถือได้

เช่น LPCB , TUV , KEMA , ASTA เป็ นต้น

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 42


Fire Performance Cables
อาจแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. สาย ควันน้ อย และ สายไร้ฮาโลเจน
( Low Smoke and Halogen Free Cables )

2. สาย ทนไฟ
( Fire Resistant Cables )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 43


สาย Low Smoke และ Halogen Free

ุ สมบัติ 3 ประเภท คือ


- มีคณ
ต้านทานการลุกไหม้
การปล่อยก๊าซกรด
การปล่อยควัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 44


สาย Fire Resistant
ุ สมบัติครบทัง้ 4 ประการ คือ
- มีคณ
ต้านทานการลุกไหม้
การปล่อยก๊าซกรด
การปล่อยควัน
และ ต้านทานการติดไฟ
- สายประเภทนี้ จะมี Mica ห่อหุ้มตัวนํา

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 45


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 46
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 47
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 48
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 49
บทที่ 12
วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 50


12.1 ทัวไป

- วงจรไฟฟ้ าที่ต้องออกแบบเป็ นพิเศษให้


ทนต่อความร้อนจากอัคคีภยั และ
สามารถ ใช้งานได้ชวเวลาหนึ
ั่ ่ง
เรียกว่า วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

- ให้มีวิศวกรไฟฟ้ าที่มีใบอนุญาต
เป็ นผูอ้ อกแบบและควบคุมการติดตัง้

- มีการตรวจสอบทุกปี
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 51
ข้อกําหนดนี้ ใช้สาํ หรับ

- อาคารชุด อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พิเศษ

เป็ นอาคารหรือสถานที่ที่มีผคู้ นอาศัยอยู่จาํ นวนมาก

และหนี ภยั ได้ยากเมื่อเกิดอัคคีภยั หรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 52


12.2 ขอบเขต
- ใช้สาํ หรับวงจรไฟฟ้ าที่ต้องการการใช้งาน
ได้อย่างดีและต่อเนื่ อง ในภาวะฉุกเฉิน เช่น
1 ) ระบบจ่ายไฟฉุกเฉิน
2 ) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั
3 ) ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน
4 ) ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนี ไฟ
5 ) ระบบดูดและระบายอากาศ
6 ) ระบบสูบนํ้าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
7 ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสําหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้
8 ) ระบบลิฟท์ผจญเพลิง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 53


12.3 การจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉินสําหรับ
วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

1) ต้อง มีแหล่งจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน อาจเป็ น


- เครื่องกําเนิดไฟฟ้ า
- แบตเตอรี่ที่สามารถจ่ายไฟให้กบั วงจร
ไฟฟ้ าช่วยชีวิตได้อย่างเหมาะสมและเป็ น
เวลานาน
- ต้องไม่ถกู กระทบจากการปลด
หรืองดจ่ายไฟฟ้ าของการไฟฟ้ า
หรือเกิดเพลิงใหม้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 54
2) จุดต่อไฟฟ้ า ฉุกเฉินที่จาํ เป็ น
ต้องใช้ไฟฟ้ าจากแหล่งจ่ายปกติรว่ มกับ
- จะต้องต่อจากจุดด้านไฟเข้าของ ( Main Switch )

3) ไฟฟ้ าที่จ่ายให้ระบบวงจรช่วยชีวิต
จะต้องไม่ถกู ควบคุมโดยระบบไฟฟ้ าวงจรปกติ
Transfer Switch ปกติไปเป็ นฉุกเฉินไม่ถือว่า
เป็ นอุปกรณ์ควบคุม

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 55


ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 56
ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 57
ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 58
12.4 เมนสวิตช์และสวิตช์ต่าง ๆ

1) เมนสวิตช์สาํ หรับการจ่ายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวิต


ต้องแยกต่างหาก และ ไม่ถกู บังคับจากเมนสวิตช์
ไฟฟ้ าปกติ ถ้ามีเมนสวิตช์แยกแต่ระบบทัง้ หมด
ต้องติดตัง้ รวมอยู่ที่แผงสวิตช์เมนรวมหรือภาย
ในห้องแผงสวิตช์เมนรวม

2) สําหรับ Lift ที่ใช้เป็ นปกติและฉุกเฉินผจญเพลิง


จะต้องติดตัง้ เมนสวิตช์สาํ หรับภาวะฉุกเฉินแยก
ต่างจากภาวะปกติ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 59
3) ห้ามติดตัง้ สวิตช์หรืออุปกรณ์ปลดสับใดๆ
ระหว่างเมนสวิตช์และแผงควบคุมระบบ
เครื่องช่วยชีวิต

4) อนุญาตให้ต่อวงจรย่อยสําหรับแสงสว่างและ
เต้ารับเพื่อการตรวจสอบและบํารุงรักษาแยก
จากวงจรที่จ่ายไฟฟ้ าให้เครื่องสูบนํ้าช่วยชีวิต
ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 60


5) การแยกส่วนการป้ องกันวงจรไฟฟ้ าการป้ อง
กันวงจรปกติเมื่อปลดจะต้องไม่กระทบ
กระเทือนกับการจ่ายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวิต

6) การป้ องกันทางกายภาพ

7) การติดป้ ายหรือเครื่องหมายมีการติดป้ าย
หรือเครื่องหมายแสดงให้เห็นชัดเจนและเข้า
ใจง่าย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 61


12.5 ระบบการเดินสายไฟฟ้ า

12.5.1 ทัวไป

1) สายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ต้องสามารถจ่ายไฟฟ้ า
ทํางานได้ในสภาวะที่ถกู เพลิงไหม้
และทนทางกายภาพต่อถูกฉี ดนํ้าดับเพลิง

2) สายไฟฟ้ าที่ เปลือกนอกไม่ใช่โลหะ ต้องเดิน


ใน ท่อ RSC หรือ IMC

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 62


12.5.2 ประเภทของการเดินสาย

- ระบบการเดินสายไฟฟ้ ารวมถึง อุปกรณ์ประกอบต่างๆ


สําหรับระบบวงจรช่วยชีวิต
รวมทัง้ สายเมนที่จ่ายไฟฟ้ าให้
จะต้องมีมาตรฐานการทนไฟ
ตามข้อกําหนดของแต่ละระบบตามข้อกําหนด
การทนไฟตามข้อ 12.8

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 63


12.8 ข้อกําหนดการทนไฟของระบบวงจรช่วยชีวิตต่างๆ

12.8.1 สายไฟฟ้ าสําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิตต้อง

ทนเพลิงไหม้ได้ตาม BS 6387 ระดับชัน้ CWZ

สําหรับระบบดังต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 64


1 ) ระบบจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน

2 ) ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนี ไฟ

3 ) ระบบดูดและระบายควัน

4 ) ระบบสูบนํ้าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

5 ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสําหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้

6 ) ระบบลิฟต์ผจญเพลิง
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 65
12.8.2 สายไฟฟ้ าสําหรับวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิตต้องทน
เพลิงไหม้ได้ตาม BS 6387 ระดับชัน้ AWX
หรือผ่านมาตรฐาน IEC 60331
ุ สมบัติ การปล่อยก๊าซกรด
พร้องทัง้ มีคณ
ตามมาตรฐาน IEC 60754 - 2
และมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควัน
ตามมาตรฐาน IEC 61034 - 2
ซึ่งได้แก่ระบบดังต่อไปนี้

1 ) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั
2 ) ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 66
บทที่ 8
สถานที่เฉพาะ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 67


8.1 โรงมหรสพ

สายไฟฟ้ า

สายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่ ในส่วนภายใน


ที่ผนู้ ัง่ ชมการแสดง
ห้องควบคุม เวที ช่องทางเดิน บันได ทางหนี ไฟ
ต้องเป็ น สายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนตาม
ข้อ 11.2.1 Cat.C
ข้อ 11.2.2
และ ข้อ 11.2.3
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 68
11.2 1. คุณสมบัติต้านเปลวเพลิง
( Flame Propagation or Flame Retardant )
11.2 2. คุณสมบัติการปล่อยก๊าซกรด
( Acids Gas Emission )
11.2.3 คุณสมบัติการปล่อยควัน
( Smoke Emission )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 69


- สายไฟฟ้ าของ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

ต้องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวน

ตามที่กาํ หนดใน ข้อ 12.8

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 70


12.8 ข้อกําหนดการทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิตต่างๆ

12.8.1 สายไฟฟ้ าสําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

ต้องทน เพลิงไหม้ได้

ตาม BS 6387 ระดับชัน้ CWZ

สําหรับระบบดังต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 71


1 ) ระบบจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน
2 ) ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนี ไฟ

3 ) ระบบดูดและระบายควัน
4 ) ระบบสูบนํ้าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

5 ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสําหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้
6 ) ระบบลิฟต์ผจญเพลิง

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 72


12.8.2 สายไฟฟ้ าสําหรับวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิตต้องทน
เพลิงไหม้ได้ตาม BS 6387 ระดับชัน้ AWX
หรือผ่านมาตรฐาน IEC 60331
ุ สมบัติ การปล่อยก๊าซกรด
พร้องทัง้ มีคณ
ตามมาตรฐาน IEC 60754 - 2
และมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควัน
ตามมาตรฐาน IEC 61034 - 2
ซึ่งได้แก่ระบบดังต่อไปนี้

1 ) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั
2 ) ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 73
8.3 สถานบริ การ
8.3.1 ทั่วไป
8.3.1.1
สถานบริการหมายถึง อาคารหรื อส่ วนใดของอาคารที่
ใช้ ประกอบกิจการเป็ นสถานบริการตามกฎหมายว่ า
ด้ วยสถานบริการ และอาคารที่เป็ นไปตาม
ที่กาํ หนดในกฎกระทรวง
เรื่องกําหนดประเภทและระบบความปลอดภัยของ
อาคารที่ใช้ เพื่อประกอบกิจการเป็ นสถานบริการ พ.ศ. 2555
ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
แบ่ งออกเป็ น 6 ประเภท ดังนี ้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 74


สถานบริการประเภท ก
หมายความถึงสถานบริการที่เป็ นอาคารเดี่ยวหรือที่ตงั ้ อยู่
ในอาคารที่ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการน้ อยกว่ า 200 ตารางเมตร

สถานบริการประเภท ข
หมายความถึง สถานบริการที่เป็ นอาคารเดี่ยว
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการ
ตัง้ แต่ 200 ตารางเมตร แต่ ไม่ ถงึ 500 ตารางเมตร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 75


สถานบริการประเภท ค
หมายความถึง สถานบริการที่เป็ นอาคารเดี่ยว
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการ ตัง้ แต่ 500 ตารางเมตรขึน้ ไป

สถานบริการประเภท ง
หมายความถึง สถานบริการที่ตงั ้ อยู่ในอาคาร
ที่ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการ ตัง้ แต่ 200 ตารางเมตร
แต่ ไม่ ถงึ 500 ตารางเมตร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 76


สถานบริการประเภท จ
หมายความถึง สถานบริการที่ตงั ้ อยู่ในอาคาร
ที่ประกอบกิจการหลายประเภทรวมกัน
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการ ตัง้ แต่ 500 ตารางเมตรขึน้ ไป

สถานบริการประเภท ฉ
หมายความถึง สถานบริการที่เป็ นอาคารชัน้ เดียว
และไม่มีผนังภายนอกหรือมีผนังภายนอกซึ่ง
มีความยาวรวมกันน้ อยกว่าครึ่งหนึ่ ง
ของความยาวเส้นรอบรูปภายนอกของพืน้ ที่อาคาร
ที่อยู่ภายใต้หลังคาคลุม
ซึ่งมีการจัดพืน้ ที่บริการ ตัง้ แต่ 200 ตารางเมตร
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 77
8.3.2 สายไฟฟ้ า

สายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่ ในพืน้ ที่บริการ


ต้องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนตาม

ข้อ 11.2.1 Cat.C


ข้อ 11.2.2
และ ข้อ 11.2.3

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 78


11.2 1. คุณสมบัติต้านเปลวเพลิง
( Flame Propagation or Flame Retardant )
11.2 2. คุณสมบัติการปล่อยก๊าซกรด
( Acids Gas Emission )
11.2.3 คุณสมบัติการปล่อยควัน
( Smoke Emission )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 79


- สายไฟฟ้ าของ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

ต้องเป็ นสายตัวนําทองแดงหุ้มฉนวน

ตามที่กาํ หนดใน ข้อ 12.8

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 80


8.4 โรงแรม

สายไฟฟ้ า

1 ) สายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่
ต้องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวน PVC
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่
ุ สมบัติไม่ตาํ่ กว่า
มอก 11 - 2553 หรือสายอื่นที่มีคณ

2) สายไฟฟ้ าของวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต


ต้องเป็ นไป ตามกําหนดในข้อ 12.8
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 81
บทที่ 9
อาคารชุด อาคารสูง
หรือ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 82


สายไฟฟ้ า

1 ) สายไฟฟ้ าระบบแรงตํา่
ต้องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวน PVC
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่
ุ สมบัติไม่ตาํ่ กว่า
มอก 11 - 2553 หรือสายอื่นที่มีคณ

2 ) สายไฟฟ้ าของวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต


ต้องเป็ นไป ตามกําหนดในข้อ 12.8

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 83


บทที่ 13
อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ผิวดิน
( Sub – Surface Building )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 84


13.1 ทัวไป

อาคารเพื่อการสาธารณะใต้ผิวดิน หมายถีง

- อาคารหรือโครงสร้างใดๆ ที่อยู่ใต้ผิวดิน
- ชัน้ ใต้ดินของอาคารทัวไป ่
- อาคารจอดรถใต้ผิวดิน
- สถานี รถไฟฟ้ าใต้ดิน
- อุโมงค์รถไฟฟ้ าใต้ดิน
- อุโมงค์ใต้ดินที่ใช้สาํ หรับการจราจร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 85


13.2 ขอบเขต
วงจรไฟฟ้ าแบ่งเป็ น 3 ประเภท

1 ) ประเภทที่ 1 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ
( Normal Safety Requirement System )
2) ประเภทที่ 2 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง
( High Safety Requirement System )
3 ) ประเภทที่ 3 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก
( Very High Safety Requirement System )

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 86


1 ) ประเภทที่ 1 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ
( Normal Safety Requirement System )

1. ระบบแสงสว่างทัวไป

2. ระบบไฟฟ้ ากําลัง นอกเหนื อจากข้อ 13.2.2 และ13,2,3

3. ระบบปัม๊ นํ้าขึน้ ถังบนหลังคา


4. ระบบปรับอากาศ

5. ระบบระบายนํ้าโดยทัวไป

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 87


2) ประเภทที่ 2 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง
( High Safety Requirement System )

1. ระบบปรับอากาศเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับ การจ่ายลม
2. ระบบระบายนํ้าฉุกเฉิน

3. ระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน
4. ระบบสัญญาณเตือนภัยต่างๆ

5. ระบบควบคุม Computer
6. ระบบทางหนี ไฟ ( Escape Way )
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 88
3 ) ประเภทที่ 3 ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก
( Very High Safety Requirement System )

1. ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉินทัง้ ในอาคาร และ


ใต้ผิวดินและอุโมงค์ทางวิ่ง
2. ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนี ไฟ
3. ระบบดูดและระบายควัน
4. ระบบสื่อสารฉุกเฉิน
5. ระบบดูดและระบายควันทัง้ ในอาคารใต้ผิวดินและ
อุโมงค์ทางวิ่ง
6. ระบบเครื่องสูบนํ้าดับเพลิงและการดับเพลิงทัง้ หลาย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 89


13.3 ระบบการเดินสายไฟฟ้ า

1) ทัวไป

ใช้กบั LV ภายในอาคารใต้ผิวดิน

2) ประเภทการเดินสาย
แบ่งตามประเภทของโหลด

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 90


1 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ

1. ฉนวนสายไฟฟ้ าต้องทนอุณหภูมิได้ไม่ตาํ่ กว่า 90 oC

2. ฉนวนหรือวัสดุห้มุ สายไฟฟ้ าต้องเป็ น


ชนิด Flame Retardant มีคณุ สมบัติต้านทาน
การลุกไหม้ตามมาตรฐาน IEC 60332 -1 หรือ
ุ สมบัติการปล่อยก๊าซตาม
IEC 60332 - 3 มีคณ
มาตรฐาน IEC 60754 - 2
ุ สมบัติการปล่อยควันตามมาตรฐาน
หรือมีคณ
IEC 61034 - 2
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 91
3. สายไฟฟ้ าที่เปลือกนอก ไม่ใช่โลหะ

จะต้องเดินใน ท่อ แบบ RSC , IMC

4. สายไฟฟ้ าต้องต่อเข้าเครื่องอุปกรณ์

ไฟฟ้ าต้องปิดผนึ กที่ถาวร

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 92


2 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง
- นอกเหนื อจากข้อกําหนดใน
1 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ

แล้วต้องเพิ่มเดิมดังนี้

สายไฟฟ้ าต้องเป็ นไปตาม BS 6387


ในระดับ AWX

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 93


BS 6387
การทดสอบ เครื่ องหมาย
650OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง A
750OC เป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง B
950OC เป็ นเวลา 3 ชั่วโมง
การทนไฟ C
950OC เป็ นเวลา 20 นาที S
650OC เป็ นเวลา 15 นาที W
การทนไฟและนํา้ จากนั้น พ่ นนํา้ และทําการทดสอบ
650OC เป็ นเวลา 15 นาที
650OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี X
แรงกระแทก
การทนไฟ
750OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี Y
และทนแรง แรงกระแทก
กระแทก 950OC เป็ นเวลา 15 นาที โดยมี Z
แรงกระแทก

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 94


3 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมาก
- นอกเหนื อจากข้อกําหนดใน
1 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยปกติ

แล้วต้องเพิ่มเดิมดังนี้
สายไฟฟ้ าต้องเป็ นไปตาม

BS 6387 ในระดับ CWZ


หรือ MI Cable

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 95


13.4 การแยกระบบการเดินสาย

1) ห้ามเดินสายร่วมกับระบบอื่น

2) สายเคเบิลหลายแกนห้ามใช้ร่วมกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 96


13.5 เมนสวิตซ์และสวิตซ์ต่างๆ

1 ) ระบบความปลอดภัยปกติและระบบความ
ปลอดภัยสูงตามกําหนดบทที่ 3

2 ) ระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูงมากตาม
บทที่ 3 และ บทที่ 12 ข้อ 12.4

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 97


13.5 เมนสวิตซ์และสวิตซ์ต่างๆ

3 ) กรณี เมนสวิตซ์และสวิตซ์ต่างๆติดตัง้ อยู่ที่ชนั ้ ใต้ผิวดิน


ฉนวนหรือวัสดุห้มุ สายไฟฟ้ าต้องเป็ น
ชนิด Flame Retardant มีคณุ สมบัติต้านเปลวเพลิง
ตามมาตรฐาน IEC 60332 -1 หรือ
ุ สมบัติการปล่อยก๊าซตาม
IEC 60332 - 3 มีคณ
มาตรฐาน IEC 60754 - 2 มีคณ ุ สมบัติการปล่อยควัน
ตามมาตรฐาน IEC 61034 - 2

สําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต ต้องเป็ นไปตาม บทที่ 12


ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 98
13.4 การแยกระบบการเดินสาย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 99


13.4 การแยกระบบการเดินสาย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 100


ด้วยความปรารถนาดี
จาก
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 101

You might also like