You are on page 1of 22

บทที่ 12

วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 1


12.1 ทัวไป

- วงจรไฟฟ้ าที่ต้องออกแบบเป็ นพิเศษให้
ทนต่อความร้อนจากอัคคีภยั และ
สามารถ ใช้งานได้ชวเวลาหนึ
ั่ ่ง
เรียกว่า วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

- ให้มีวิศวกรไฟฟ้ าที่มีใบอนุญาต
เป็ นผูอ้ อกแบบและควบคุมการติดตัง้

- มีการตรวจสอบทุกปี
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 2
ข้อกำหนดนี้ ใช้ส ำหรับ

- อาคารชุด อาคารสูง และอาคารขนาดใหญ่พิเศษ

เป็ นอาคารหรือสถานที่ที่มีผคู้ นอาศัยอยู่จ ำนวนมาก

และหนี ภยั ได้ยากเมื่อเกิดอัคคีภยั หรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 3


12.2 ขอบเขต
- ใช้ส ำหรับวงจรไฟฟ้ าที่ต้องการการใช้งาน
ได้อย่างดีและต่อเนื่ อง ในภาวะฉุกเฉิน เช่น
1 ) ระบบจ่ายไฟฉุกเฉิน
2 ) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั
3 ) ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน
4 ) ระบบอัดอากาศสำหรับบันไดหนี ไฟ
5 ) ระบบดูดและระบายอากาศ
6 ) ระบบสูบน้ำและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
7 ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสำหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้
8 ) ระบบลิฟท์ผจญเพลิง
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 4
12.3 การจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉินสำหรับ
วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

1) ต้อง มีแหล่งจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน อาจเป็ น


- เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
- แบตเตอรี่ที่สามารถจ่ายไฟให้กบั วงจร
ไฟฟ้ าช่วยชีวิตได้อย่างเหมาะสมและเป็ น
เวลานาน
- ต้องไม่ถกู กระทบจากการปลด
หรืองดจ่ายไฟฟ้ าของการไฟฟ้ า
หรือเกิดเพลิงใหม้
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 5
2) จุดต่อไฟฟ้ าฉุกเฉินที่จ ำเป็ น
ต้องใช้ไฟฟ้ าจากแหล่งจ่ายปกติร่วมกับ
- จะต้องต่อจากจุดด้านไฟเข้าของ ( Main Switch )

3) ไฟฟ้ าที่จ่ายให้ระบบวงจรช่วยชีวิต
จะต้องไม่ถกู ควบคุมโดยระบบไฟฟ้ าวงจรปกติ
Transfer Switch ปกติไปเป็ นฉุกเฉินไม่ถือว่า
เป็ นอุปกรณ์ควบคุม

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 6


ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 7
ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 8
ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 9
12.4 เมนสวิตช์และสวิตช์ต่าง ๆ

1) เมนสวิตช์ส ำหรับการจ่ายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวิต


ต้องแยกต่างหาก และ ไม่ถกู บังคับจากเมนสวิตช์
ไฟฟ้ าปกติ ถ้ามีเมนสวิตช์แยกแต่ระบบทัง้ หมด
ต้องติดตัง้ รวมอยู่ที่แผงสวิตช์เมนรวมหรือภาย
ในห้องแผงสวิตช์เมนรวม

2) สำหรับ Lift ที่ใช้เป็ นปกติและฉุกเฉินผจญเพลิง


จะต้องติดตัง้ เมนสวิตช์สำหรับภาวะฉุกเฉินแยก
ต่างจากภาวะปกติ
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 10
3) ห้ามติดตัง้ สวิตช์หรืออุปกรณ์ปลดสับใดๆ
ระหว่างเมนสวิตช์และแผงควบคุมระบบ
เครื่องช่วยชีวิต

4) อนุญาตให้ต่อวงจรย่อยสำหรับแสงสว่างและ
เต้ารับเพื่อการตรวจสอบและบำรุงรักษา
แยก
จากวงจรที่จ่ายไฟฟ้ าให้เครื่องสูบน้ำช่วยชีวิต
ได้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 11


5) การแยกส่วนการป้ องกันวงจรไฟฟ้ าการป้ อง
กันวงจรปกติเมื่อปลดจะต้องไม่กระทบ
กระเทือนกับการจ่ายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวิต

6) การป้ องกันทางกายภาพ

7) การติดป้ ายหรือเครื่องหมายมีการติดป้ าย
หรือเครื่องหมายแสดงให้เห็นชัดเจนและเข้า
ใจง่าย

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 12


12.5 ระบบการเดินสายไฟฟ้ า

12.5.1 ทัวไป

1) สายไฟฟ้ าและอุปกรณ์ต้องสามารถจ่ายไฟฟ้ า
ทำงานได้ในสภาวะที่ถกู เพลิงไหม้
และทนทางกายภาพต่อถูกฉี ดน้ำดับเพลิง

2) สายไฟฟ้ าที่ เปลือกนอกไม่ใช่โลหะ ต้องเดิน


ใน ท่อ RSC หรือ IMC

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 13


12.5.2 ประเภทของการเดินสาย

- ระบบการเดินสายไฟฟ้ ารวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่างๆ
สำหรับระบบวงจรช่วยชีวิต
รวมทัง้ สายเมนที่จ่ายไฟฟ้ าให้
จะต้องมีมาตรฐานการทนไฟ
ตามข้อกำหนดของแต่ละระบบตามข้อกำหนด
การทนไฟตามข้อ 12.8

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 14


12.6 การแยกระบบการเดินสาย

1) ห้ามเดินสายในระบบวงจรช่วยชีวิตร่วมกับ
ระบบอื่นๆ ในท่อสายหรือสิ่งห่อหุ้มเดียวกัน

2) สายเคเบิลหลายแกนห้ามใช้ร่วมกัน

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 15


12.7 ข้อกำหนดเฉพาะมอเตอร์สบู น้ำดับเพลิง

1) สวิตช์แยกวงจร ( Isolating Switch )

ถ้าระบบควบคุมมอเตอร์สบู น้ำดับเพลิงเป็ น

แบบอัตโนมัติ จะต้องติดตัง้ Isolating Switch

ทางด้านไฟเข้าและอยู่ติดกับเครื่องควบคุม

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 16


2) การป้ องกันกระแสเกิน
- เป็ นแบบ Inverse Time
- รับกระแสได้ 1.25 In
- ปลดวงจรได้ 6 In ไม่เร็วกว่า 20 s
- รับกระแส Locked Rotor ได้

3)ห้ามติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับและปลวงจร
เมื่อ อุณหภูมิของมอเตอร์สงู เกินพิกดั

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 17


4 ) วงจรควบคุม
- รับไฟโดยตรงจาก สายเส้นไฟ ( Line ) และ สาย Neutral

- ให้สายเส้นไฟของวงจรควบคุมต่อโดยตรงไป
ยังขดลวดของชุดเริ่มเดินเครื่อง Starter

- ห้ามติดตัง้ อุปกรณ์ ป้ องกันกระแสเกินใดๆ

ผศ. ประสิทธิ ์ พิทยพัฒน์ 18


12.8 ข้อกำหนดการทนไฟของระบบวงจรช่วยชีวิตต่างๆ

12.8.1 สายไฟฟ้ าสำหรับวงจรช่วยชีวิตต้องทน

เพลิงไหม้ได้ตาม BS 6387 ระดับชัน้ CWZ


สำหรับระบบดังต่อไปนี้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 19


1 ) ระบบจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน

2 ) ระบบอัดอากาศสำหรับบันไดหนี ไฟ

3 ) ระบบดูดและระบายควัน

4 ) ระบบสูบน้ำและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

5 ) ระบบสื่อสารฉุกเฉินสำหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้

6 ) ระบบลิฟต์ผจญเพลิง
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 20
12.8.2 สายไฟฟ้ าสำหรับวงจรช่วยชีวิตต้องทน
เพลิงไหม้ได้ตาม BS 6387 ระดับชัน้ AWX
หรือผ่านมาตรฐาน IEC 60331
ุ สมบัติ การปล่อยก๊าซกรด
พร้องทัง้ มีคณ
ตามมาตรฐาน IEC 60754 - 2
และมีคณ ุ สมบัติการปล่อยควัน
ตามมาตรฐาน IEC 61034 - 2
ซึ่งได้แก่ระบบดังต่อไปนี้

1 ) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั
2 ) ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิน
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 21
12.9 การรับรองความพร้อมสมบูรณ์ของ
ระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต

12.9.1 ผูใ้ ห้การรับรอง


ให้วิศวกรไฟฟ้ าที่มีใบ ประกอบวิชาชีพเป็ นรับรอง

12.9.2 ขอบเขต และระยะเวลาการตรวจรับรอง


ต้องจัดทำราขงานการทดสอบ
ระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต ปี ละ 1 ครัง้

ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทย 22

You might also like