You are on page 1of 48

ประหยัดพลังงานอย่างง่ายๆเข้าใจได้

1
ระบบแสงสว่าง
1. ปิดไฟช่วงพักเทีย่ งและปิดไฟฟ้าไม่ได้ใช้งานเสมอ

2. เปิ ดไฟเฉพาะทีแ่ ละเมือ่ มีการใช้งาน

3. ใช้แสงธรรมชาติ (Daylight) แทนหลอดไฟ

2
ระบบแสงสว่าง
4. ใช้แผ่นสะท้อนแสงประสิทธิภาพสูงและลดจํานวนหลอดไฟต่อโคม
5. ลดหลอดไฟในพืน้ ทีม่ ปี ริมาณแสงสว่างเกินมาตรฐาน

3
ระบบแสงสว่าง

6. เลือกใช้หลอดไฟทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง (T5,LED)

4
ระบบแสงสว่ าง
7. ตรวจสอบและปิ ดหลอดไฟหลังเลิกงาน

8. ลดการใช้หลอด Spot Light หรือ


Display Light ซึง่ เป็ นหลอดไส้ทก่ี นิ ไฟมาก

9.หมันทํ
่ าความสะอาดหลอด

10. ป้องกันสิง่ ขีดขวางทีท่ าํ ให้


ปริมาณแสงหายไป

5
ระบบแสงสว่ าง
11. ใช้ Timer ควบคุมการเปิ ด-ปิดระบบแสงสว่าง ในพืน้ ที่
ทีม่ กี ารใช้งานเป็ นช่วงเวลาแน่นอนของแต่ละวัน

12. ใช้ Motion Sensor ควบคุมแสงสว่างของ


พืน้ ที่ เช่น ห้องนํ้า เดินทาง ปิ ดเมือ่ ไม่มคี นอยู่
และเปิดเมือ่ ตรวจจับเจอการเคลื่อนไหว

13. ใช้ Photo Switch ควบคุมการ เปิ ด – ปิด สําหรับบริเวณทีใ่ ห้แสงสว่างยาม


คํ่าคืน

6
ระบบแสงสว่ าง
14. เปลีย่ นจากหลอดไส้, หลอด Halogen เป็ น
หลอดตะเกียบ หรือหลอด LED

15. ติดป้ายระบุ
ตําแหน่งของโคมไฟ

7
ระบบแสงสว่ าง

16. จัดพืน้ ทีก่ ารทํางานและตําแหน่งโคมไฟให้เหมาะสม

8
ระบบปรั บอากาศ
17. เลือกซือ้ เครือ่ งปรับอากาศทีม่ มี าตรฐานเบอร์ 5
18. ตัง้ อุณหภูมทิ ร่ี ะดับร่างกายรูส้ กึ สบายโดยไม่
ควรตัง้ ตํ่ากว่า 25°C

19. ตรวจสอบตัวควบคุมอุณหภูม ิ Thermostat ให้ได้


มาตรฐาน

20. ปรับทิศทางลมให้ตรงกับผูใ้ ช้งาน

21. เปิดพัดลมเครือ่ งความเร็วสูงและเพิม่ อุณหภูมขิ น้ึ 9


ระบบปรั บอากาศ

22. ถ้าไม่อยูห่ อ้ งเกิน 1 ชัวโมง


่ ควรปิ ด
เครือ่ งปรับอากาศ ปิ ดเครือ่ งปรับอากาศในช่วง
พักเทีย่ ง

23. เปิดเครือ่ งปรับอากาศต้องไม่เปิ ดประตู


และหน้าต่างทิง้ ไว้
24. ควรปิดเครือ่ งปรับอากาศก่อนเลิกงาน 15-30นาที
ก่อนเลิกงานหรือมากกว่านี้
10
ระบบปรั บอากาศ

25. หมันทํ
่ าความสะอาดแผ่นกรองอากาศ
อย่างสมํ่าเสมอ

ง ฝ้า เพดาน ทีม่ ี


26. อุดรอยรัวตามผนั

การรัวของอากาศเย็
่ น

11
ระบบปรั บอากาศ

27. เปิ ดพัดลมดูดอากาศทีค่ วามเร็วตํ่าสุด

28. ตรวจสอบ/ติดตัง้ ฉนวนกันเพือ่ ลดการทํางานของ


เครือ่ งปรับอากาศ

ฉนวนกันความร้อน
12
ระบบปรั บอากาศ
29. หลีกเลีย่ งการเก็บเอกสารหรือ
วัสดุทไ่ี ม่จาํ เป็ นเพือ่ ลดการสูญเสีย
ความเย็น
30. ไม่ปลูกต้นไม้หรือตากผ้าในห้อง
ทีม่ กี ารปรับอากาศ

31. ไม่ใช้อุปกรณ์ทเ่ี กิดความร้อน


ภายใช้หอ้ งปรับอากาศ
เช่น เตารีด เตาอบ ฯลฯ

13
ระบบปรั บอากาศ
32. ติดตัง้ กันสาด มูล่ ่ี ให้กบั หน้าต่าง เพือ่ ป้องกันความร้อนจากแสงแดด
เข้าอาคาร

33. ใช้ประตูอตั โนมัตเิ พือ่ ให้แน่ใจว่าประตู


ปิ ดแน่นอน

14
ระบบปรั บอากาศ

34. ใช้ Air Curtain เพือ่ ลดปริมาณอากาศรัวไหลออกสู


่ ่
ภายนอก บริเวณทีม่ กี ารเข้าออก เปิด/ปิดประตูบอ่ ยๆ

15
ระบบปรั บอากาศ

35. ติดตัง้ บังแดดเพือ่ ลดภาระการทํางาน


ของเครือ่ งปรับอากาศ

36. กําจัดสิง่ ขีดขวางทางออกของลมร้อนรอบ


Condensing Unitติดตัง้ คอนเดนซิง่ ยูนิตไม่ถกู
แสงแดดโดยตรงและอากาศถ่ายเทได้ดตี ดิ ตัง้
แฟนคอยล์ยนู ิตและคอนเดนซิง่ ยูนิตให้อยูใ่ กล้
กันมากทีส่ ดุ
16
ระบบปรับอากาศ
37. กําจัดสิง่ ขีดขวางทางออกของลมเย็นติดตัง้
แฟนคอยล์ยนู ิตสามารถกระจายลมเย็นได้อย่าง
ทัวถึ
่ ง

38. หมันตรวจเช็
่ คสารทําความเย็น
ของระบบปรับอากาศ

39. ทาสีผนังอ่อนเพือ่ ลด
การนําความร้อนเข้า
อาคาร
17
ระบบปรั บอากาศ
40. ไม่เปิดเครือ่ งปรับอากาศก่อนเวลา
ทํางานนานเกินไป

41. ทําความสะอาด Condensing Unit อย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้


42. สร้างอุปกรณ์บงั แสงทีส่ อ่ งโดยตรงให้ Condensing Unit

18
ระบบปรั บอากาศ

43. ไม่ควรติดตัง้ Condensing Unit ใกล้ผนังมากเกินไป และให้อากาศร้อนที่


จะบายออกจากตัวเครือ่ งมีทศิ ทางเดียวกับทิศทางลม

44. ติดตัง้ Condensing Unit ให้ระบายความร้อนได้ดี

19
ระบบขนส่ ง
45. ตรวจลมยางให้เหมาะสมและล้างไส้กรองให้สะอาด
46.ก่อนเดินทางไม่จาํ เป็ นต้องอุ่นเครือ่ งนานๆ
47.ไม่ออกรถกระชาก เร่งความเร็วมากเกินไป
48. ดับเครือ่ งทุกครัง้ เมือ่ จอดรอนานๆ

49. กําหนดเวลาการส่งของ/เดินทางในช่วงการจราจรเบาบาง
50. หมันตรวจเช็
่ คสภาพเครือ่ งตามวาระ
51. เลิกเบิล้ ...เบิล้ ...สิน้ เปลืองนํ้ามัน
52. ทางเดียวกันไปด้วยกัน
53. ปิดแอร์ก่อนถึงทีห่ มายก่อน 10-15นาที 20
ระบบขนส่ ง
54. ไม่บรรทุกของเกินความจําเป็ น
55. ขับรถไม่เกิน 90 กม./ชม.

56. เดินทางเท่าทีจาํ เป็ น


57. วางแผนก่อนออกเดินทาง

58. หมันศึ
่ กษาเส้นทางลัดเพือ่ ลดเวลาการเดินทาง
59. ใช้โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์ หรือ
E-mail แทนการเดินทาง
21
อุปกรณ์ สาํ นักงาน
60. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ประหยัดพลังงาน

61. เลือกใช้แต่อุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นทีส่ ดุ


ในการทํางาน

62. ตัง้ โหมด Stand By คอมพิวเตอร์


ทุกครัง้ ทีไ่ ม่ได้ใช้งาน

22
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

63. ตัง้ เครือ่ งให้ระบายความร้อนได้ดี


64. ปิดคอมพิวเตอร์เวลาพักเทีย่ ง

1. ปิ ดจอ
2. ตัง้ Screen Saver
3. Stand By
4. Shut Down
5. ถอดปลักไฟ๊
23
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

24
25
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

26
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

27
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

28
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

29
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

30
อุปกรณ์ สาํ นักงาน

1. ปิดจอ 80 วัตต์
2. ตัง้ Screen Saver 120 วัตต์
3. Stand By 6 วัตต์
4. Shut Down 3 วัตต์
5. ถอดปลักไฟ๊ 0 วัตต์

31
อุปกรณ์ สาํ นักงาน
65. ตัง้ Save Mode ของเครือ่ งถ่ายเอกสาร

66. ถอดปลักเครื
๊ อ่ งถ่ายเอกสารทุกครัง้ หลังเลิกงาน
32
อุปกรณ์ สาํ นักงาน
67. ถ่ายเอกสารเท่าทีจ่ าํ เป็ น
68. อย่าใช้กระดาษหน้าเดียวแล้วทิง้
69. ส่งเอกสารต่อๆกันหรือส่งไฟล์
แทนการสําเนาเอกสาร

33
ตู้เย็นและตู้แช่
70. วางตูเ้ ย็นให้หา่ งจากผนังอย่าง 15 ซม.
71. แช่น้ําในปริมาณทีเ่ หมาะสมกับจํานวนการปริโภค
72. ไม่วางอุปกรณ์ทม่ี คี วามร้อนใกล้ตเู้ ย็น

73. ไม่ตงั ้ ตูเ้ ย็นใกล้แดด อย่าตัง้ ตูเ้ ย็นไว้ใกล้แหล่งความร้อน หรือถูกแสงแดดส่อง


74. อย่านําของร้อนเข้าแช่ในตูเ้ ย็นทันที
ควรรอให้อุณหภูมเิ ย็นลดก่อน
75. หมัน่ ละลายนํ้าแข็งDefrost ป้องกันไม่ให้
นํ้าแข็งหนาเกิน 5 มม.
76. ตัง้ อุณหภูมใิ นตูเ้ ย็น 3-6 oC และ
ช่องแช่ ลบ 15-18 oC
34
ตู้เย็นและตู้แช่
77. ตรวจสอบยางขอบประตูตเู้ ย็นให้มสี ภาพดีอยูเ่ สมอ

78. ไม่เปิ ดตูเ้ ย็นบ่อยๆ หรือเปิดค้างไว้นานๆ


79. ไม่ใส่ของจนแน่นเกินไป ให้มชี อ่ งว่างเพือ่ ความเย็น
ไหลเวียนได้สมํ่าเสมอ
35
พัดลม
80. อย่าเปิดทิง้ ไว้ เมือ่ ไม่มคี นอยู่

81. ยิง่ เปิดลมแรง ยิง่ ใช้ไฟมากขึน้

82. อย่าให้ใบพัดโค้งงอผิดส่วน

83. พัดลมทีม่ รี ะบบรีโมทคอนโทรลต้องถอดปลัก๊


ทันทีทเ่ี ลิกใช้

84. หมันทํ
่ าความสะอาดใบพัดและตะแกรงครอบ
และแผงหุม้ มอเตอร์พดั ลม อย่าให้มฝี นุ่ เกาะ
36
กระติกนํา้ ร้ อน

85. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับความต้องการใช้
86. เลือกทีม่ ฉี นวนกันความร้อน
87. ใส่น้ําเท่าทีต่ อ้ งการใช้
88. อย่าเสียบปลักทิ
๊ ง้ ไว้นาน ก่อนการใช้งานจริง
89. ถอดปลักทั
๊ นทีทเ่ี ลิกใช้
90. อย่าให้มตี ะกรันด้านในของตัวกระติก
91. อย่านํานํ้าเย็นไปต้มทันที
37
38
39
ระบบสุขาภิบาล

92. ล้างจานครัง้ ละมากๆ

93. ควรล้างผักและผลไม้ในอ่างหรือภาชนะ

94. นํานํ้าล้างจานไปรดนํ้าต้นไม้

95. ตัง้ ปริมาณนํ้าในโถงชักโคกในเหมาะสม

ั ๊ ้าขึน้ แท๊งนํ้า ในช่วง Off Peak


96. ปมนํ

97. หมันตรวจสอบรอยรั
่ วในห้
่ องนํ้า
40
ระบบสุขาภิบาล

98. ไม่ควรลดนํ้าต้นไม้ใน
ช่วงแดดจัด
99. รองนํ้าก่อนใช้
เช่น ล้างจาน การแปรงฟนั

100. ทําความสะอาดเบือ้ งต้นของใช้น้ํา


เช่น ล้างจาน ล้างรถ ล้างมุง้ ลวด

41
ระบบสุขาภิบาล

101. ตัง้ ปริมาณนํ้าให้พอดี


ก่ อนปรับ หลังปรับ

42
ระบบสุขาภิบาล

นํ้าคือ...ชีวิต
นํ้า ไม่ได้มีมากอย่างที่คิด ใช้น้าํ ...ทุกหยด
อย่างรูค้ ุณค่า

43
ระบบอื่นๆ

101.หมันตรวจสอบงานระบบและกรอบ

อาคารเพือ่ ป้องกันการสูญเสียพลังงาน

102. กระตุน้ เตือนให้ผอู้ ่นื ช่วยกัน


ประหยัดพลังงานโดยติด
สัญญาลักษณ์ หรือเครือ่ งหมาย

103. หลีกเลีย่ งการใช้จานกระดาษ


แก้วกระดาษ ในงานจัดเลีย้ ง
44
ระบบอื่นๆ

106. นึกถึงคําว่า ลด (Reduce)เช่น ลดการใช้กระดาษ


107. นึกถึงคําว่า นําไปใช้ใหม่ (Reuse)เช่น ใช้กระดาษ 2 หน้า
108. นึกถึงคําว่า นําไปใช้แปรรูป (Recycle)เช่น เศษกระดาษ
เศษแก้ว เศษพลาสติก

45
ระบบอื่นๆ

104.คัดแยกขยะก่อนนําไปทีง้

105.ทิง้ ขยะให้ถกู ที่ ถูกประเภท

46
47
วันนีค้ ุณประหยัดพลังงาน...
เพือ่ ตัวเอง...เพือ่ ประเทศ...
เพือ่ โลก...ของเรา หรื อยังครั บ…?

ขอบคุณครับ
48

You might also like