You are on page 1of 17

ระบบของอาคาร

1.ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
1.1 ระบบปรับอากาศ
"การปรับ อากาศ (Air Conditioning) หมายถึ ง
กระบวนการปรับ สภาวะของอากาศ เพื่อ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ
(Temperature) ความชื้ น (Humidity) ความสะอาด (Cleanliness)
และการกระจายลม (Motion) ภายในห้อ งให้ เ หมาะสมกับ ความต้อ งการ"
ประเภทของระบบปรับอากาศ
1) เครื่อ งปรับ อากาศแบบแยกส่ว น (Split Type Air
Conditioning) คื อ เครื่อ ง
ปรับ อากาศประกอบสาเร็ จ แล้ ว จากโรงงานผู้ผ ลิต
โดยแบ่ง ออกเป็ น 2 ส่ ว น คื อ
1. หน่ ว ยเครื่อ งส่ ง ลมเย็ น (Air Handling Unit, AHU)
หรื อ หน่ ว ยแฟนคอยล์ (Fan Coil Unit,
FCU) จะติด ตั้ง ไว้ ภ ายในห้อ ง เป็ นส่ว นที่ทาความเย็ น ให้ แ ก่ห้อ ง
2. หน่ ว ยคอยล์ ร ้อ น (Condenser Unit,
CDU) จะติด ตั้ง ไว้ บ ริเ วณนอกห้อ งหรื อ นอกอาคาร
ใช้ ร ะบายความร้อ นที่ร บ ั มาจากภายในห้อ งออกทิ้ ง สู่ ภ ายนอก โดย
CDU 1 ชุ ด อาจใช้ ร่ ว มกับ AHU หรื อ FCU มากกว่ า 1 ชุ ด ก็ ไ ด้

2) เครื่อ งปรับ อากาศแบบชุ ด (Package Air Conditioning)


มี ล ก
ั ษณะคล้า ยกับ เครื่อ งปรับ อากาศแบบแยกส่ว น แต่ข นาดการ
ทาความเย็ น จะมี ค่า มากกว่า และการระบายความร้อ นจะมี 2
ประเภทคื อ
เครื่อ งปรับ อากาศแบบชุ ด ชนิ ด ระบายความร้อ นด้ว ยอากาศ (Air
Cooled Package, ACP)
และเครื่อ งปรับ อากาศแบบชุ ด ชนิ ด ระบายความร้อ นด้ว ยน้า (Wat
er Cooled Package, WCP)

Air Cooled Package

Water Cooled Package

3) ระบบปรับ อากาศแบบทาความเย็ น จากส่ว นกลาง (Central Air


Conditioning) คื อ
ระบบปรับ อากาศที่ทาความเย็ น ให้แ ก่ อ าคารโดยใช้ ส ารทาความเย็
นเป็ นตัว กลางในการแลกเปลี่ย นความร้อ นกับ น้า ที่ค อยล์ เ ย็ น
(Evaporator) ของเครื่อ งทาน้า เย็ น (Water Chiller)
ทาให้น้า อุ ณ หภู มิต่า (Chilled Water)
ก่อ นที่จ ะลาเลี ย งไปตามระบบท่อ (Piping System)
โดยอาศัย แรงดัน จากเครื่อ งสู บ น้า เย็ น (Chilled Water Pump)
ไปแลกเปลี่ย นความร้อ นกับ อากาศภายในห้อ ง
ทาให้ น้า เย็ น มี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น และน้า จะถู ก ส่ ง กลับ ไปแลกเปลี่ย นคว
ามร้อ นกับ สารทาความเย็ น ที่ค อยล์ เ ย็ น ของเครื่อ งทาน้า เย็ น อี ก ครั้ง
สารทาความเย็ น เมื่อ ได้ร บ ั ความร้อ นจากน้า จะถู ก คอมเพรสเซอ
ร์ (Compressor)
ของเครื่อ งทาน้า เย็ น อัด ทาให้ส ารทาความเย็ น มี ค วามดัน และอุ ณ ห
ภู มิ สู ง ขึ้ น และส่ ง ไประบายความร้อ นที่ ค อยล์ ร ้อ น (Condenser)
ของเครื่อ งทาน้า เย็ น ทาให้ส ารทาความเย็ น มี อุ ณ หภู มิล ดต่า ลง
ก่อ นจะส่ ง ผ่า นวาล์ ว ลดความดัน (Expansion Valve)
และไหลกลับ เข้า สู่ ค อยล์ เ ย็ น เพื ่อ แลกเปลี่ย นความร้อ นกับ น้า เย็ น อุ
ณหภู มิสู ง ต่อ ไป
การระบายความร้อ นของเครื่อ งทาน้า เย็ น จะมี 2 ชนิ ด คื อ
เครื่อ งทาน้า เย็ น ชนิ ด ระบายความร้อ นด้ว ยอากาศ (Air Cooled
Water Chiller)
และเครื่อ งทาน้า เย็ น ชนิ ด ระบายความร้อ นด้ว ยน้า (Water
Cooled Water Chiller)
การปรับ อากาศจะต้อ งมี ก ารหมุ น เวี ย นอากาศ
เพื่อ ให้ ใ นห้ อ งเกิ ด การหมุ น เวี ย นของอากาศบริ สุ ท ธิ ์
เข้า แทนที่อ ากาศที่ห มุ น เวี ย นภายในห้ อ งจึง จาเป็ นจะต้อ งมี ทอ ่ ลมก
ลับ (Return Air)ทาหน้าทีน ่ าลมร้อนจากภายในห้อง
กลับมาเข้ายังเครือ ่ งปรับอากาศเพือ ่ เปลีย่ นเป็ นลมเย็นและปล่อยสูห
่ อ้ ง
และเพือ ่ ให้ได้ปริมาณออกซิเจนทีเ่ พียงพอ
จะมีการนาอากาศจากภายนอกห้องปรับอากาศเข้ามามักเรียกว่า
อากาศบริสุทธิ ์ (Fresh Air)
Air Cooled Water Chiller
Water Cooled Water Chiller

ระบบระบายอากาศ
การระบายอากาศ หมายถึง
การทาให้อากาศเกิดการไหลเวียนและถ่ายเท เข้า-ออก เพือ ่ กาจัดมลพิษ
ความร้อน ความชื้น ฯลฯ
ให้ออกจากพื้นทีแ ่ ละให้อากาศบริสุทธิเ์ ข้าไปแทนที่
การระบายอากาศแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1) การระบายอากาศแบบธรรมชาติ (Natural
Ventilation)โดยการออกแบบช่องเปิ ดให้อากาศสามารถไหลเวียน
ถ่ายเทได้
2) การระบายอากาศโดยวิธีกล (Mechanism Ventilation)
เป็ นวิธีการระบายในส่วนทีไ่ ม่สามารถระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ
ได้จงึ จาเป็ นทีจ่ ะต้องอาศัยอุปกรณ์ หรือเครือ
่ งกล เช่น
พัดลมระบายอากาศ เป็ นต้น

2.ระบบไฟฟ้ า (Electrical system)


เป็ นระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้แก่อุปกรณ์ ไฟฟ้ าในโรงแรม
และเครือ่ งมือต่างๆ ทีต
่ อ
้ งการใช้กระแสไฟฟ้ า
โดยทั่วไประบบกระแสไฟฟ้ าหลักของโรงแรมได้จากระบบการไฟฟ้ า
โดยต่อจากสายเมนกระแสแรงสูงแล้วจึงผ่านการแปลงกาลังไฟฟ้ าให้มีแรงเคลือ
่ น
ต่าลง โดยผ่านหม้อแปลงขนาด 12kV แปลงกระแสแรงสูงเป็ น 2 ขนาด
1) ขนาดแรงดันไฟฟ้ า 220 V ใช้สาหรับระบบไฟฟ้ าส่องสว่างทั่วไป,
เต้าเสียบพัดลมดูดอากาศ, เครือ
่ งใช้สานักงาน และอุปกรณ์ อืน
่ ๆ
2) ขนาดแรงดันไฟฟ้ า 380 V
ใช้สาหรับจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบ ั ระบบปรับอากาศ,
ระบบระบายอากาศ, ระบบสัญจรแนวดิง่
การจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าแต่ละชัน้ ของอาคาร โดยจ่ายผ่าน Bus
Duct Riser เข้าไปยังแผงจ่ายไฟย่อยในแต่ละชัน ้
การเดินสายไฟภายในและภายนอกอาคารทัง้ หมดเดินด้วยระบบเดินท่อ
ร้อยสาย

2.1 ระบบไฟฟ้ ากาลัง


สาหรับการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบ ั เครือ
่ งคอนเดินเซอร์ป๊มั
และหอผึง่ น้าของระบบปรับอากาศ ขนาดของกาลังไฟฟ้ าใช้ระบบ 3 เฟส 4 สาย
โดยการติดตัง้ สายเคเบิลจากระบบสายส่งของการไฟฟ้ าในท่อโลหะฝังดินเข้าไปยั
งห้องติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 1,600 KVA
เพือ ่ ทาการลดขนาดของแรงเคลือ ่ นไฟฟ้ าให้มีขนาด 380/210 V
จากนัน ้ จึงจะสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าสูแ ่ ผงจ่ายไฟฟ้ าแรงเคลือ่ นต่า
แผงจ่ายกระแสไฟฟ้ าแรงเคลือ ่ นชนิดทีใ่ ช้ระบบการระบายความร้อนด้วยอากาศเ
พราะไม่เปลืองเนื้อทีใ่ นการติดตัง้ และสามารถบารุงรักษได้งา่ ย
2.2 ระบบไฟฟ้ าส่องสว่าง
เป็ นระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้ าสาหรับใช้ในดวงโคมต่างๆ
ตลอดจนอุปกรณ์ เครือ ่ งใช้สานักงานต่างๆ ทั่วไป
ทัง้ ในส่วนห้องพักแขกและส่วนสาธารณะ
ซึง่ มีความต้องการความเข้มของแสงในการส่องสว่างและปริมาณไฟฟ้ าในแต่ละส่
วนของอาคารแตกต่างกัน ตามลักษณะการใช้งานและช่วงเวลาของแต่ละประเภท
ซึง่ จะต้องมีการพิจารณาถึงตาแหน่ ง จานวน ระยะห่าง
และความเข้มของอุปกรณ์ แต่ละชนิด
ทีน ่ ามาติดตัง้ ตามความเหมาะสมของแต่ละประเภท
ระบบไฟฟ้ าสาหรับการส่องสว่างใช้ระบบ 220 V เฟสเดียว
ดวงไฟและอุปกรณ์ ทีใ่ ช้ในอาคารควรคานึงถึงเรือ ่ งการประหยัดพลังงานในอาคา
รด้วย เพราะอุปกรณ์ บางชนิดต้องเปิ ดใช้งานตลอดเวลา 24 ชั่วโมง เช่น
ในห้องแช่เย็นในห้องครัว เป็ นต้น รวมทัง้ อุปกรณ์ หลอดไฟฟ้ าต่างๆ
ควรเลือกใช้หลอดประหยัดพลังงาน และอุปกรณ์ ทม ี่ ีระบบหระหยัดพลังงาน
เพือ ่ ทีจ่ ะสามารถลดภาระค่าใช้จา่ ยด้านค่าไฟฟ้ าของโรงแรมไปได้มาก
2.3 ระบบไฟฟ้ าสารอง
ใช้ในกรณีทีร่ ะบบกระแสไฟฟ้ าหลักเกิดการขัดข้อง
เครือ ่ งไฟฟ้ าฉุ กเฉินจะทางานทันทีภายใน 10 วินาที
เครือ ่ งกาเนิดไฟฟ้ าฉุ กเฉินต้องสามารถผลิตไฟฟ้ าได้ไม่น้อยกว่า 30%
ของอัตรากาลังไฟฟ้ าสูงสุดในยามปกติ
โดยทั่วไปแบ่งประเภทของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าฉุ กเฉินออกเป็ น 2 ระบบด้วยกัน
คือ
1) เครือ ่ งยนต์ดเี ซบเจเนเรเตอร์ (Diesel Gernaerator)
ทางานโดยการใช้ Microprocessor
เป็ นตัวควบคุมการทางานของเครือ ่ งโดยสามารถทดสอบการทางานข
องเครือ่ งได้ทุกขณะ โดยไม่ไปรบกวนระบบไฟฟ้ าในระบบปกติ
กระแสไฟฟ้ าทีไ่ ด้จากระบบไฟฟ้ าฉุ กเฉิ นระบบนี้จะถูกจ่ายให้แก่ระบ
บไฟฟ้ าต่างๆ ดังนี้
1.1) ระบบไฟฟ้ าส่องสว่าง สามารถแบ่งออกได้ดงั นี้
1.2) ระบบดับเพลิง เช่น ระบบปั๊มสูบน้าดังเพลิง
1.3) ปั๊มน้าทั่วไปในระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบน้าร้อน น้าเย็น
เป็ นต้น
1.4) ลิฟต์โดยสารในโรงแรม
1.5) ส่วนบริการอาหาร
1.6) ห้องเย็นและห้องอาหาร

2) ระบบแบตเตอรี่ (Battery)
ใช้สาหรับวงจรของอุปกรณ์ สญั ญาณเตือนภัยทุกระบบ เช่น
ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ระบบรักษาความปลอดภัย
รวมทัง้ ป้ อยบอกทางหนีไฟ และไฟฟ้ าฉุ กเฉินในลิฟท์ เป็ นต้น

3. ระบบสุขาภิบาลในอาคารสูง
3.1 ระบบน้าใช้ (Water Supply)
หมายถึงน้าใช้หรือน้าสะอาดทีน ่ าไปใช้ในโรงแรม
โดยมีแหล่งน้าทีส ่ าคัญคือ ระบบน้าจากการประปา สาหรับการอุปโภค บริโภค
โดยมีบอ ่ พักน้าในพื้นทีโ่ ครงการก่อนทีจ่ ะส่งขึน ้ สูถ
่ งั เก็บน้าบนชัน ้ บนเพือ ่ เข้าสูร่ ะ
บบน้าใช้แบบ Gravity feed หรือ Down feed
ซึง่ ถังเก็บน้าควรอยูส่ ูงกว่าระดับของเครือ ่ งสุขภัณฑ์ในชัน ้ ทีอ
่ ยูใ่ กล้ทส ี่ ุดประมาณ
4-6 เมตร เป็ นอย่างน้อย ทัง้ นี้เพือ่ ให้ความดันในท่อจ่ายน้าไปสูส ่ ว่ นต่างๆ
ของโรงแรมมีแรงดันทีเ่ พียงพอ และพื้นทีช ่ น
้ ั ล่างบางส่วนอาจใช้ระบบ Up feed
ได้ เช่น ก๊อกน้าบริเวณสวน

Up Feed System Down Feed


System

3.2 ระบบน้าร้อนและไอน้าร้อน (Hot Water and Stream Supply


System)
น้าร้อนและไอน้ามักจะอยูใ่ นขัน ้ ตอนการผลิตเดียวกัน
โดยทุกโรงแรมจะติดตัง้ ระบบทาน้าร้อนโดยใช้ Stream
เพือ
่ การจ่ายน้าร้อนไปยังสุขภัณฑ์ตา่ งๆ ทีต ่ อ ้ งการใช้น้าร้อน
น้าร้อนจะถูกผลิตโดย Hot water generator ซึง่ เป็ นแบบ Stream heated
elements
น้าร้อนจะถูกส่งไปตามท่อน้าร้อนและมีการหมุนเวียนตลอดเวลาโดยใช้น้าร้อนไ
ด้ทน ั ทีและร้อนอยูต ่ ลอดเวลา
ท่อน้าร้อนทีใ่ ช้จะต้องมีการหุม ้ ฉนวนกันความร้อนและติดตัง้ ให้ถูกต้องตามหลักวิ
ชาการ เพือ ่ ป้ องกันอันตรายทีอ ้ ได้
่ าจเกิดขึน
ระบบ Stream นอกจากระบบน้าร้อนทีส ่ ง่ ไปยังสุขภัณฑ์ตา่ งๆ
แล้วยังต้องมีระบบน้าร้อนเพือ ่ ส่งน้าร้อนทีต ่ อ ้ งต้มให้ถงึ 80
องศาเซลเซียสไปสูห ่ อ ้ งซักรีดและส่วนเครือ ่ งล้างจานในห้องครัว และส่วนซักรีด
ส่วนน้าร้อนทีใ่ ช้ในส่วนอืน ่ ๆ จะมีอุณหภูมข ิ องน้าประมาณ 50 องศาเซลเซียส
การผลิตน้าร้อนเริม ่ จากขบวนการทาน้าเย็นให้เป็ นน้าร้อน
โดยน้าเย็นจากระบบท่อน้าใช้จะถูกปั๊มผ่านเครือ ่ งทาน้าอ่อน (Water softner)
ก่อน แล้วจึงผ่านเครือ ่ งกาจัดอากาศ (Deaerater)
และผ่านเข้าสูก ่ ระบวนการทาไอน้าร้อน
เพือ ่ ทาน้าเย็นให้กลายเป็ นไอน้าร้อนโดยส่วนหนึ่งจะถูกแยกปั๊มไปใช้ในห้องซักรี
ดและเครือ ่ งล้างจาน ไอน้าร้อนส่วนหนึ่งจะถูกส่งเข้าสู่ Hot water Generator
เพือ่ ทาไอน้าร้องให้กลายเป็ นน้าร้อนส่งไปยังส่วนต่างๆ ของโรงแรม
โดยน้าร้อนในระบบท่อจะมีการหมุนเวียนของน้าอยูต ่ ลอดเวลาด้วยเครือ่ งวัดอุณห
ภูมข ิ องน้าในท่อ เมือ ่ อุณหภูมลิ ดลงจนถึงระดับหนึ่งก็จะทางานโดยอัตโนมัติ
ระบบน้าร้อน
ระบบน้าร้อนจากระบบ VRV
3.2 ระบบระบายน้า (Drainage system)
1) การระบายน้าฝน (Storm water drainage)
ระบบระบายน้าฝนของโรงแรมแบ่งออกเป็ นการระบายน้าฝนบนหลั
งคา และการระบายน้าฝนระดับผิวดิน
สาหรับการระบายน้าฝนบนหลังคาจะระบายออกไปภายนอกโดยมีท่
อแยกต่างหากจากท่อระบายน้าทิง้ และน้าโสโครกของอาคาร
ซึง่ ควรคานึงถึงการออกแบบร่องระบายน้า
และบ่อพักบาบัดให้มค ี วามเหมาะสม ส่วนการระบายน้าผิวดิน
จะใช้ระบบแยกจากระบบน้าโสโครก
เพือ ่ น้าฝนจะได้ระบายสูแ
่ หล่งน้าธรรมชาติโดยตรงไม่ตอ
้ งผ่านการ
บาบัด
2) การระบายน้าทิง้ (Waste water drainage)
น้าทิง้ คือน้าทีร่ ะบายออกจากเครือ ่ งสุขภัณฑ์ท่วั ไป
(ยกเว้นโถส้วมและทีป ่ สั สาวะ) น้าจากห้องครัวของโรงแรม
น้าทีร่ ะบายจากเครือ ่ งจักรและอุปกรณ์ ตา่ งๆ
จะใช้ระบบแยกท่อน้าทิง้ จากสุขภัณฑ์ตา่ งๆ
(ยกเว้นโถส้วมและทีป ่ สั สาวะ) ออกจากอ่างล้างหน้า
และอ่างอาบน้าซึ่งต้องเข้าสูข ่ น
้ ั ตอนการบาบัดก่อน
ส่วนน้าทิง้ จากครัวและภัตตาคาร
รวมทัง้ น้าทิง้ จากเครือ่ งจักรอุปกรณ์
จาเป็ นจะต้องผ่านกระบวนการกาจัดไขมันโดยผ่านบ่อกาจัดไขมันก่
อนจะเข้าสูร่ ะบบกาจัดน้าเสียของโรงแรม

3) ระบบกาจัดน้าโสโครก (Sewage treatment)


น้าโสโครก หมายถึง การระบายน้าทิง้ จากสุขภัณฑ์หนักของโรงแรม
เช่น ส้วม และทีป ่ ส
ั สาวะ
ซึง่ จาเป็ นต้องผ่านการบาบัดน้าเสียตามกรรมวิธีทถ
ี่ ูกต้องก่อนทีจ่ ะระ
บายลงสูแ ่ หล่งน้าธรรมชาติหรือระบบการระบายน้าสาธารณะ
4.ระบบสัญจรแนวดิง่
4.1 ลิฟต์
4.1.1 ลิฟต์ระบบไฟฟ้ า สามารถแบ่งประเภทได้ดงั นี้
1) แบบไม่มีเกียร์ (Gearless Traction Machine)
เหมาะกับลิฟต์ ทีม ่ ีความเร็ว 120 เมตรต่อนาทีขน ึ้ ไป
โดยทั่วไปลิฟต์แบบไม่มเี กียร์จะมีขนาดรับน้าหนักประมาณ 900
ถึง 1800 กิโลกรัม
ระบบไม่มีเกียร์มีขอ ้ ดีกว่าแบบมีเกียร์ตรงทีว่ งิ่ และหยุดได้นุ่มนวลก
ว่า มีเสียงเงียบกว่า และมีอายุใช้งาน ยาวนานกว่า
2) แบบมีเกียร์ (Geared Traction Machine) มีราคาถูกกว่า
ระบบแบบมีเกียร์
ระบบมีเกียร์สมัยใหม่จะใช้มอเตอร์กระแสสลับทควบคุมด้วยอุปกร
ณ์ ปรับความเร็วรอบ ซึง่ จะสามารถ
สร้างความเร่งและความเร็วได้มีคุณภาพใกล้เคียงกับมอเตอร์กระแ
สตรง โดยทีม ่ รี าคาถูกกว่า และมีประสิทธิภาพมากกว่า
4.1.2 ลิฟต์ระบบไฮดรอลิค (Hydraulic)
มีลกั ษณะพื้นฐานคลายกับลิฟต์ระบบไฟฟ้ า
ยกเว้นไม่ได้ใช้มอเตอร์และสลิงในการขับเคลือ ่ น
แต่ใช้กา้ นยกไฮดรอลิคและปั๊มไฮดรอลิคในการขับเคลือ ่ นแทน
ลิฟต์ระบบไฮดรอลิค
ไม่จาเป็ นต้องมีหอ ้ งเครือ ่ งทีด
่ า้ นบนเหมือนลิฟต์ระบบไฟฟ้ า
เครือ่ งปั๊มไฮดรอลิคอยูด ่ า้ นล่างใกล้กบั ปล่องลิฟต์
(แต่ไม่จาเป็ นต้องอยูต ่ ด
ิ กัน) เหมาะกับอาคารทีไ่ ม่สูงมาก
(โดยทั่วไปไม่เกิน 20 เมตร) และต้องการลิฟต์ ความเร็วต่า
(ไม่เกิน 60 เมตร/นาที) ระบบควบคุมต่างๆ
จะเหมือนกับลิฟต์ระบบไฟฟ้ า เช่น ปุ่ มเรียกลิฟต์ , ระบบประตู,
ระบบความปลอดภัย เป็ นต้น
ลิฟต์ระบบไฟฟ้ า ลิฟต์ระบบไฮดรอลิค
4.2 บันไดเลือ ่ น
บันไดเลือ ่ นโครงสร้างเหล็กประกอบด้วยการนาเหล็กมาเชือ ่ มต่อกันเป็ น
โครงถัก ขัน ้ บันไดจะเลือ ่ นรางซึ่งยึด ติดอยูก
่ นอยูบ ่ บ
ั โครงเหล็ก ส่วนล้อเฟื อง, โซ่
และมอเตอร์ขบั จะประกอบกันคล้ายกับระบบโซ่ของจักรยาน อุปกรณ์ ควบคุม
จะติดตัง้ อยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงกับมอเตอร์
ราวจับจะถูกขับเคลือ ่ นด้วยความเร็วเท่ากับขัน ้ บันได
เพือ
่ ช่วยให้ผใู้ ช้ยด
ึ จับทรงตัวทัง้ ในระหว่างอยูบ ่ น บันได
และระหว่างก้าวเข้าและออกจากบันไดเลือ ่ น
สาหรับบันไดเลือ ่ นทั่วไปทีไ่ ม่สูงมากนัก (ไม่เกิน 6.5 เมตร)
มอเตอร์ขบั เคลือ ่ นจะติดตัง้ อยูท ่ บ
ี่ ริเวณชานพักด้านบน
ทาหน้าทีข่ บั เคลือ ่ นอุปกรณ์ ทง้ ั หมด
อย่างไรก็ตามเมือ ่ บันไดเลือ ่ นมีความสูงและความยาว มากขึน ้
มอเตอร์จะต้องมีขนาดใหญ่ขน ึ้ มาก
และอาจไม่สามารถติดตัง้ ไว้ในโครงบันไดเลือ ่ นได้ตอ
้ งมีหอ
้ งเครือ
่ งแยก
ดังนัน
้ บันไดเลือ ่ นทีม ่ ีมอเตอร์จุดเดียวจึงมีขอ ้ จากัดคือไม่สามารถสูงได้มาก
บันไดเลือ
่ นทีม ่ คี วามสูงมาก จะต้องออกแบบให้เป็ นลักษณะโมดูลา่ กล่าวคือ
มีมอเตอร์ขบั เคลือ ่ นติด ตัง้ อยูเ่ ป็ นช่วงๆตลอดความยาวของบันไดเลือ ่ น เช่น
ถ้าความสูงไม่เกิน 6 เมตรใช้มอเตอร์ชุดเดียว, ถ้า สูงระหว่าง 6-12 เมตร
ใช้มอเตอร์ 2 ชุด และมีมอเตอร์เพิม ่ 1 ชุดทุกๆความสูง 6 เมตร

ขนาดมอเตอร์ปกติของบันไดเลือ
่ น (Typical Escalator Motor Size)

You might also like