You are on page 1of 10

การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

(Control System for Air-Conditioning System)

ในการควบคุมระบบการทำ�งานโดยทั่วๆ ไป เพื่อ ชัดเจน และมีมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้งานการรับรอง


ให้ได้สภาวะการทำ�งานตามที่ต้องการนั้น ต้องอาศัย และควบคุมคุณภาพของสินค้า ทั้งในระหว่างการผลิต
อุปกรณ์ประกอบหลายๆ ส่วน เพื่อช่วยในการควบคุม และการจัดเก็บรักษาสินค้านั้นๆ ทำ�ให้มีความต้องการ
เช่น เซนเซอร์, ทรานสมิทเตอร์, ทรานสดิวเซอร์, การควบคุมที่ละเอียดและแม่นยำ�สูง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
ตัวควบคุมการทำ�งาน และ ส่วนตอบสนองการสั่งงาน การเลือกคุณสมบัติของส่วนประกอบของผู้ใช้งาน ใน
ต่างๆ แม้แต่ในการควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ บทความนี้ จะกล่าวถึงรายละเอียดเฉพาะระบบควบคุม
ก็ต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ เหล่านี้เช่นกัน ซึ่งส่วน แบบ Electronic ซึ่งมีความซับซ้อนในการเลือกใช้งาน
ของระบบควบคุมการทำ�งานนั้น ถือเป็นส่วนที่สำ�คัญ มากกว่าแบบ Mechanic
ของการควบคุมเลยทีเดียว ซึ่งอาจเทียบเท่ากับสมอง จากส่วนประกอบของระบบควบคุมที่ใช้ในการ
ของคนเรานั่นเอง ควบคุมแบบต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบของระบบควบคุม
เราจึ ง จำ � เป็ น ต้ อ งเลื อ กระบบการควบคุ ม ที่ มี หลักประกอบไปด้วย
ความเหมาะสมกับการใช้งานต่างๆ และตัวควบคุม - Input เป็นส่วนรับค่าตัวแปรต่างๆ เพื่อใช้ใน
สำ�หรับระบบปรับอากาศจะมีทั้งแบบที่เป็น Mechanic การควบคุม เช่น อุณหภูมิ, ความชื้น, แรงดัน,
และ Electronic ซึ่งแบบ Mechanic นั้น โดยทั่วไปจะ ความเร็วลม และ สถานะของการไหลของลม/
มีความละเอียดต่ำ�, ความแม่นยำ�ต่ำ� และราคาถูก น้ำ� เป็นต้น
เนื่องจากแบบ Electronic อาศัยคุณสมบัติที่แตกต่าง - Controlling Processor เป็นส่วนของการ
กันไปของวัสดุในการทำ�งาน จึงเป็นที่นิยมกันทั่วๆ ไป ประมวลผลและสั่งงาน
สำ�หรับแบบ Electronic นั้น สามารถให้ความละเอียด - Output เป็นส่วนของการสั่งการทำ�งานของ
และแม่ น ยำ � ถู ก ต้ อ งสู ง กว่ า แต่ ร าคาสู ง กว่ า แบบ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมเพรสเซอร์, ฮีตเตอร์,
Mechanic แต่แบบ Electronic นี้กำ�ลังเป็นที่นิยมมาก เครือ่ งลดความชืน้ , เครือ่ งเพิม่ ความชืน้ , วาล์ว
ขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากสามารถแสดงผลให้เห็นได้อย่าง และ ปั๊มน้ำ� เป็นต้น
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 39
การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

รูปที่ 1.1 ไดอะแกรมการควบคุม

ดังนั้น เราควรศึกษาความสามารถในการทำ�งาน/ รูปที่ 1.2 ตัวอย่าง เทอร์มิสเตอร์ และ RTD


สั่งงานและเหมาะสมของส่วนประกอบต่างๆ ของตัว
ควบคุม เพื่อจะนำ�ไปเลือกตัวควบคุมได้ตามการใช้งาน  NTC
อย่างแท้จริง ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายถึงรายละเอียด (Negative Temperature Coefficient)
ของส่วนประกอบ ความสำ�คัญ ความเหมาะสม และ เป็นโพรบ (probe) สำ�หรับวัดอุณหภูมิ ซึ่งเป็น
ชนิดต่างๆ ของส่วนประกอบเหล่านั้น ตัวต้านทานชนิดหนึง่ (Resistor) ทีม่ ีค่าความต้านทาน
แปรผกผันกับอุณหภูมิ คือ เมือ่ อุณหภูมติ �่ำ โพรบจะอ่าน
1. Input ส่วนรับค่าตัวแปรต่างๆ เพื่อใช้ใน ค่าความต้านทานได้สูง และ เมื่ออุณหภูมิสูงโพรบจะ
การควบคุม อ่านค่าความต้านทานได้ต่ำ� เหมาะสำ�หรับการควบคุม
โดยจะแบ่งตามลักษณะสัญญาณทีร่ บั เข้ามาเพื่อให้ อุณหภูมิปกติ, อุณหภูมิต่ำ� ไปจนถึงอุณหภูมิติดลบ
ตัวควบคุมทราบสภาวะปัจจุบันของอากาศที่ควบคุม เนื่องจากคุณสมบัติของ NTC จะมีความเป็นเชิงเส้น
1.1 Analog Input คือ อินพุททีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง (Linear) เมือ่ อุณหภูมติ �
่ำ แต่ไม่เหมาะกับงานทีต่ อ้ งการ
และ ต้องอ่านอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้ค่าต่างๆ เป็น ความละเอียดแม่นยำ�สูง
ค่าใกล้เคียงกับค่าปัจจุบันมากที่สุด เช่น อุณหภูมิ,  PTC
ความชื้น และ แรงดัน ซึ่งจะแบ่งตามลักษณะการจ่าย (Positive Temperature Coefficient)
ไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์วัด เพื่อให้เกิดสัญญาณต่อเนื่อง เป็นโพรบ (probe) สำ�หรับวัดอุณหภูมิ ซึ่งเป็นตัว
และนำ�ไปประมวลผลต่อไป ซึ่งแบ่งตามลักษณะการให้ ต้านทาน (Resistor) เช่นเดียวกันกับ NTC แต่คณุ สมบัติ
สัญญาณได้เป็น 2 แบบ คือ ของ PTC จะเป็นในทิศทางตรงกันข้ามกับ NTC คือ
a) Passive Input เมือ่ อุณหภูมสิ งู โพรบจะอ่านค่าความต้านทานได้สงู และ
b) Active Input เมือ่ อุณหภูมติ �่ำ โพรบจะอ่านค่าความต้านทานได้ต�
่ำ และ
a) Passive Input คือ อินพุทที่ให้สัญญาณได้ เหมาะสำ�หรับการควบคุมอุณหภูมิปกติ, ถึงอุณหภูมิสูง
โดยไม่มกี ารจ่ายไฟฟ้าให้กบั อุปกรณ์วดั ก็สามารถอ่านค่า ซึ่งจะสูงเท่าไรนั้น ขึ้นอยู่กับ Range ของโพรบ และ
สภาวะนั้นๆ ได้ โดยมากจะพบในอุปกรณ์วัดอุณหภูมิ ความทนความร้อนของวัสดุห่อหุ้ม โดยทั่วไปจะสูง
ได้แก่ เทอร์มิสเตอร์ และ RTD ชนิดต่างๆ เช่น มากกว่า 100 ํC แต่ทั้งนี้ PTC ไม่เหมาะกับงานที่
40 บทความวิชาการ ชุดที่ 16
Control System for Air-Conditioning System

ต้องการความละเอียดแม่นยำ�สูง เช่นกัน ชนิดของเทอร์โมคัปเปิล มีความละเอียดและแม่นยำ�


ค่อนข้างสูง และราคาค่อนข้างสูงเช่นกัน แต่ต้องระวัง
 PT100 การเดินสายระยะไกล เนื่องจากเทอร์โมคัปเปิลให้
เป็นโพรบวัดอุณหภูมทิ �ำ จากทองคำ�ขาว (Platinum)
แรงดันไฟฟ้าต่ำ� ค่าต้านทานของสายอาจมีผลกระทบ
ที่ให้ความต้านทาน 100 Ω เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับ
ต่อแรงดันที่ตัวควบคุมได้รับ
0 ํC และค่าความต้านทานจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
โดยเมื่ออุณหภูมิสูงโพรบจะอ่านค่าความต้านทานได้ b) Active Input คือ อินพุทที่ให้สัญญาณได้
สูงขึน้ และเมือ่ อุณหภูมติ �่ำ โพรบจะอ่านค่าความต้านทาน โดยต้องจ่ายไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์วัด จึงจะสามารถอ่าน
ได้ต่ำ�ลง มีช่วงการใช้งานค่อนข้างกว้าง จึงสามารถ ค่าสภาวะนั้นๆ ได้ ซึ่งจะพบเห็นในการวัดหลากหลาย
ใช้กับงานที่มีอุณหภูมิติดลบ ไปจน 200 – 300 ํC ตัวแปรทัง้ อุณหภูม,ิ ความชืน้ , แรงดัน และความเร็วลม
หรืออาจสูงกว่านี้ เลยทีเดียว ทัง้ ยังมีความละเอียดและ เป็นต้น
แม่นยำ�สูง แต่กม็ รี าคาสูง และไม่เหมาะกับการเดินสาย
ระยะไกล เนือ่ งจากค่าความต้านทานของโพรบมีคา่ น้อย
ค่าความต้านทานของสายที่นำ�มาต่อจะส่งผลกระทบไป
ยังผลของการอ่านค่าอุณหภูมจิ ากค่าความต้านทานของ
โพรบได้
รูปที่ 1.3 ตัวอย่าง อุปกรณ์วัดความชื้น สำ�หรับการ
 PT1000 ติดตั้งในห้องและในท่อลม
เป็นโพรบวัดอุณหภูมทิ �ำ จากทองคำ�ขาว (Platinum)
และค่าความต้านทานจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ เช่นกัน
แต่จะให้ความต้านทาน 1000 Ω เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับ
0 ํC มีช่วงการใช้งานค่อนข้างกว้าง สามารถใช้กับงาน
ที่มีอุณหภูมิติดลบ ไปจน 200 – 300 ํC หรืออาจ
รูปที่ 1.4 ตัวอย่าง อุปกรณ์วัดแรงดันอากาศ
สูงกว่านี้ มีความละเอียดและแม่นยำ�สูง แต่ก็มีราคาสูง
เช่นกัน และไม่ต้องกังวลหากต้องการเดินสายระยะไกล
ระหว่างหัวโพรบกับตัวควบคุม
 Thermocouple
เป็นโพรบวัดอุณหภูมซิ งึ่ ประกอบจากวัสดุสองชนิด
ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ นั้ น ที่ อุ ณ หภู มิ เ ดี ย วกั น จะให้
ความต่างศักย์ไม่เท่ากัน จึงเกิดกระแสไฟฟ้าแรงดันต่ำ� รูปที่ 1.5 ตัวอย่าง วัดแรงดันของสารทำ�ความเย็น
(มิลลิโวลท์) โดยไม่ต้องจ่ายไฟฟ้าให้กับโพรบ มีช่วง และตัวเซนเซอร์เองจะแปรค่าเป็นตัวแปรทางด้าน
การใช้งานค่อนข้างกว้าง สามารถใช้ได้ตั้งแต่อุณหภูมิ ไฟฟ้า เพื่อส่งไปยังตัวควบคุม เพื่อทำ�การประมวลผล
ติดลบ ไปจน 200 – 300 ํ C หรืออาจมากกว่านี้ ขึน้ อยู่ ซึ่งชนิดของสัญญาณทางไฟฟ้าสามารถแบ่งได้ดังนี้ คือ
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 41
การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

- ชนิดกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าขาด และ 0-1 Vdc ไม่เป็นที่นิยมนัก เนื่องจาก


- ชนิดแรงดันไฟฟ้า ช่วงห่างของสัญญาณแคบ ทำ�ให้อ่านสัญญาณผิดพลาด
อย่างไรก็ตาม การใช้สัญญาณทางไฟฟ้าแทน ได้งา่ ย และ ถูกรบกวนจากสัญญาณรบกวนภายนอกได้
การรับสัญญาณอินพุทแบบอื่นๆ นั้น ผู้ใช้งานจำ�เป็น ง่ายด้วยเช่นกัน
ต้องกำ�หนดค่าการ Min/Max เพือ่ ให้ตวั ควบคุมสามารถ b) Digital Input คือ อินพุทที่แสดงสถานการณ์
แปลงค่าไปใช้งานได้ถูกต้อง ทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบประมวล
สัง่ ค่า เช่น ไหลของลมในท่อลม, การทำ�งานของปัม๊ น้�ำ ,
 ชนิดกระแสไฟฟ้า ประตูเปิด/ปิด, สวิทช์แรงดันต่ำ�/สูง ของคอมเพรสเซอร์
4-20 mA และ 0-20 mA ซึ่งสัญญาณ 4-20 และ สวิทช์ระดับน้�ำ มันของคอมเพรสเซอร์ และสามารถ
mA เป็นสัญญาณมาตรฐานอุตสาหกรรม สำ�หรับใช้ใน ประยุกต์ใช้งานในระบบควบคุมไฟฟ้าได้หลากหลาย
การควบคุม ข้อดีของสัญญาณชนิดนี้ คือ สัญญาณจะไม่ได้ เช่น การใช้เป็นสัญญาณในการสั่ง ปิด/เปิดระบบ
รับผลกระทบจากระยะทางการเดินสายไฟฟ้า และทำ�ให้ ปรับอากาศให้ทำ�งาน, interlock และ ระบบ safety
ตัวควบคุมจะสามารถตรวจสอบได้ว่าสายสัญญาณขาด protection เป็นต้น
หรือไม่ เนือ่ งจากหากอุปกรณ์วดั ให้สญั ญาณต่�ำ สุดจะจ่าย
ไฟฟ้า 4 mA แต่หากสายสัญญาณขาด ก็จะอ่าน
สัญญาณได้เป็น 0 mA สัญญาณชนิดนี้จึงเป็นรูปแบบ
สัญญาณทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะในระบบ
อุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
 ชนิดแรงดันไฟฟ้า
0-10 Vdc เป็นสัญญาณแรงดันสำ �หรับใช้ใน
การควบคุม แต่สัญญาณชนิดนี้ จะได้รับผลกระทบ รูปที่ 1.6 ไดอะแกรมการควบคุมแบบดิจิตอล
จากระยะทางการเดินสายระยะไกล เพราะอาจทำ�ให้ 2. Controlling Processor ส่วนของการ
แรงดันไฟฟ้าตกลงได้ และตัวควบคุมก็จะไม่สามารถ
ประมวลผลและสั่งงาน
ตรวจสอบได้ว่าสายสัญญาณขาดหรือไม่ เนื่องจาก
ในส่วนของการประมวลผลและสั่งงาน มีองค์
ตัวควบคุมจะไม่สามารถแยกได้ว่า กำ�ลังอ่านสัญญาณ
ประกอบหลักอยู่ 2 อย่าง คือ ตัวอุปกรณ์ และ
ต่ำ�สุด หรือ ว่าสายไฟฟ้าขาด แต่เนื่องจากสัญญาณ
หลั ก การควบคุ ม การทำ � งาน เพื่ อให้ ส่ ว นของการ
ชนิดนี้ เป็นสัญญาณที่สามารถสร้างได้ง่าย และมีช่วง
ประมวลผลสั่งงานสามารถทำ�งานได้
ห่างของสัญญาณ (0-10 Vdc) ที่พอเหมาะ จึงเป็น
สัญญาณทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากเช่นกัน, 0-5 Vdc, 2-10 a) ตัวอุปกรณ์ Controller
Vdc สัญญาณควบคุมชนิดนี้ ได้รับการแก้ไขปัญหา ใน ตัวอุปกรณ์ สามารถจำ�แนกได้เป็น 2 แบบ
การแยกความแตกต่างระหว่างสัญญาณต่ำ�สุดกับสาย หลักๆ ตามรูปแบบของโปรแกรมการทำ�งานจากผูผ้ ลิต

42 บทความวิชาการ ชุดที่ 16
Control System for Air-Conditioning System

1) Parametric Controller แต่ละยีห่ อ้ ตามทีผ่ ผู้ ลิตระบุหรือมีให้ ซึง่ โดยทัว่ ไปแล้วผูท้ ี่


เป็นรูปแบบของโปรแกรมการควบคุมที่ สามารถเขียน/แก้ไขได้นนั้ เป็นต้องเป็นให้ผทู้ ไี่ ด้รบั การ
อนุญาตให้ผู้ใช้งานตั้งค่าการทำ�งานได้ตามพารามิเตอร์ อบรมมาโดยเฉพาะ ทัง้ นี้ ผูใ้ ช้งานเองสามารถออกแบบ
ต่างๆ โดยจะมีคมู่ อื การใช้งานทีม่ รี ายละเอียดและความ การใช้งานให้กบั ผูเ้ ขียนโปรแกรมเขียนและแก้ไขได้ตาม
หมายของพารามิเตอร์แต่ละตัว และไม่สามารถปรับ ทีต่ อ้ งการ ในส่วนของ hardware ของตัวควบคุมประเภทนี้
เปลีย่ น และแก้ไข การทำ�งานของพารามิเตอร์แต่ละตัว จะมีจำ�นวน I/O Port (Input/Output Port) ให้เลือก
ได้ หรือหากทำ�ได้จะต้องให้โรงงานผู้ผลิตเป็นผู้ดำ�เนิน ตามความจำ�เป็นในการใช้งานแต่ละงาน ซึ่งในบางยี่หอ้
การให้ อาจแบ่งเป็นโมดูลสำ�หรับ I/O Port หากต้องการจำ�นวน
Parametric Controller จะถูกกำ�หนดช่อง พอร์ตมากขึ้น ก็เพิ่มจำ�นวนโมดูลนี้ได้อีก โดยจะใช้
อินพุทและเอาท์พทุ ไว้แล้ว อาจปรับเปลีย่ นได้แต่ขนึ้ อยู่ ตัวควบคุมหลักเป็นตัวเดิม หรือในบางยีห่ อ้ อาจกำ�หนด
กับฟังก์ชั่นการใช้งานที่ผู้ผลิตกำ�หนดไว้ อย่างไรก็ตาม จำ�นวนพอร์ตตามขนาดเล็กใหญ่ของตัวควบคุมให้เลือก
ผู้ผลิตจะออกแบบตัวควบคุมที่มีลักษณะการใช้งานและ ใช้ แต่อย่างไรก็ดตี วั ควบคุมแบบนีม้ กั มีราคาสูง แต่กม็ ี
การติดตัง้ ทีใ่ กล้เคียงกัน ตามกลุม่ และรุน่ ของผลิตภัณฑ์ ข้อดี คือสามารถกำ�หนดเงื่อนไขการทำ�งานต่างๆ ของ
ดังนั้นผู้ใช้งานจะต้องเลือกรุ่นให้ตรงกับความใช้งาน ระบบได้หลากหลาย
หากมีความต้องการที่ไม่ตรงกับความสามารถที่ระบุไว้
ก็จำ�เป็นต้องเลือกใช้งาน Programmable controller
แทน

รูปที่ 2.2 ตัวอย่าง Programmable controller


b) หลักการควบคุมการทำ�งาน Control
method
รูปที่ 2.1 ตัวอย่าง Parametric controller ในการควบคุมนั้น จำ�เป็นต้องเลือกใช้รูปแบบ
2) Programmable Controller (PLC) ในการควบคุมให้เหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่งมีหลาย
เป็นรูปแบบของตัวควบคุมสามารถพัฒนา หลักวิธี แต่ละวิธีจะให้ผลจากการควบคุมที่แตกต่างกัน
รูปแบบการทำ�งาน ฟังก์ชั่นต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุม ผูใ้ ช้งานและผูเ้ ขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้งานได้ตาม
ได้เอง จึงทำ�ให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งานมากขึ้น ความต้องการ
โดยส่วนของ software จะมี software เฉพาะสำ�หรับ 1) ON/OFF Control
เขียน / แก้ไข หรือ พัฒนา โปรแกรมของตัวควบคุม เป็นการควบคุมแบบง่ายๆ ทีส่ งั่ งานตัด/ต่อ

สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 43
การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

การทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ในการควบคุม ฮีตเตอร์ในระบบเดียวกัน ซึง่ เป็นช่วงทีง่ ดเว้นการสัง่ งาน


อุณหภูมิ วิธีการควบคุมแบบ ON/OFF นั้น เมื่อ ของทัง้ สองอุปกรณ์ เพือ่ หลีกเลีย่ งการทำ�งานทีเ่ อาชนะ
อุณหภูมิสูงกว่า Setpoint ก็สั่งให้ Cooling Coil หรือ กันที่ทำ�ให้สิ้นเปลืองพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ ตาม
คอมเพรสเซอร์ ทำ�งาน ถ้าอุณหภูมิต่ำ�กว่า Setpoint ไดอะแกรมที่ 2.5
ก็สั่งให้ฮีตเตอร์ทำ�งาน อย่างไรก็ตามการสั่งงานใน
ลักษณะนี้ ในช่วงที่อุณหภูมิอยู่ใกล้กับ Setpoint นั้น
อาจทำ�ให้มีการสั่งการทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ ตัดๆ
ต่อๆ บ่อยเกินไป จึงมีการออกแบบการควบคุมเพิม่ เติม
โดยมีค่าความต่างในการสั่งงาน (Differential) ซึ่งเรียก
การเพิ่มเติมส่วนนี้ว่า Hysteresis และสามารถเขียน
เป็นไดอะแกรมของการทำ�งานได้ตามรูป 2.4
นอกจากนี้ ยังมักเพิ่มส่วนที่เรียกว่า Dead band รูปที่ 2.5 ไดอะแกรมการทำ�งานแบบ ON/OFF ทีมี
เมื่อมีการใช้งานทั้ง คอมเพรสเตอร์/คอยล์เย็น และ Hysteresis และ dead band
2) Linear control
การควบคุ ม แบบเชิ ง เส้ น ที่ ใ ห้ สั ญ ญาณ
ควบคุมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะต้องใช้ร่วมกันกับอุปกรณ์
ทำ �งาน ชนิ ด ที่ ส ามารถปรั บ การทำ � งานได้ ตั้ ง แต่
0-100% จึงจะมีประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ดี อาจ
ปรับใช้ในการทำ�งานแบบขัน้ บันได (step) ได้ เนือ่ งจาก
มี ก ารแบ่ ง การทำ � งานเป็ น เปอร์ เ ซ็ น ต์ เ ช่ น กั น โดย
สามารถแบ่งย่อยตามทฤษฎีการควบคุมที่มักพบเห็น
รูปที่ 2.3 ไดอะแกรมการทำ�งานแบบ ON/OFF
บ่อยๆ โดยทั่วไป
a) Proportional control
Proportional control จะอ้างอิง
การสั่งงานจากผลต่างของค่าตัวแปรที่วัดได้เทียบกับ
ค่า setpoint โดยสัมพันธ์กันกราฟเส้นตรงที่มีความชัน
ค่าหนึง่ และอาจกำ�หนดความชันได้จาก ค่า differential
ซึ่งค่านี้ผู้ใช้งานจะกำ�หนดเอง เพื่อปรับการควบคุมให้
ได้ตามต้องการ
ยกตั ว อย่ า งในเรื่ อ งการควบคุ ม
รูปที่ 2.4 ไดอะแกรมการทำ�งานแบบ ON/OFF อุณหภูมิห้องที่ต้องการควบคุมอุณหภูมิเท่ากับ 65 ํC
ทีมี Hysteresis ซึ่งมีฮีตเตอร์ที่สามารถควบคุมได้เป็นเปอร์เซ็นต์
44 บทความวิชาการ ชุดที่ 16
Control System for Air-Conditioning System

ถ้าอุณหภูมิห้องอ่านได้ 62 ํC จะมีการสั่ง ประมวลผลสั่งงานในลำ�ดับต่อมา ซึ่งเป็น Feedback


งานฮีตเตอร์ที่ 25% control รูปแบบหนึ่งที่พบเห็นมากที่สุด ซึ่งสามารถ
ถ้าอุณหภูมิห้องอ่านได้ 57 ํC จะมีการสั่ง เขียนออกมาในรูปแบบของสมการคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
งานฮีตเตอร์ที่ 75%
และ ถ้ า อุ ณ หภู มิ ห้ อ งอ่ า นได้ ต่ำ � กว่ า
55 ํC จะมี ก ารสั่ ง งานฮี ต เตอร์ ที่ 100% อย่ า ง
ต่อเนื่องจนกว่า อุณหภูมิจะสูงขึ้น จึงจะลดเปอร์เซ็นต์ ซึ่ง u(t) เป็นสัญญาณที่สั่งงานให้กับระบบ
การสั่งงานลดตามไดอะแกรมด้านล่าง e(t) เป็น error ทีน่ ำ�กลับมาประมวลผล
และ KP, KI และ KD เป็นค่า PID ที่
เราจะกำ�หนดให้กับระบบ
อย่างไรก็ดี ค่า PID มักต้องใช้ความชำ�นาญ
และผู้เชี่ยวชาญในการปรับแต่ง เพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะ
สม และไม่เกิดความเสียหายอื่นๆ ให้กับระบบตามมา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระบบที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ใน
การกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม หรือ การควบคุมแรงดันใน
หม้อต้มไอน้ำ� เป็นต้น
รูปที่ 2.6 ไดอะแกรมการทำ�งาน สำ�หรับงานในระบบปรับอากาศนัน้ เป็นระบบ
แบบ Proportional control
ทีม่ คี วามเสีย่ งปานกลางถึงระดับต่�
ำ ผูเ้ ขียนจึงขออธิบาย
ซึ่งการควบคุมแบบนี้ มักมี error เกิดขึ้น คุณลักษณะคร่าวๆ ให้เข้าใจได้ง่ายดังนี้
และจะยังคงเป็นเช่นนั้นต่อไป เนื่องจากระบบและ
 Proportional (P)
อุปกรณ์ตา่ งๆ มีความไว และการตอบสนองทีไ่ ม่เท่ากัน
ลักษณะการทำ�งานดังที่กล่าวมาแล้วใน
และไม่คงที่ ดังจะเห็นได้จากการให้ความร้อนของ
หัวข้อ Linear control ซึ่งถ้ามีค่ามากขึ้น จะทำ�ให้
ฮีตเตอร์ เมือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้าไปแล้ว จะต้องใช้เวลาซัก
ระบบมีการตอบสนองทีเ่ ร็วขึน้ ด้วยอัตรามากขึน้ แต่กใ็ ห้
ระยะหนึง่ เพือ่ กำ�เนิดความร้อนจะทำ�ให้ตวั ควบคุมจะต้อง
error ในตอนท้ายมากขึ้นด้วยเช่นกัน
สัง่ งานเพิม่ ขึน้ ไปเรือ่ ยๆ แต่เมือ่ ฮีตเตอร์เริม่ ร้อน จะร้อน
จนเกินความต้องการของระบบในเวลาต่อมา จึงต้อง  Integral (I)
คำ�นึงในจุดนี้ด้วย อธิบายค่านี้ง่ายๆ คือ การนำ�ค่า error ที่
b) PID Control เกิดขึ้นในแต่ละ sampling ที่ผ่านมา รวมเข้าด้วยกัน
PID Control เป็นการควบคุมที่เพิ่ม และนำ�มาประมวลผล ซึง่ ถ้ามีคา่ มากขึน้ จะทำ�ให้ระบบ
เติมส่วนของการชดเชยการสั่งงานต่างๆ เพื่อลด error มีการตอบสนองที่ช้าลง แต่ก็จะช่วยให้เกิด error ลด
ที่เกิดขึ้น โดยการนำ� error ที่เกิดขึ้นมาคำ�นวณและ ลงและเข้าสู่ setpoint ในตอนท้าย

สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 45
การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

 Derivative (D) ที่ต้องรับอากาศภายนอกเข้ามาจะได้รับผลกระทบนี้


เพื่อให้เข้าในง่าย ค่านี้ เสมือนเป็นการ เปลี่ยนไปด้วย Adaptive Control จึงสามารถช่วย
คาดเดาระบบที่กำ�ลังจะเกิดขึ้นจาก error ก่อนหน้านี้ การปรับแต่งค่า PID ตามการเปลี่ยนแปลงได้โดย
ที่อ่านมาได้ แล้วนำ�มาปรับการสั่งงาน แต่เนื่องจาก อัตโนมัติ
ค่านี้มีผลกระทบต่อระบบค่อนข้างมาก บางครั้งอาจ 3) Fuzzy Logic Control
ไม่จ�ำ เป็นต้องใช้ หรือถ้าใช้กค็ วรเริม่ ตัง้ ค่าเพียงเล็กน้อย Fuzzy Logic Control เป็ น หนึ่ งใน
แล้วค่อยปรับขึ้น ถ้ามีการใช้ค่านี้ในระบบ ระบบจะมี Intelligent Control ที่ได้รับความนิยมและพบเห็น
การตอบสนองที่เร็วขึ้น แต่หากมีค่ามากระบบจะเริ่ม บ่อย Intelligent control เป็นรูปแบบการควบคุมที่
แกว่งและไม่เสถียร ได้รับการออกแบบและพัฒนา จากวิธีการควบคุมแบบ
เดิมๆ เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการสั่งงานอุปกรณ์
ที่ใช้ในการควบคุม
Fuzzy Logic Control เป็นการควบคุม
ที่สั่งอุปกรณ์ให้ทำ�งานโดยการเลือกการสั่งงานตาม
เงือ่ นไขทีก่ ำ�หนดเป็นชุดเงือ่ นไข เนื่องจากในความเป็น
จริงแล้ว ค่าตัวแปรบางตัวไม่สามารถชีช้ ดั ได้วา่ เป็นจริง
(1) หรือเท็จ (0) ดังตัวอย่างในรูปที่ 2.8 จะเห็นได้ว่า
รูปที่ 2.7a ตัวอย่างการตอบสนองที่ควบคุมแบบ PID
บริเวณจุดทีข่ ดี เส้นนัน้ จะไม่สามารถแปรค่าออกมาเป็น
0 หรือ 1 ได้ชัดเจน ณ อุณหภูมินี้ คือ ไม่ร้อน หรือ
อุ่นเล็กน้อย หรือ เกือบเย็น ซึ่งนำ�ไปประมวลผลเพื่อ
สั่งงานควบคุมได้ด้วยการกำ�หนดเงื่อนไขได้

รูปที่ 2.7b ตัวอย่างการตอบสนองที่ควบคุมแบบ PID


c) Adaptive Control
การควบคุมแบบนี้ เป็นวิธีเสริมจากการ
ควบคุมแบบ PID หรือการควบคุมอื่นก็สามารถนำ�ไป
ใช้ได้ เนื่องจากเป็นการปรับการตัวแปรให้แปรผันตาม
สภาวะที่เปลี่ยนไปของระบบนั่นๆ เช่น ในช่วงฤดูที่
ต่างกัน อาจทำ�ให้อุณหภูมิและความชื้นของ อากาศ รูปที่ 2.8 ตัวอย่างการเขียนค่าความจริงให้มี
ขาเข้าเปลี่ยนไปตามช่วงฤดูนั้น ซึ่งในระบบปรับอากาศ ความสัมพันธ์กับอุณหภูมิ

46 บทความวิชาการ ชุดที่ 16
Control System for Air-Conditioning System

หรืออาจยกตัวอย่างเงื่อนไขง่ายๆ ในการ การสั่งงานเช่นเดียวกับสัญญาณอินพุท คือ


ควบคุมอุณหภูมิได้ดังนี้ - ชนิดกระแสไฟฟ้า
ถ้าอุณหภูมิเย็นมาก หยุดพัดลม 4-20 mA และ 0-20 mA แต่ตัวควบคุม
ถ้าอุณหภูมิเย็น หรี่พัดลม ที่สามารถจ่ายและควบคุมกระแสไฟฟ้าในการสั่งงาน
ถ้าอุณหภูมิปกติ เปิดพัดลมคงที่ ได้นั้น จะมีราคาสูง เนื่องจากการควบคุมกระแสไฟฟ้า
ถ้าอุณหภูมิร้อน เร่งพัดลม ทำ�ได้ยากกว่าแรงดัน
3. Output ส่วนของการสั่งการทำ�งานของ - ชนิดแรงดันไฟฟ้า
อุปกรณ์ต่างๆ 0-10 Vdc, 0-5 Vdc, 2-10 Vdc, 0-1
เป็นส่วนที่ให้สัญญาณ เพื่อสั่งงานอุปกรณ์ทำ�งาน Vdc, 0-15 Vdc, 1-5 Vdc และ 3-15 Vdc
ต่างๆ (Actuator) ที่ทำ�ให้ตัวแปรที่เราต้องการควบคุม หมายเหตุ : สำ�หรับสัญญาณ output ชนิดกระแส
เปลีย่ นแปลงได้ เช่น คอมเพรสเซอร์, ฮีตเตอร์, วาล์ว ไฟฟ้า และ แรงดันไฟฟ้า เมื่อนำ�ไปใช้งานควรนำ�มา
น้ำ�ร้อน/เย็น, พัดลม และ Damper สามารถทำ�ให้ แสดงผลสถานะการทำ�งานเป็นเปอร์เซ็นต์ของการสั่ง
อุณหภูมิเปลี่ยนไปได้ หรือ เครื่องเพิ่ม/ลดความชื้น ในแต่ละ output เพื่อให้สะดวกในการตรวจสอบการ
ที่สามารถเพิ่มและลดความชื้นของอากาศได้ ทำ�งานของระบบ
a) Analog Output เป็นสัญญาณที่สั่งงาน b) Digital Output เป็ น สั ญ ญาณที่ ใ ช้ ใ น
อุปกรณ์ได้อย่างต่อเนื่อง และละเอียด เนื่องจากการ การสัง่ เปิด/ปิดอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่นเดียวกับ สวิทช์เปิด/ปิด
สั่งงานอุปกรณ์ต่างๆ เป็นแบบ proportional คือ ปรับ/ การทำ�งานนั่นเอง แต่ตัวควบคุมจะสั่งให้เปิด/ปิด ตาม
รี่การทำ�งานได้ ไม่ใช่การสั่งงานแบบ เปิดหรือปิด ความต้องการที่ประมวลผลได้แบบอัตโนมัติ ซึ่งมักใช้
เพียงเท่านัน้ นอกจากนี้ ตัวควบคุมทีส่ ามารถให้ Analog รีเลย์ และ Triac แทนสวิทช์ธรรมดา แต่ในบางครั้ง
Output ได้นนั้ มักจะใช้การควบคุมแบบ Linear controlling อาจพบการสั่งงานแบบปิด/เปิด ด้วยแรงดัน 0 และ
มาประมวลผล เพื่ อใช้ ใ นการควบคุ ม การทำ � งาน 10 Vdc ในการควบคุมวาล์วน้ำ�
ของอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ซึ่ ง การควบคุ ม แบบ Linear
controlling นั้ น มี วิ ธี ค วบคุ ม แบบ Feedback c) Pulse Width Modulated (PWM)
control ที่อ้างอิงจากค่าผิดพลาด (error) ที่เกิดจาก อาจกล่าวได้ว่า PWM output เป็น Analog output
การควบคุมด้วยค่าหนึ่ง กล่าวง่ายๆ คือ การนำ� แบบหนึง่ แต่เนือ่ งจากการทำ�งานทีต่ า่ งกันจาก Analog
เอาค่ า ตั ว แปรควบคุ ม กลั บ มาเปรี ย บเที ย บและ output แบบอืน่ คือ จะปรับค่าการสัง่ งานจะใช้คา่ เฉลีย่
ประมวลผลหลังจากที่มีการสั่งงานไปแล้วชั่วขณะหนึ่ง ของสัญญาณทีส่ งั่ งานออกไป โดยการเปิด/ปิดการทำ�งาน
จึ ง ทำ �ให้ อุ ป กรณ์ นั้ น มี ก ารปรั บ การทำ � งานได้ ทั น ที เป็นช่วงหรือเป็นจังหวะ เช่น เป็นสัญญาณที่ควบคุม
เมื่อค่าตัวแปรนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อย ปริมาณแรงดันไฟฟ้าเฉลีย่ (Voltage average) ทีอ่ ปุ กรณ์
โดยที่การปรับการทำ�งานของอุปกรณ์นั้นจะทำ�อย่าง ใช้งาน จากการควบคุมความถี่โดยผ่านวงจร เปิด/ปิด
ค่อยเป็นค่อยไป ผลที่ได้คือค่าตัวแปรควบคุมที่วัดได้ กระแสไฟฟ้า มักใช้ Solid State Relay แทนสวิทช์
จะเรียบไม่แกว่งรุนแรง โดยมีชนิดของสัญญาณที่ใช้ใน หรือ รีเลย์ทั่วไป
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 47
การควบคุมสำ�หรับระบบปรับอากาศ

REFERENCES

1. Doebelin Ernest O. , “MEASUREMENT SYSTEMS Application and Design”, (4th edition) :


McGraw-Hill Publishing Company.
2. Smith Carlos A. & Corripio Armando B. : “Principles and Practice of Automatic Process
Control” 2nd Edition., New York 1997, John Wiley & Sons, Inc.
3. Considine, D.M., ed. 1961. “Handbook of Instrumentation and Controls.”, New York,
Mc-Graw Hill.
4. Liptak, B.G., ed. 1995. “Instrument Engineers’ Handbook. Vol. 1, 3rd ed. Process
Measurement”. New York: Chilton Book Co.
5. C.C. Bissell., “Control Engineering” 2nd Edition Reprinted, London 1994, Chapman & Hall.
6. Yen, John. & Reza Langari., “Fuzzy logic: intelligence, control, and information”, New Jersey
USA 1999., Prentice-Hall, Inc.
7. IOWA Energy Center (Jan 01, 2010), “Input/Output Tutorial” ,http://www.ddc-online.org.
8. Wikipedia, the free encyclopedia (Sep 16, 2011), “Fuzzy logic”, http://en.wikipedia.org/wiki/
Fuzzy_logic
9. Wikipedia, the free encyclopedia (Sep 16, 2011), “Control system”, http://en.wikipedia.org/wiki/
Control_system

48 บทความวิชาการ ชุดที่ 16

You might also like