You are on page 1of 13

Brain media โรงพยาบาลราชบุรี

วิธีบารุงรักษาระบบไฟฟ้า

1
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

วิธีบารุ งรักษาระบบไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
1. การดูแลตรวจสอบทัว่ ไป
สายไฟฟ้ า
ให้สังเกตดูฉนวน สี รอยแตก อุณหภูมิ หากผิดปกติควรเปลี่ยนใหม่
เซอร์ กดิ เบรคเกอร์
ให้ใช้หลังมือ และดูอุณหภูมิ หากสู งผิดปกติก็ควรตรวจแก้ไข
ขั้วต่ อสาย
ให้ใช้หลังมือและดูอุณหภูมิตวั เบรกเกอร์ หรื อใช้ตวั วัดอุณหภูมิแบบใช้แสง หากผิดปกติก็ควรขัน
ให้แน่น และตรวจสายไฟฟ้ าที่ใช้งานรวมทั้งพิกดั โหลด
ระบบระบายอากาศในห้ องไฟฟ้ า
ตรวจวัดอุณหภูมิภายในห้อง หากสู งเกินปกติให้หาทางระบายอากาศออก หรื อใช้เครื่ องปรับอากาศ
ตรวจแบตเตอรี่
โดยทดสอบกดปุ่ มทดสอบสาหรับไฟฟ้ าแสงสว่างฉุ กเฉิ น และทดลองสตาร์ ทเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าให้
ได้ภายใน 30 วินาที รวมถึงตรวจดูระดับน้ ากลัน่ ของแบตเตอรี่ สาหรับเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า
ดูชั่วโมงทางานของอุปกรณ์
เป็ นการตรวจดูวา่ ชัว่ โมงทางานครบตามกาหนดการบารุ งรักษาแล้วหรื อไม่
2. การตรวจสอบบารุ งรักษาอุปกรณ์
เซอร์ กติ เบรกเกอร์ แรงต่า
-ทดสอบกลไกการทริ บ
-ทาความสะอาด
-ร่ องรอยของความร้อน
-การต่อหรื อขั้วต่อโดยดูการเปลี่ยนสี
-การตั้งค่าของ trip unit
ตู้เมนสวิตซ์ บอร์ ด MDB
-ฝาปิ ดเปิ ดหลวมหรื อความเสี ยหาย
-หลอดไฟแสดงสภาวะการทางานต่าง ๆ ใช้ได้หรื อไม่
-มิเตอร์ อุปกรณ์เครื่ องวัดต่าง ๆ ใช้งานได้หรื อไม่
-Busbar สายชารุ ดหรื อไม่
-สายดิน ระบบการต่อลงดิน
-สิ่ งกีดขวางพื้นที่วา่ งในการปฏิบตั ิงาน

2
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

-ควรมีที่วา่ งในการปฏิบตั ิงานอย่างเพียงพอห่างจากกาแพง 1.05 ม.กรณี มีตเู ้ มน 1 ตู ้


-ควรมีที่วา่ งในการปฏิบตั ิงานห่างกันประมาณ 1.20 ม. กรณี มีตเู ้ มน 2 ตู ้
-ต้องมีทางเข้าอย่างน้อย 1 ทาง กว้างมากกว่าหรื อเท่ากับ 0.60 ม. และสู ง มากกว่า
หรื อเท่ากับ 2.00 ม.
-ต้องมีทางเข้าอย่างน้อย 2 ทางในกรณี ตูเ้ มนค่อนข้างกว้าง ประมาณ 1.80 ม. เพราะ
ถ้ามีทางเข้าทางเดียวอาจก่อให้เกิดอันตรายได้

-ที่วา่ งเพื่อปฏิบตั ิงานต้องเพียงพอสาหรับการเปิ ดประตูตูห้ รื อฝาตูไ้ ด้อย่างน้อย 90


องศาในทุกกรณี
-ระยะห่างระหว่างแผงสวิตซ์แรงต่ากับเพดาน ในกรณี เพดานทนไฟมากกว่า 0.60 ม.
ในกรณี เพดานไม่ทนไดมากกว่า 0.90 ม.
แผงย่อย
-ฝาปิ ดเปิ ดหลวมหรื อความเสี ยหาย
-ตรวจขันขั้วต่อสายให้แน่นเสมอ
-Busbar สาย ชารุ ด หรื อมีรอยบาด มีรอยArc
-สายดิน ระบบการต่อลงดิน ถูกต้องหรื อไม่
-ความร้อน การระบายอากาศ
-สิ่ งกีดขวาง พื้นที่วา่ งในการปฏิบตั ิงาน ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 0.75 ม.
เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า
-หลอดไฟ อุปกรณ์เครื่ องวัดของControl Panel
-อุปกรณ์ป้องกันขั้วต่อต่าง ๆ
-สายดิน ระบบการต่อลงดิน ถูกต้องหรื อไม่
-น้ ามันเชื้ อเพลิง น้ ามันหล่อลื่น น้ าหล่อเย็น
-กรองอากาศ สายพาน ซี ลยางต่าง ๆ
-สิ่ งกีดขวาง ระบบระบายอากาศ
-แบตเตอรี่ และชาร์ จเจอร์
ระบบเครื่องกล
งานระบบเครื่ องกลภายในอาคาร หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องจักรกลทั้งหลายที่อยูใ่ นอาคาร
ประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ดังนี้
1. ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ
ชนิดของระบบปรับอากาศ

3
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

1.1 ระบบปรับอากาศแบบขยายตัวรับร้อนตรง (Direct Expansion)


1.1.1 เครื่ องปรับอากาศแบบหน้าต่าง (Window Type)
-มีอุปกรณ์หลักของวงจรการทาความเย็นทุกอย่างควบคุมอยูใ่ นเครื่ องเดียว
กัน
-ออกแบบให้เหมาะสาหรับกับการติดตั้งที่หน้าต่าง ผนัง โดยให้ดา้ นความเย็นอยูด่ า้ นในห้อง และ
ส่ วนด้านระบายความร้อนจะโผล่ยนื่ ออกไปนอกห้อง
-เป็ นเครื่ องขนาดเล็กประมาณ 1-2 ตัน เป็ นแบบระบายความร้อนด้วย
อากาศ
-ติดตั้งง่าย แต่มีเสี ยงดัง
1.1.2 เครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วน (Split Type)
มีส่วนประกอบหลักอยู่ 4 ส่ วน
1. ส่ วนที่อยูน่ อกห้อง เรี ยกว่า ชุดคอยล์ร้อน Condensing Unit จะมี
ส่ วนประกอบภายในคือ Compressor เป็ นหลัก และอุปกรณ์ยอ่ ย เช่น คอยล์ระบายความร้อน พัดลม
ระบายความร้อน ชุดอุปกรณ์ระบบน้ ายา ชุดวาล์ว และตัวถังเครื่ อง
2. ส่ วนที่อยูภ่ ายในห้องเรี ยกว่า ชุดเป่ าลมเย็น Fan coil unit มีส่วนประกอบหลัก คือ คอยล์เย็น พัด
ลมเป่ าลมเย็น ชุดปรับแรงดันน้ ายา ถาดรับน้ า และตัวถังเครื่ องเป่ าลมเย็น
Fan coil unit มีอยูห่ ลายแบบคือ
-แบบติดผนัง
-แบบแขวนใต้ฝ้า/ตั้งพื้น
-แบบแขวนซ่อนในฝ้ า
-แบบแขวนเหนือฝ้ าเพดาน
3. ระบบท่อน้ ายา มีส่วนประกอบหลัก คือ ท่อน้ ายา และฉนวนหุ ม้ ท่อน้ ายา
4. ระบบไฟฟ้ า และระบบควบคุม มีอุปกรณ์ประกอบ คือสวิตซ์ตดั คอมอัตโนมัติ Circuit Breaker
ชุดควบคุมอุณหภูมิ Thermostat ชุดปิ ดเปิ ด และตั้งอัตราเร็ วพัดลม
1.1.3 เครื่ องปรับอากาศแบบสาเร็ จครบชุดในตัว (Package Unit)
1.ลักษณะคล้ายกับ แบบหน้าต่าง แต่มีขนาดใหญ่กว่า โดยทัว่ ไปมีขนาด
ประมาณตั้งแต่ 5-30 ตัน
2.การระบายความร้อน มีท้ งั ระบายความร้อนด้วยอากาศ (Package Air
Cooled Air-Conditioner) กับระบายความร้อนด้วยน้ า
(Package Water Cooled Air-Conditioner)
3. การส่ งลมเย็น โดยส่ วนมาก จะส่ งผ่านท่อลม

4
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

4.นอกจากนี้ยงั มีชนิดที่ต้ งั บนหลังคา ซึ่ งเรี ยกว่า Roof type


-การติดตั้งเครื่ องปรับอากาศ
1. การติดตั้งชุดคอยล์ร้อน
-สถานที่ติดตั้งต้องให้อากาศถ่ายเทได้ดี ไม่เกิดลมย้อนกลับ
-ไม่อยูห่ ่างจากชุดคอยล์เย็นมากเกินไป
-ไม่อยูส่ ู งมากกว่าชุดคอลย์เย็นมากเกินไป
2.การติดตั้งชุดเป่ าลมเย็น
-ตาแหน่งติดตั้งต้องกระจายลมได้ดี
-สามารถเข้าซ่อมแซมภายหลังได้โดยง่าย
-สามารถถอดแผงกรองอากาศได้โดยง่าย
3. การติดตั้งท่อน้ ายา ท่อน้ าทิ้ง และระบบควบคุม
-ต้องทา Invert Loop ป้ องกันน้ ายาเหลวไหลกลับ
-ต้องทา U-trap ทุกระยะ 3 เมตร เพื่อให้น้ ามันหล่อลื่นไหลกลับ
-Thermostat ต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่เหมาะสม
-การบารุ งรักษาเครื่ องปรับอากาศ แยกเป็ น 3 ส่ วนคือ
1. ส่ วนชุดคอยล์ร้อน Condensing unit
-ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางทางระบายลม
-ทาความสะอาดครี บระบายความร้อนให้สะอาดอยูเ่ สมอ
2. ส่ วนชุดเป่ าลมเย็น Fan coil unit
-ควรล้างแผงกรองอากาศ
-ควรทาความสะอาดครี บคอยล์เย็น
-ควรทาความสะอาดพัดลมเป่ าลมเย็น
-ควรทาความสะอาดถาดน้ าทิ้ง
3. ส่ วนท่อน้ ายา ท่อน้ าทิ้ง ระบบไฟฟ้ า และระบบควบคุม
-ตรวจสอบระบบท่อน้ ายา ฉนวนหุ ม้ ท่อน้ ายา ระดับน้ ายา
-ตรวจสภาพแนวสายไฟฟ้ า จุดต่อสาย ปริ มาณกระแสไฟฟ้ า
-ควรปรับเปลี่ยนอุณหภูมิที่ต้ งั ไว้บา้ งเป็ นบางครั้ง
1.2 ระบบปรับอากาศแบบเครื่ องทาน้ าเย็น (Water Chiller)
1. วงจรทาความเย็นเบื้องต้น ของเครื่ องทาน้ าเย็น เหมือนกับเครื่ องปรับอากาศทัว่ ไป แต่
แทนที่ชุด Chiller จะทาความเย็นให้กบั อากาศในห้องโดยตรง ก็นาไปทาความเย็นให้กบั น้ าก่อน แล้วจึงนา
น้ าเย็นที่ได้น้ นั เป็ นตัวกลาง ส่ งผ่าน ระบบท่อน้ า ไปยังเครื่ องส่ งลมเย็นอีกต่อหนึ่ง

5
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

2. สามารถสู บน้ าเย็น ส่ งไปยังเครื่ องส่ งลมเย็นได้โดยง่าย


3. เครื่ องทาความเย็น มีท้ งั
-เครื่ องน้ าเย็น แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ Air-Cooled Water
Chiller) มีส่วนประกอบสาคัญ ดังนี้
1. เครื่ องทาน้ าเย็น (Water Chiller)
2. เครื่ องสู บน้ าเย็น (Chill Water Pump)
3.เครื่ องส่ งลมเย็น (Fan Coil Unit/Air Handling Unit)
4. ระบบท่อน้ าเย็น และอุปกรณ์ เช่น ฉนวน วาวล์ ข้อต่อต่าง ๆ
5. ระบบไฟฟ้ า และระบบควบคุม
6. ระบบถังเติมสารเคมี
-เครื่ องน้ าเย็น แบบระบายความร้อนด้วยน้ า Water-Cooled Water
Chiller) มีส่วนประกอบสาคัญ ดังนี้
1. เครื่ องทาน้ าเย็น (Water Chiller)
2. หอระบายความร้อน (Cooling Tower)
3. เครื่ องสู บน้ าเย็น (Chill Water Pump)
4. เครื่ องสู บน้ าระบายความร้อน (Condensor Water Pump)
5. เครื่ องส่ งลมเย็น (Fan Coil Unit/Air Handling Unit)
6. ระบบท่อน้ าเย็น/ท่อน้ าระบายความร้อน และอุปกรณ์ เช่น ฉนวน
วาวล์ ข้อต่อต่าง ๆ
7. ระบบถังเติมสารเคมี
8. ระบบบาบัดน้ า
9. อุปกรณ์ถงั น้ าขยายตัว
10. ระบบไฟฟ้ า และระบบควบคุม

11.-เหมาะสาหรับโครงการขนาดใหญ่
-ประสิ ทธิ ภาพสู ง และประหยัดพลังงานมากกว่า
-การตรวจสอบและบารุ งรักษาระบบปรับอากาศ
1. เครื่ องอัดสารทาความเย็น (Compressor)
-อุณหภูมิน้ ายาในอีแวปปอเรเตอร์ จะประมาณ40-45F
-อุณหภูมิของแก๊สที่ส่งจะประมาณ 100-105F
-ความดันน้ ามัน จะสู งกว่าความดันด้านดูด 1.5-3.0 Kg/cm

6
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

-อุณหภูมิน้ ามันทัว่ ไปควรมีค่าต่ากว่า 55C


-น้ ามันต้องอยูใ่ นระดับที่กาหนด และมีความใส
-ประกับรับเพลา ต้องสามารถใช้มือสัมผัสได้
-ไม่เกิดเสี ยงดังผิดปกติ
-กรองน้ ามันหล่อลื่นต้องสะอาด
2. เครื่ องควบแน่น (Condenser)
-อุณหภูมิน้ าหล่อเย็นทางเข้าไม่ควรสู งเกิน 90F
-อุณหภูมิหล่อเย็นทางออกจะสู งกว่าทางเข้าไม่เกิน 80F
-อัตราการไหลของน้ าหล่อเย็นประมาณ 2.8-3.2 GPM/Ton
-ความดันของน้ ายา
-แบบระบายความร้อนด้วยน้ า
อุณหภูมิอิ่มตัวของน้ ายาสู งกว่าอุณหภูมิที่ทางออก5.4 ถึง
10.8 F (3-6 C)
-แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ
อุณหภูมิอิ่มตัวของน้ ายาสู งกว่าอุณหภูมิอากาศภายนอก
21.6 ถึง 30.6 F (12-17 C)
3. เครื่ องระเหย (Evoparator)
-อัตราการไหลของน้ าเย็นประมาณ 2.0 – 2.4 GPM/Ton
-อุณหภูมิน้ าเย็นเข้าเครื่ องไม่ควรสู งเกิน 55F
-อุณหภูมิน้ าเย็นออกจากเครื่ องไม่ควรสู งเกิน 45F
4. อุปกรณ์จ่ายลมเย็น (AHU,FCU)
-อัตราการไหลของอากาศประมาณ 300-400 CPM/Ton
-สภาวะอากาศด้านจ่าย Supply Air 60-65F , 70-90% RH
-สภาวะอากาศด้านลมกลับ Return Air 70-80F , 45-60% RH
-อุณหภูมิกระเปาะแห้งของอากาศเข้าและออกไม่ควรต่างกันเกิน
20F
-อัตราการใช้พลังไฟฟ้ า 0.2kw/TON
5. หอผึ่งน้ า (Cooling Tower)
-อัตราการไหลของลมระบายความร้อน 100-250 CPM/TON
-อัตราการไหลของน้ าระบายความร้อน 2.8-3.2 GPM/TON
-พลังไฟฟ้ าที่ใช้ขบั พัดลม 20-25 W/TON

7
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

-อุณหภูมิน้ าระบายความร้อนที่เข้า 100-103F และออกที่ 90-93F


-สภาวะอากาศระบายที่เข้า 85-90 F, 55-65% RH
-สภาวะอากาศระบายที่ออก 95-100 F, 95-100% RH
ระบบลิฟต์
ลิฟต์ ในที่น้ ีจะกล่าวถึงเฉพาะที่ใช้ภายในอาคารทัว่ ไป ซึ่ งหมายถึง พาหนะที่ใช้สาหรับบรรทุก
ผูโ้ ดยสาร หรื อสิ่ งของขึ้นลงตามแนวดิ่ง โดยมีรางบังคับดังนี้
1. ลิฟต์โดยสาร
-เป็ นลิฟต์ที่ใช้ขนส่ งผูโ้ ดยสารในอาคารต่าง ๆ โดยทัว่ ไป มีรูปห้องโดยสารเป็ นสี่ เหลี่ยมจัตุรัส
เคลื่อนที่ตามรางบังคับในแนวดิ่ง
-มีขนาดบรรทุกตั้งแต่ 400-2000 กิโลกรัม (6-30 คน)
-ความเร็ วตั้งแต่ 45 เมตร/นาที ถึง 300 เมตร/นาที
-ประตูเปิ ด-ปิ ด เป็ นแบบ 2 บาน จากกึ่งกลางในแนวเดียวกัน
2. ลิฟต์สาหรับคนพิการ
3. ลิฟต์ขนของ
4. ลิฟต์เตียงคนไข้
5. ลิฟต์พนักงานดับเพลิง
6. ลิฟต์ส่งของ
-เป็ นลิฟต์ที่มีขนาดเล็กกว่าลิฟต์ทวั่ ๆ ไป ซึ่ งใช้สาหรับส่ งเอกสารอาหาร และเครื่ องดื่ม
-มีขนาดบรรทุกไม่เกิน 500 กิโลกรัม (ตั้งแต่ 50-500 กก.)
-ประตูเปิ ด-ปิ ดเป็ นแบบ 2 บานไปทางเดียวกันแนวดิ่ง
-มี 2 แบบคือแบบ Floor Type และ แบบTable Type
7. ลิฟต์ชนิดอื่น ๆ
-ลิฟต์ชวั่ คราวระหว่างการก่อสร้าง
-ลิฟต์สาหรับเวทีการแสดง
-ลิฟต์ในเหมืองแร่
-ลิฟต์ที่เคลื่อนที่ในแนวลาดเอียง
-ลิฟต์แบบไฮดรอลิกส์
-ลิฟต์แบบไม่มีหอ้ งเครื่ อง
ระบบควบคุมการขับเคลื่อน

8
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

ระบบควบคุมโดยแปรเปลี่ยนแรงเคลื่อนไฟฟ้ า และความถี่ไฟฟ้ า คือ ระบบควบคุมที่ใช้การ


แปรเปลี่ยน แรงเคลื่อนไฟฟ้ า และความถี่ไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์ ขบั เคลื่อนลิฟต์ ระบบนี้ใช้กบั ลิฟต์ใน
ปั จจุบนั เป็ นส่ วนมาก
เครื่ องลิฟต์
หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการขับเคลื่อนตัวลิฟต์
1. เครื่ องลิฟต์แรงฉุ ดจากแรงฝื ด คือ เครื่ องลิฟต์ที่ขบั เคลื่อนตัวลิฟต์ โดยใช้ความฝึ ดระหว่างเชือก
ลวดแขวน กับ รอกขับเคลื่อน ซึ่ งมีมอเตอร์ ไฟฟ้ า เป็ นต้นกาลังในการหมุนรอกขับเคลื่อนมี 2 แบบ ดังนี้
ลิฟต์ในปั จจุบนั ส่ วนใหญ๋ ใช้ระบบนี้
1.1 เครื่ องลิฟต์ขบั เคลื่อนด้วยเฟื อง
ใช้กาลังจากมอเตอร์ ไฟฟ้ าขับผ่านชุดเฟื องทดไปหมุนรอกขับเคลื่อน
1.2 เครื่ องลิฟต์ขบั เคลื่อนโดยตรง
ใช้กาลังจากมอเตอร์ ไฟฟ้ า ขับต่อโดยตรง กับรอกขับเคลื่อน
2.เครื่ องลิฟต์รอกกว้าน คือ เครื่ องลิฟต์ที่ใช้กาลังจากมอเตอร์ ไฟฟ้ า ผ่านไปหมุนรอกกว้าน
เชือกลวดแขวน
3. เครื่ องลิฟต์ไฮดรอลิก คือ เครื่ องลิฟต์ที่ใช้กาลังจากมอเตอร์ ไฟฟ้ า ไปขับเคลื่อนสู งน้ ามัน เข้า
ระบบไฮดรอลิก เพื่อขับเคลื่อนลิฟต์ให้เคลื่อนขึ้น และเคลื่อนลง โดยแรงโน้มถ่วง เมื่อปล่อยน้ ามันไหลกลับ
สู่ ถงั เก็บ
ระบบควบคุมการจอดรับส่ ง
ระบบควบคุมในปั จจุบนั จะเป็ น ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่ งเมาแทนระบบรี เลย์ ซึ่ งเป็ นระบบเก่า
หมดแล้ว มีการแบ่งชนิด
ตามสัญลักษณ์การจอดรับ-ส่ งดังนี้
1. Up Collective -หยุดรับส่ งเฉพาะขาขึ้น
2. Down Collective -หยุดรับส่ งเฉพาะขาลง
3. Selective Collective or Up & Down Collective -หยุดรับส่ งทั้งขาขึ้น และขาลง
ตามการจัดกลุ่มการจอดรับส่ ง ดังนี้
1. Simplex Control -สาหรับตัวเดียว
2. Duplex Control -สาหรับ 2 ตัว
3. Triplex Control -สาหรับ 3 ตัว
4. Group Control -สาหรับ 4 ตัวขึ้นไป
Automatic Rescue device (ARD)

9
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

การทางาน คือ เมื่อไฟฟ้ าดับลิฟต์คา้ งอยูร่ ะหว่างขึ้น ระบบนี้จะทางานเพื่อขับลิฟต์ไปยังชั้นที่


ใกล้ที่สุดโดยใช้ความเร็ วต่า เปิ ดประตูออก และหยุดการทางาน
ส่ วนประกอบของ ARD ประกอบด้วยชุด Battery และชุดควบคุม
มีขอ้ จากัดคือ จะไม่ใช้กบั อาคารหรื อช่วงที่ทางานมากกว่า 10 ม. และไม่ใช้ระบบนี้กบั อาคารที่มี
เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า
การเช็คการทางานของลิฟต์ก่อนการใช้งานประจาวัน
ตรวจปุ่ มกดทางานถูกต้อง
ตรวจเช็คแผงควบคุม (Switch Box) จะต้องล็อคอยูต่ ลอดเวลา
ตรวจเช็คแสงสว่างและพัดลมระบายอากาศภายในห้องโดยสาร
ตรวจเช็คการทางานของ Safety shoes กับ Door Sensor
ตรวจเช็คธรณี ประตู จะต้องไม่มีเศษวัสดุ
ตรวจเช็คการทางานของโทรศัพท์
ทดลองลิฟต์วงิ่ ขึ้น-ลง ว่าเรี ยบร้อยดีไม่มีเสี ยง และไม่สั่น
ตรวจดูกุญแจเปิ ดประตูลิฟต์
การบารุ งรักษาลิฟต์
การบารุ งรักษา ทุกระยะ 1 เดือน
-ตรวจเช็คการทางานของวงจรเซฟตี้ท้ งั หมด
-ตรวจเช็คสวิทซ์หน้าคอนแทค และกลไกของดอร์ ล็อค
-ตรวจเช็คระดับชั้น (การจอดเสมอระดับขั้นหรื อไม่)
-ตรวจการทางานของชุดเซฟตี้ชูส์/ ไลท์เรย์
-ตรวจระบบไฟแสงสว่างฉุ กเฉิ น/กระดิ่ง อินเตอร์ คอมฯ /แบตเตอรี่
-ตรวจผ้าเบรคและระยะการทางานของเบรค
-ตรวจสัญญาณบอกชั้น ทิศทางการขึ้นลง และสัญญาณเสี ยงแจ้งเตือน
-ตรวจการทางานของปุ่ มกดหน้าชั้น สัญญาณบอกชั้น
-ตรวจเช็คอุณหภูมิมอเตอร์ และพัดลมระบายอากาศ
-ตรวจเช็ค และทดสอบการทางานของชุ ดกัฟเวอเนอร์ โดยวิธี manual
การบารุ งรักษา ทุกระยะ 3 เดื อน
-ตรวจเช็คสภาพการทางานของหน้าคอนแทครี เลย์
-ตรวจเช็คทาความสะอาดแผงวงจรไฟฟ้ า /ขั้วแบตเตอรี่
-ตรวจเช็คขั้นตอนการทางานของระบบทั้งหมด
-ตรวจเช็คการทางานระบบแสงสว่างฉุ กเฉิ น

10
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

-ตรวจเช็คชูส์ประตู โรลเล่อร์ ประตู


-ตรวจเช็คทาความสะอาดราง/ รอกแขวนประตู และหล่อลื่นระบบประตู
-ตรวจเช็คสภาพการสึ กหรอและการทางานชุ ดกัฟเวอเนอร์
การบารุ งรักษา ทุกระยะ 6 เดือน
-ตรวจเช็คปรับตั้งลิมิตสวิทซ์
-ตรวจเช็คไฟแสงสว่างในช่องลิฟต์/บนหลังคาตัวลิฟต์
-ตรวจเช็คระดับน้ ามันของบัฟเฟอร์
-ตรวจเช็คสภาพของฉนวนที่สายเทรเวลลิ่งเคเบิล
-ตรวจเช็คสภาพและความดึงของลวดสลิงกัฟเวอเนอร์
-ทดสอบการทางานของชุดป้ องกันมอเตอร์
-ขันตรวจเทอร์มินอลของมอเตอร์ทุกตัว

การบารุ งรักษาทุกระยะ 12 เดือน


-ตรวจเช็คการทางานของโอเวอร์โหลดรี เลย์
-ตรวจเช็คสกรู จุดต่อสาย/ระดับแรงดันไฟฟ้ าภายในตูค้ อนโทรลไฟฟ้ า
-ตรวจทาความสะอาดรางตัวลิฟต์ และรางตุม้ น้ าหนัก
-ตรวจเช็คทาความสะอาดรอกขับ
-ตรวจเช็คขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดสลึงขับลิฟต์
-ตรวจเช็คระดับน้ ามันเกียร์ และเปลี่ยนถ่ายตามระยะเวลาที่กาหนด
-ขันตรวจความแน่นของน๊อตยึดต่าง ๆ
-ตรวจเช็คมอเตอร์พดั ลมระบายความร้อน และปริ มาณแรงลม
-ถอดทาความสะอาดฟิ วส์/ เซอร์ กิตเบรดเกอร์
สิ่ งสาคัญในการดูแลลิฟต์
ควรจัดฝึ กอบรมให้ความรู ้กบั ผูด้ ูแลลิฟต์ของอาคารให้มีความรู ้ในเรื่ อง
-การใช้งานลิฟต์อย่างถูกต้อง
-การบารุ งรักษาลิฟต์เบื้องต้น
-การช่วยเหลือผูโ้ ดยสารออกจากลิฟต์ในกรณี ลิฟต์คา้ ง
3. สาหรับระบบเครื่ องกลในอาคารอื่น ๆ เช่น
-ระบบก๊าซทางการแพทย์
-ระบบก๊าซเชื้อเพลิง LPG
-ระบบไอน้ าและน้ าร้อน

11
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า
วิธีบำรุงรักษาไฟฟ้า

-ระบบอัดอากาศบันไดหนีไฟ
-ระบบขนส่ งโดยท่อลม ฯลฯ
ในที่น้ ีจะไม่กล่าวถึง

งานบารุ งรั กษาระบบบาบัดนา้ เสี ย


คือ รับน้ าเสี ยที่มีปริ มาณและลักษณะไม่คงที่ (โหลดไม่คงที่) แต่น้ าทิ้งที่ออกต้องมีคุณภาพค่อนข้าง
คงที่ตามมาตรฐาน ปั ญหาที่พบมากคือกลิ่น และฟองที่ฟุ้งออกจากบ่อให้อากาศ มีส่วนสาคัญทาให้ระบบ
บาบัดน้ าเสี ยหลายแห่งไม่ได้เปิ ดเครื่ องให้อากาศหรื อเปิ ดก็เพียงเล็กน้อย ผลคือน้ าทิ้งก็จะไม่ผา่ นมาตรฐาน
คุณภาพน้ าทิ้งหลังบาบัด คือวัตถุประสงค์หลักของงานบาบัดน้ าเสี ย ส่ วนสาคัญในการบารุ งรักษา
ระบบบาบัดน้ าเสี ย จาเป็ นต้องมี 4 ส่ วนคือ
1. งานตรวจสอบโหลดที่เข้าระบบในความถี่ที่เหมาะสม
2. งานตรวจสอบเครื่ องจักร อุปกรณ์ และทาการบารุ งรักษาที่ถูกต้อง และตามระยะเวลาที่
เหมาะสม
3. งานปรับวิธีการเดินระบบให้เหมาะสม
4. งานตรวจสอบผลการเดินระบบซึ่ งรวมสภาพความเป็ นไปในทุกหน่วยของระบบบาบัด
สาหรับงานข้อ 2 และ3 เป็ นงานที่ผดู้ ูแลระบบพอที่จะควบคุมได้ตามที่ตอ้ งการ โหลดที่เข้าระบบ
เป็ นเรื่ องที่เราไม่อาจควบคุมได้ แต่อาจควบคุมให้นาเข้าบาบัดได้ในระดับหนึ่ง
ปั ญหาที่พบในงานบาบัดน้ าเสี ยจากอาคาร
1. ระบบบาบัดที่มีอยูไ่ ม่สอดคล้องกับโหลดที่เข้าบาบัด
2. ตาแหน่งของบ่อบาบัด ยากต่อการบารุ งรักษา
3. ขาดการตรวจสอบเครื่ องจักร อุปกรณ์
4. ผูด้ ูแลระบบฯ ขาดความรู้ความเข้าใจวิธีการดูแลระบบ
5. ปั ญหาการอุดตันของขยะในระบบท่อ
งานตรวจสอบโหลดที่เข้าบาบัด
ตรวจสอบปริ มาณน้ าเสี ย สามารถวัดจากการใช้น้ าประปาของอาคาร และจานวนผูใ้ ช้น้ าใน
แต่ละกิจกรรม วิเคราะห์ขอ้ มูลร่ วมกับบิลค่าน้ า และเทียบค่าด้วยBODกับค่าความสกปรกของน้ าเสี ยของ
อาคารอื่น ๆ ที่มีลกั ษณะการใช้งานใกล้เคียงกัน
งานปรับวิธีการเดินระบบให้เหมาะสม
1. อัตราสู บจ่ายน้ าเสี ยเข้าบาบัด ปริ มาณที่สูบจ่ายน้ าเสี ยเข้าแต่ละรอบ ทาได้ดว้ ยการปรับวาล์วที่
ท่อจ่ายน้ าเสี ยเข้าบาบัด ตาแหน่งลูกลอยเพื่อเดิน และหยุดเครี่ องสู บน้ า และ/หรื อเวลาที่ต้ งั ไว้ให้เครื่ องสู บน้ า

12
Brain media โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า

เดิน และหยุด การควบคุมส่ วนนี้เป็ นส่ วนหนึ่งที่ใช้ควบคุมโหลดที่เข้าบาบัดให้พอเหมาะกับความสามารถ


ของระบบในขณะนั้น ๆ
2. ชัว่ โมงการให้อากาศ ระบบบาบัดน้ าเสี ยส่ วนมากจะมีการให้อากาศในส่ วนที่เลี้ยงจุลินทรี ย ์
เพื่อบาบัดปริ มาณออกซิ เจนที่ละลายในน้ าต้องมีมากเพียงพอที่จุลินทรี ยจ์ ะนาไปใช้ ถ้าเหลืออกซิ เจนไม่พียง
พอจะทาให้ได้น้ าทิง้ คุณภาพที่ไม่สะอาดพอ แต่ถา้ เติมอากาศมากไปก็อาจเกิดปั ญหาจากมีจุลินทรี ยท์ ี่จมตัว
ไม่ดีได้
3. สู บตะกอนส่ วนเกินทิ้ง เมื่อเดินระบบไประยะหนึ่งจุลินทรี ยใ์ นระบบจะเพิ่มจานวนสะสมมาก
ขั้น หลักการคือสู บออกให้สม่าเสมอที่สุด เพื่อรักษาปริ มาณตะกอนที่เหลือให้สอดคล้องกับโหลดที่จะบาบัด

13

You might also like