You are on page 1of 106

Arch , Vault & Dome

Building Technology VI
ความหมายของโครงสร้ าง ARCH
หมายถึง โครงสรางรู ้ ปโค้งทีส่ ามารถพาดช่วงไดกว ้ าง
้ เป็ นโครงสรางหลั
้ กทีจ
่ ะรองรับส่วนที่
จะปกคลุมพืน ้ ที่ และจะถายแรงลงสู
่ ่ จุด SUPPORT
เป็ นรูปแบบโครงสรางพาดช
้ ่ วงกวางที้ ส
่ ามารถนาไปประยุกตกั
์ บโครงสรางรู
้ ปแบบอืน ่ ไดเช
้ ่น
Vault, Dome, Thin Shell, Truss หรือ Cable Structure
สัดส่ วนโครงสร้ าง ARCH และ VAULT
สาหรับโครงสรางแต
้ ละแบบเงื
่ อ
่ นไขของแรงทีก
่ ระทากับแตละชิ
่ น
้ ส่วนเป็ นคุณลักษณะสาคัญ
ของการออกแบบโครงสราง ้ และเป็ นเหตุผลหลักในการเลือกชนิดของโครงสรางและ

ความสามารถในการพาดช่วงกวาง้

โครงสร้ างคอนกรี ต ระยะพาดช่ วงกว้ าง= 15-100 เมตร


โครงสร้ างอิฐก่ อ ระยะพาดช่ วงกว้ าง = 4-30 เมตร
โครงสร้ างเหล็ก ระยะพาดช่ วงกว้ าง = 10-150 เมตร
วิวัฒนาการของ ARCH
ยุคแรก
INCLINED BLOCK
เป็ นลักษณะของการนาเอาหินกอนใหญ
้ ่ 2 กอน
้ มาวางพิงกันในรูปตัว V ควา่
วิวัฒนาการของ ARCH
CORBELING
เป็ นรูปแบบโครงสรางที
้ อ ่ ยูระหว
่ าง
่ โครงสรางยื
้ น ่ ( Cantilever ) กับโครงสรางรู
้ ปโค้ง (Arch)

CORBELED PORTICO OF THE TOMB OF CLYTEMNESTRA


วิวัฒนาการของ ARCH
VOUSSOIR
เป็ นโครงสรางที
้ เ่ กิดจาการอัดตัวของแผนอิ ่ ฐกอนเล็
้ กแตละก
่ อน
้ ทีน
่ ามากอเป็
่ นวงโค้ง หรือ
โครงสราง ้ Voussoir (หินทีต ่ ด
ั เป็ นรูปลิม
่ ) คลุมพืน
้ ทีอ
่ ยางมี
่ ประสิ ทธิภาพ เรียกวา่ ‘Radiating Arch’
มักเป็ นโครงสรางก
้ อโค
่ ้งคลุมเหนือช่องประตู
วิวัฒนาการของ ARCH
สมัยโรมัน
มีการใช้ Arch ตัง้ แตช
่ ่ วงแรกในยุคของ Etruscan (750–100 ปี กอนคริ ่ สตกาล)
Etruscan เป็ นชนเผาหนึ
่ ่งทีอ
่ าศัยอยูทางภาคกลางของอิ
่ ตาลี มีความชานาญทางช่าง
กอสร
่ าง
้ และยุคสถาปัตยกรรมโรมัน (146 – 475 ปี กอนคริ ่ สตกาล) ไดน
้ าระบบโครงสราง

Vault และ Radiating Arch มาประยุกตใช ์ ้ในการกอสร
่ าง
้ Aqueduct

AQUEDUCT
รู ปร่ างของเส้ นโซ่ ท่ แี ขวนระหว่ างจุดรองรั บ
สองจุดนัน้ นับเป็ นรู ปทรงทางเรขาคณิตที่
ต้ านทานแรงกระทาได้ ดีท่ สี ุด เมื่อมีแรงดึงมา
กระทาในแนวแกนแบบสมบูรณ์ จะไม่ มี Bending
Momentsเกิดขึน้

หากโซ่ นัน้ ถูกทาให้ แข็งและกลับหัวกันก็จะ


เป็ นการอธิบายถึงรู ปร่ างของ Arch ที่มีแรงอัดมา
กระทาในแนวแกนอย่ างสมบูรณ์ เช่ นเดียวกัน

(principle is shown as it was first utilized by


Poleni to analyze the stability of the dome of St.
Peter’s Cathedral (1748).
เคเบิลมีความสามารถทีจ ่ ะพัฒนาเพียงแรงดึงเทานั
่ ้น ภายใตน
้ ้าหนัก
ของตัวเองซึง่ เปรียบไดกั
้ บรูปรางของคาที
่ เนอรี Catenary
เมือ
่ กลับสายเคเบิลจะมีแตเพี ่ ยงแรงอัดทีช
่ ่ วงความลึกเทาๆกั
่ นเทานั
่ ้น
โค้งฟูนค ิ วิ ลาร ์ Funicular สาหรับน้าหนักของตัวมันเองนี้คอื ส่วนกลับของ
คาทีเนอรี Catenary
Thrust Resistance

แรงถีบ(Thrust)ทีเ่ กิดขึน
้ ของArch เป็ นส่วนแปรผันกับสั ดส่วนของความสูง
การจะลดแรงถีบของ Archทาไดด ้ วยการเพิ
้ ม
่ ความสูงเทาที
่ จ่ ะทาได้
แรงถีบ(Thrust)ทีเ่ กิดขึน
้ ของArch เป็ นส่วนแปรผันกับสั ดส่วนของความสูง
การจะลดแรงถีบของ Archทาไดด ้ วยการเพิ
้ ม
่ ความสูงเทาที
่ จ่ ะทาได้
การตานทานแรงถี
้ บ ( THRUST
RESISTANCE )
วิธก
ี ารตานแรงถี
้ บโดยหลักการ
ทัว่ ไปนั้นแบงได
่ เป็
้ น 2 แบบ คือ
การคา้ ยันจากภายนอก
(EXTERNAL BRACING )
การผูกยึดจากภายใน (INTERNAL
TIE )
London Victoria Station
MP

Ma

MA

รูปโค้ง Funicular จะไมมี


่ bending moment
เกิดขึน
้ เนื่องจากคา่ MP และ Ma หักลางกั
้ นพอดี
ลักษณะของ ARCH
รูปแบบของวัสดุโครงสร้ าง ARCH
1. MASONRY ARCH

SEMI – CIRCULAR ARCH CURVED : SEGMENTAL

FLORENTINE ARCH RAMPANT ARCH


ลักษณะของ ARCH

POINTED : LANCET VENETIAN ARCH

TUDOR ARCH RELIEVING ARCH FLAT ARCH


2. NON MASONRY ARCH ลักษณะโครงสร้ างโค้ งนี ้ จะแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภท คือ

1. RIGID ARCH
เป็ นโครงสราง ้ ARCH ทีย ่ ด
ึ ติดกับฐานรองรับ ( SUPPORT )
ไมมี่ จุดหมุน จะมีการโกงตั ่ วอันเนื่องจากแรงทีม่ ากระทา หรือ
อุณหภูมท ิ เี่ ปลีย
่ นแปลง

2. TWO – HINGED ARCH


เป็ นโครงสราง
้ ARCH ทีม
่ จ
ี ุดหมุนตรงฐานรองรับ (
SUPPORT ) เป็ นการลด BENDING ทีฐ ่ านรองรับแตยั
่ งมี
BENDING ทีก ่ ลาง SPAN

3. THREE- HINGED ARCH


เป็ นโครงสราง
้ ARCH ทีม่ จ
ี ุดหมุนหรือรอยตอของโครงสร
่ าง

โค้ง 3 ตาแหน่ง ตรงฐานรองรับ และกลาง SPAN จะช่วยลด
BENDING ตรงปลายฐานรองรับ และตลอดทัง้ แนว SPAN
Sydney Habour Bridge, Sydney, Australia
SOM | Broadgate – Exchange House
SOM | Broadgate – Exchange House
SOM | Broadgate – Exchange House
BRIDGE, ENGLAND, SPEIRS, URBAN DESIGN
INFINITY BRIDGE
Gateway Arch, Missouri, USA

by Eero Saarinen
โครงสร้ าง Arch ที่มีช่วงพาดกว้ างเท่ ากับความสูงที่ 192
เมตร ฐานของ Arch กว้ าง 16 เมตร ส่ วนยอดกว้ าง 5.2
เมตร โดยมีโครงสร้ างภายในเป็ น Truss หุ้มด้ วยวัสดุ
Stainless Steel ฐานรากเป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็กกว้ าง
หนา 13 เมตร ลึก 18 เมตร
Bodegas Protos winery, Spain

by Richard Rogers+ Partners


Bodegas Protos winery, Spain

พืน้ ที่ 19,450 ตารางเมตร ของโรงกลั่นเหล้ าไวน์ มีส่ งิ


อานวยความสะดวกและเพื่อทาให้ รสชาติและอายุของไวน์
มีคุณภาพกว่ า 3 ล้ านขวดต่ อปี

อาคารนีส้ ร้ างบนพืน้ ที่ของที่ Peñafiel เป็ นหมู่บ้านเล็กๆ


ใกล้ Valladolid ใน Castille, ภาคเหนือของสเปนพืน้ ที่ใต้
ดินยาวกว่ า 2 กิโลเมตรแบ่ งเป็ นอุโมงค์ ซึ่งเชื่อมกับพืน้ ที่
เก็บบ่ มไวน์ และขัน้ ตอนการผลิต
Bodegas Protos winery, Spain

โครงสร้ างหลักประกอบด้ วยโมดูลาร์ ของโครงสร้ างไม้


ประกอบขึน้ รู ปArchพาดช่ วงกว้ าง 18 เมตร ระยะห่ างกัน
ทุก 9 เมตรจานวน 5 ช่ วง โดยมีวัสดุหลังคาคลุมอยู่ด้านบน
ด้ วยโครงโลหะรู ปตัว V ที่วางอยู่บนโครงสร้ าง Arch
Bodegas Protos winery, Spain

กระจกเป็ น double glassed


กรอบเป็ น simple aluminium

façade มีระยะร่ นเข้ ามา 1.5 เมตร จาก


overhang ของหลังคา
Bodegas Protos winery, Spain

โครงสร้ างของอาคารเป็ นการเชื่อมกันของ parabolic Arch ไม้ หลังคา


vault ปูด้วยกระเบือ ้ งดินเผาขนาดใหญ่ ซึ่งใช้ stainless steel รองรั บทัง้ 6
จุดของ Arch เป็ นช่ วงพาดที่กว้ างเพราะด้ วยความสัมพันธ์ ของ parabolic
vault สัดส่ วนรู ปทรงของอาคารได้ มีการลดทอนขนาดจากโครงสร้ าง
คอนกรี ต
Bodegas Protos winery, Spain
Padre Pio Church, Italy

Renzo Piano Building workshop


Padre Pio Church, Italy

Renzo Piano Building workshop


Padre Pio Church, Italy
Padre Pio Church, Italy

Renzo Piano Building workshop


Padre Pio Church, Italy

โครงสร้ างหลักประกอบด้ วยโครงสร้ างArch หิน


Aprecina สองแถวโค้ ง 22 ต้ น พาดช่ วงความสูงตัง้ แต่ 25
-40 เมตร และมีโครงโลหะรั บโครงหลังคาและฝ้าเพดานไม้
หลังคาโลหะ

Renzo Piano Building workshop


New Wembley Stadium, England

Foster & Partners


โครงสร้ าง Arch ออกแบบให้ ทนแรงลมได้ สูง โดยโครงสร้ าง Arch จะประกอบด้ วยชิน้ ส่ วนเหล็ก
ประกอบขึน้ รู ป (lattice form) ที่ประกอบด้ วยเหล็กวงแหวน 41 วง (diaphragms) เชื่อมกันด้ วย
ท่ อเหล็ก spiral ถึง13 ชิน้ ส่ วนที่มีปลายแหลม โครงสร้ าง Arch นีม้ ีเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง7.4 ม. ที่ฐาน
หนักถึง 1,750 ตัน ที่จุดรองรั บเป็ น Hinge 70ตัน ที่ยดึ กับฐานคอนกรี ต เสาเข็มลึก 35ม.
โครงสร้ าง Arch สูง 133 เมตรพาดอยู่เหนืออัฒจันท์ ด้านทิศเหนือ พาดช่ วงกว้ าง 315 เมตรซึ่งเป็ น
โครงสร้ าง Arch พาดช่ วงเดียวที่ยาวที่สุดในโลก โครงสร้ าง Arch นีร้ ั บนา้ หนักหลังคาด้ านอัฒจันท์
ทิศเหนือ และ 60% ของอัฒจันท์ ทางด้ านทิศใต้
VAULT
ความหมายของโครงสร้ าง Vault
หมายถึง โครงสร้ าง Arch ที่มาประกอบต่ อกันให้ สามารถปกคลุมพืน้ ที่ได้ เป็ นบริเวณ
กว้ างกว่ า โดยจะประกอบเข้ าด้ วยกัน แล้ วทาการยึดติดให้ เป็ นผืนเดียวกัน ซึ่งในลักษณะนี ้
จะช่ วยให้ การรั บและถ่ ายแรงมีประสิทธิภาพที่ดีกว่ า นอกจากนีย้ ังช่ วยในการรั บแรงทาง
ด้ านข้ าง แรงบิด และแรงเฉือน ได้ ดกี ว่ าโครงสร้ าง ARCH เพียงอย่ างเดียว ซึ่งVAULT
เป็ นโครงสร้ าง 3 มิติ สามารถใช้ เป็ นโครงสร้ างได้ ทงั ้ ผนังและหลังคาไปในตัว ซึ่งรู ป
ตัดขวางของ Vault คือ Arch
วิวัฒนาการของ ARCH & VAULT

COLOSSEUM

The Colosseum, Rome, Italy


The Colosseum
เป็ นลานแสดงกิจกรรมกลางแจ้ง จุผ้ชมไดู ระหว
้ าง
่ 50,000 - 80,000 คน โดยมีการ
ออกแบบการระบายผู้ชมออกทัง้ หมดไดภายในเวลาประมาณสิ
้ บนาที
เป็ นการประยุกตใช ์ ้โครงสราง้ Arch & Vault ขัน ้ สูง มีขนาด 620x513 ฟุต (189x156 ม.)
สูง 160 ฟุต ( 49 ม.) พืน้ ทีป
่ ระมาณ 6 เอเคอร​(์ 24,281 ตร.ม.) ประกอบดวย้ Arch ไมน ่ ้ อยกวา่
80 ตัว วัสดุโครงสรางเป็
้ นกอนหิ
้ นและคอนกรีต
วิวัฒนาการของ VAULT
โครงสร้ าง Vault และ Arch ของโรมัน เป็ นระบบโครงสร้ างมาตรฐาน มักเป็ นคอนกรี ต ซึ่ง
ให้ ผลกว้ างขวางมาก มีการคิด Vault ได้ หลายชนิด
1. Semicircular of Wagon Vault (Barrel or Tunnel Vault ) Vault แบบประทุน
เกวียน คลุมผนังที่ขนานกัน
2. Cross Vault เป็ น Semicircular 2 อัน ที่ขนานกัน ถ่ ายนา้ หนักลงบนเสา 4 จุด
ต้ องคลุมเนือ้ ที่ส่ ีเหลี่ยมจัตุรัส เท่ านัน้
3. Hemispherical Dome เป็ นโดมคลุมเนือ ้ ที่วงกลม
Gothic Vaulting
Gothic ได้ ทาการแก้ ปัญหาของความยากลาบากในการที่ vault ที่ช่วงพาด
ต่ างกันมาตัดกันกุญแจที่สาคัญในการแก้ ปัญหาคือการพัฒนาของ pointed arch
and pointed vault ทาให้ vault ที่มี bay กว้ างต่ างกันมีความสูงเท่ ากันตัดกันง่ าย
และเป็ นทิศทางที่แสดงถึงลักษณะของ Roman vaulting จากการที่ pointed
vault ใกล้ จะเป็ น funicular system ทาให้ ลดความต้ องการที่จะมีนา้ หนักกดทับ
ส่ วนล่ างของ vault และการมี buttress ทาให้ โครงสร้ างสมบูรณ์ แสดงลักษณะ
Gothic และเมื่อประสบการณ์ ในเรื่ องของการก่ ออิฐมีพัฒนาการความมั่นคง
แข็งแรงขึน้ โครงสร้ าง arch ก็จะมีความสูงชันและบางลงและซับซ้ อนมากขึน้
พฤติกรรมการถ่ ายแรง
- เปรี ยบเทียบ Vault กับ Arch
เมือ
่ เปรียบเทียบกับ Arch ทีน ่ ามาตอกั
่ น มีความแตกตางกั
่ นในเรือ
่ งการตอบสนอง
ตอ ่ point load โดย Arch จะมีพฤติกรรมทีเ่ ป็ นอิสระ คือน้าหนักทีเ่ กิดการถายแรง
่ จะไม่
แบงไปที
่ ่ Arch ทีต่ ด
ิ กัน load ทัง้ หมดจะมีทศ
ิ ทางไปตามแนว Arch เทานั ่ ้น แตการ

ตานทานแรง
้ shear ของ Vault จะกระจายออกไปยังพืน ้ ทีข
่ างเคี
้ ยงทามุม 45 องศา
ออกไปแตละด ่ าน

Load distribution in (a) independent arches and (b) a vault.


- แรงต้ านด้ านข้ าง (Lateral Resistance)
การรับแรงดานข
้ าง
้ ถาเป็
้ น Arch จะอยูเป็่ นอิสระ ทาให้แรงดานข
้ างที
้ ก ่ ระทบกับ
Arch ตัวสุดทายท
้ าให้ Arch ทัง้ หมดพังทะลายลงมาคลายกั
้ บแถว domino แตส ่ าหรับ
Vault ตรงส่วนลางจะเปรี
่ ยบเสมือน shear wall คูหนึ
่ ่งในการตาน
้ horizontal load
ขนานไปกับความยาว Vault

Lateral resistance in (a) independent arches and (b) a vault.


การต้ านแรงถีบ (Thrust Resistance)
1.การยึดกับฐานรากเหมือน Arch เช่นกัน ทัง้ หมดตองมี ้ การตานแรงถี
้ บ
ยิง่ ตืน ้ มากแรงถีบก็ยง่ิ มาก ถาVaultโค
้ ้งโดยตรงจากฐานราก
แรงฝื ดระหวางพื ่ น
้ ดินกับฐานรากก็เพียงพอทีจ ่ ะตานแรงถี
้ บออก
(a)
2. การเพิม ่ แรงดึงทีฐ ่ านโค้งกรณีทvี่ ault ยกตัวสูงขึน ้ วางบนกาแพง (หรือ
คาน หรือเสา) แรงถีบจะทาให้ปลายบนกาแพงแยกออกจากกัน (b)
ทางหนึ่งทีจ ่ ะทาคือ การเพิม ่ แรงดึง (f) ระหวางฐาน่ Vault เป็ น
หลักการเดียวกันกับคาน คสล. ทีใ่ ช้ในการดึงแรง thrust
3. การเพิม ่ น้าหนักทีฐ ่ านVault สมัยAncient Roman การตาน ้ thrust
ไดท ้ าการเพิม ่ อิฐกอนใหญ ้ จ
่ านวนมากวางไวเหนื้ อส่วนลางของ่
vault น้าหนักทีเ่ พิม ่ จะเปลีย
่ นทิศทางการถายแรงที
่ ม
่ ม
ี ุมมากขึน ้ และ
ยังสามารถถายอยู ่ ในก
่ าแพงได้
4. การทา Solid buttress (c,d)ตอมาในยุ ่ ค Romanesque ไดมี ้ การเพิม่
Solid buttress มาเพิม ่ แรงตาน ้ thrust
5. การทา Flying buttress (e)สมัยโกธิคพัฒนาการตานแรงให ้ ้สามารถ
แยกตัวออกมาจากผนังได้
Catalan Vault

ประกอบดวย
้ Vault ขนาดเล็กหลายๆอันทีก
่ อด
่ วยอิ
้ ฐแผนบางๆ
่ แตมี
่ ความแข็งแรงมาก มา
ประกอบตอๆกั
่ น มีในเมืองบารเซโลนาประเทศสเปน
์ โดยพัฒนามาจากสมัยโรมัน
LAMELLA VAULT
ประกอบด้ วย Arch เรี ยงตัวในรู ปข้ าวหลามตัด คาจากัดความที่สมบูรณ์ ท่ สี ุดของ
lamella คือโครงสร้ างที่ประกอบด้ วย memberสัน
้ ๆ(lamella) มาต่ อกันด้ วยรู ปแบบการ
ทอแบบตระกร้ อ เป็ นการตัดกันของ Arch ที่เรี ยงตัวอยู่ในรู ปของข้ าวหลามตัด

Animal Shelter, Auburn University Rural studio

Nature Board Walk by Studio Gang - Lincoln Park Zoo, Chicago.


wxh = 17’ x 17’

Animal Shelter, Auburn University Rural studio


Pier Luigi Nervi - Aircraft hanger, Orvieto 1935.

span 44.8 m

length 111.5 m
Vaulted Mapungubwe Interpretation Center in South Africa
Shortlisted for 2013 Aga Khan Architecture Award
Vaulted Mapungubwe Interpretation Center in South Africa
Shortlisted for 2013 Aga Khan Architecture Award
สถาปนิก Peter Rich ร่ วมกับ John Ochsendof and Michael Range from the
University of Cambridge ออกแบบ Vault โดยใช้ กรรมวิธีก่อสร้ างดัง้ เดิมเมื่อ 600 ปี
ด้ วยวัสดุกระเบือ้ งดินอัดแน่ น 200,000 แผ่ น ที่ทาขึน้ ในพืน้ ที่และคนในท้ องถิ่น
Free form vault พาดช่ วงกว้ าง 14.5 เมตร และกลุ่มอาคารนีเ้ ชื่อมกันด้ วยทางลาด ไม่ มี
การใช้ โครงสร้ างคสล.เลย โครงการนีก้ ่ อสร้ างเสร็จปี คศ. 2009 และครอบคลุมพืน้ ที่
ทัง้ หมด 2,750 ตารางเมตร
สรุ ปโครงสร้ าง VAULT
Vault คือโครงสร้ าง Arch 3 มิติ ซึ่งถ่ ายแรงไปที่ support ด้ วยแรงอัดเท่ านัน
้ โดยไม่
สามารถต้ าน tension ( ในทางตรงข้ าม Shell สามารถต้ านได้ ทงั ้ Compression และ
Tension) ทาให้ vault ต้ องการ support ต่ อเนื่องตลอดฐาน

✤ การต้ านแรง Shear ของ Vault จะถ่ ายกระจายออกไปในแต่ ละด้ านทามุม 45 องศา
ต่ างจาก Arch ที่ต่อกันซึ่งมีการกระจายแรงที่เป็ นอิสระ
✤ Vault มีแรงถีบด้ านข้ างเหมือน Arch และ Vault ที่เตีย้ จะมีแรงถีบมาก
Dome
diameter 44 meters
DOME
เป็ นการออกแบบที่ยังคงให้ มีการต้ านแรงอัดเท่ านัน้ Dome ส่ วนมากเป็ นรู ปวงกลมแม้ ว่า
จะมีวงรี อยู่บ้าง Dome Vault ทัง้ หมดต้ องออกแบบต้ านแรงถีบด้ านข้ าง ถ้ า Dome ไม่ เป็ น
funicular จะมีแนวโน้ มที่จะเกิด buckle upward มักจะต้ านทานโดยการเพิ่มนา้ หนักกดลงไป
บนฐาน dome
เป็ นการพัฒนาในช่ วง Byzantine Period เพื่อรองรั บโดมอิฐบน arch pendentive
พัฒนาจาก dome ครึ่งวงกลมขนาดใหญ่ โดยตัดย้ ายฐาน 4 ด้ าน และยอดออก เอาครึ่งทรงกลม
ที่มีรัศมีเท่ าช่ องเปิ ดมาวาง และปิ ดด้ านข้ างด้ วย dome รั ศมีเดียวกัน
diameter 30.37-31.87 meters Height 55.60 meters
Sagrada Familia, Barcelona, Spain
by Antonio Gaudi
Reichstag Berlin, Germany

Sir Norman Foster


โครงสร้ าง Arch และ Vault กับการพิจารณานามาใช้ ออกแบบ
อาคารพาดช่ วงกว้ างในประเทศไทย
โครงสร้ าง Arch และ Vault ได้ ถูกนาเข้ ามาใช้ ในประเทศไทยมาช้ านาน ตัง้ แต่ สมัยที่
ยังไม่ มีขอบเขตประเทศที่ชัดเจน จากซากโบราณสถานที่หลงเหลืออยู่ พบว่ ามีการนา
Arch มาใช้ เป็ นส่ วนประกอบทางโครงสร้ างและประดับตกแต่ งมาตัง้ แต่ ยุคศรี วิชัย ราว
พุทธศตวรรษที่13 โดยส่ วนใหญ่ เป็ นซุ้มประตูเมือง ประตูอาคารสาคัญทางศาสนา หรื อ
โครงสร้ างสะพานข้ ามคูนา้ เล็กๆ โดยวัสดุจะใช้ เป็ นอิฐเผา หรื ออิฐมอญ

สะพานผ่ านฟ้า
สะพานเจริญศรี
ลีลาศ
โลหะปราสาทวัดราชนัดดารามวรวิหาร มีลักษณะศิลป
สถาปั ตยกรรมไทยเป็ นปราสาท 3 ชัน้ มียอด 37 ยอด หมายถึง
พระโพธิปักขิยธรรม 37 ประการ กลางปราสาทเป็ นช่ องกลวงจาก
ฐานตลอดยอด มีซุงต้ นใหญ่ สูงถึงยอดปราสาทเป็ นแกนกลาง
เจาะลาต้ นตอกเป็ นบันไดเวียนขึน้ 67 ขัน้ เริ่มก่ อสร้ างในปี พ.ศ.
2394 นับจากปี ที่เริ่ มก่ อสร้ างวัดราชนัดดารามได้ 5 ปี แต่ ก่อสร้ าง
สาเร็จเป็ นเพียงปราสาทโกลน ก็สนิ ้ รั ชกาล
สถานีรถไฟ กรุ งเทพ (หัวลาโพง)

“สถานีรถไฟกรุ งเทพ” หรื อเรียกกันทัว่ ไปว่า “หัวลาโพง” เริ่ มก่อสร้างในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 คือในปี พ.ศ.2453 การก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิ ดใช้บริ การอย่างเป็ นทางการโดยพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จฯ ทรงกระทาพิธกี ดปุ่ม สัญญาณไฟฟ้ าให้รถไฟขบวนแรกเดินเข้าสู ส่ ถานีกรุ งเทพ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2459
สถานีกรุ งเทพ” มีแบบก่อสร้างเป็ นรู ปโดมสไตล์อติ าเลียนผสมผสานกับ ศิลปะยุคเรอเนสซองมีลกั ษณะคล้ายกับ สถานีรถไฟ เมืองแฟรงค์เฟิรต์ ในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน อีกทัง้ วัสดุ
ในการก่อสร้างก็เป็ นวัสดุสาเร็จรู ปจากเยอรมันนีเช่นกัน ลวดลายต่างๆที่ประดับไว้เป็นศิลปะที่มคี วามวิจิตรสวยงามมาก บันได และเสาอาคารบริ เวณทางขึ้นที่ทาการกองโดยสาร หรื อโรงแรม-ราชธานีเดิม
เป็ นหินอ่อน โดยเฉพาะเพดานเป็ นไม้สกั สลักลายนู น ซึ่งหาดูได้ยากจุดเด่นของสถานีกรุ งเทพอีกอย่างหนึ่ งคือ กระจกสีท่ ี ช่องระบายอากาศ ทัง้ ด้านหน้า และด้านหลัง
สถานีรถไฟ กรุ งเทพ (หัวลาโพง)
อาคารศึกษา : สถานีรถไฟกรุ งเทพ(หัวลาโพง)
เริ่มสร้ าง ในปลายสมัยรั ชกาลที่ 5 คือในปี พ.ศ. 2453 และเปิ ดใช้ อย่ างเป็ น
ทางการในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ซึ่งตรงกับสมัยของรั ชกาลที่ 6
ออกแบบโดย :สถาปนิกชาว อิตาลีช่ ือ มาริ โอ ตามานโญ
ขนาดพืน้ ที่ :ประมาน 1200 ตารางเมตร
ระยะพาดช่ วงกว้ าง :ประมาน 45 เมตร

โดยมีลักษณะคล้ ายกับสถานีรถไฟเมืองแฟรง
เฟิ ร์ ต
พฤติกรรมของแรงที่กระทาต่ อโครงสร้ าง

Uniform load เนื่องจากแรงกระทาจากโครงสร้างหลังคาและหลังคา metal sheet


พฤติกรรมของแรงที่กระทาต่ อโครงสร้ าง

แรงพยายามที่จะถ่ายตัวเองออกไปที่ จุด support คือเสา ทาให้มีแรงถีบเกิดขึ้นในโครงสร้าง


พฤติกรรมของแรงที่กระทาต่ อ
โครงสร้ าง
โครงสร้ าง truss รั บUniform load จากโครงสร้ างหลังคา โดย
แป จะวางตรงกับบริเวณ จุดต่ อของ truss เนื่องจากบริเวณนัน้ มี
member ในแนวตัง้ ซึ่งสามารถรั บแรงอัด(compression) ได้ ดีกว่ า
จุดอื่น ในบริเวณที่เปิ ดช่ องแสง มีโครงเหล็กทรงสี่เหลี่ยมคางหมูขนึ ้
ไปรั บ วัสดุมุงและถ่ าย นา้ หนักลงมาที่จุดเชื่อมต่ อของ truss
เช่ นเดียวกัน
SECOND BANGKOK
INTERNATIONAL
AIRPORT (SBIA)
THAILAND 1995-2000
Design:1994
Area :418,000 m2
Client :Airports Authority of Thailand
Architects :MJTA Consortium
:Murphy/Jahn,Inc.
;TAMS CONSULTANTS,INC.
;ACT CONSULTANTSCO.,LTD.
M/J Team :Helmut Jahn/
BRIAN O’CONNOR/
Martin Wolf/
SANFORD GORSHOW/
THOMAS CHAMBERS
Mechanical Engineer
:Flacks & Kurtz
CONSULTING ENGINEERS,
TAMS CONSULTING,INC.
Structural Engineers
:John A.Martin & Associates,Inc.,Sobek &
Rieger
โครงสร้ างหลังคาCONCOURSE
อาคารหลักในเป็ นโครงสรางเหล็ ้ กทีเ่ ป็ นลักษณะ
ของโครงขอแข็ ้ ง โดยมีจุดแกนหมุนลงบน
โครงสรางที ้ ถ
่ ก ู ยกขึน ้ จากพืน ้ ในตัวโครงขอ ้
แข็งทีม ่ รี ป ู รางแบบ
่ SPACE TRUSS แตถ ่ าย

น้าหนักลงทางเดียวตามลักษณะของโครงขอแข็ ้ ง
ใช้ผนังกระจกซึ่ง 40% เป็ นกระจกโปรงแสง ่ อีก
60% เป็ นกระจกฉาบ CERAMIC ทึบแสงเพือ ่
ป้องกันความรอนการเลื ้ อกใช้วัสดุกระจกเพราะ
ตองการให
้ ้ผิวทีเ่ รียบและมันงายแก ่ การท
่ าความ
สะอาด อาคารหลังนี้ไมมี ่ ฝ้าเพดาน จึงใช้
โครงสรางเหล็ ้ กทีเ่ ป็ น TRUSS เป็ นหลังคาแบน
ติดบานเกร็ด (louvre) อยูเหนื ่ อหลังคาอีก
ชัน้ หนึ่ง บานเกร็ดนี้จะกันไมให ่ ้แสงทะลุลงมาซึ่ง
กันความรอนดี ้ กวาการติ
่ ดมานมู
่ ลี
่ บ่ งั แดดภายใน
อาคาร โครงสรางหลั ้ งคาทีเ่ ป็ น TRUSS คลุม
ส่วนของอาคารใหญที ่ ย่ นื่ ยาวออกไปไดทั ้ ง้ หมด
สาหรับส่วนทีเ่ ป็ น CONCOURSE เป็ นสะพานที่
ทอดยาวออกมานอกอาคารใหญ่ ทาเป็ นหลังคา
รูปโคงเป็ ้ นโครงขอแข็ ้ ง หลังคาทึบสลับกระจก
เช่นเดียวกับอาคารกลาง การออกแบบรูปโคง้
ไดมาจากรู
้ ปรางของเครื
่ อ
่ งบินทีม ่ ลี กั ษณะเป็ นรูป
โคงมนเช้ ่ นเดียวกัน ส่วนทีเ่ ป็ นหลังคาทึบจะมี
ลักษณะเหมือนกลีบบัวควา่
โครงสรางใช
้ ้โครงสราง
้ TRUSS
แบบ THREE-HINGE ARCH ซึง่
เป็ นโครงสราง
้ ARCH ทีม ่ จ
ี ุดหมุน
หรือรอยตอของโครงสร
่ าง
้ 3
ตาแหน่ง ตรงฐานรองรับและกลาง
SPAN จะช่วยลดแรงบิดตรงปลาย
ฐานรองรับ และตลอดทัง้ แนว SPAN

You might also like