You are on page 1of 15

ระบบดักกำจัดฝุ่ นและกรองอำกำศอุตสำหกรรม

Industrial Dust Collectors and Industrial Air Filtration Systems

ผศ.ดร.วิศนุรกั ษ์ เวชสถล

ภาควิชาวิศวกรรมเครื ่องกล มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี

ไซโคลน (Cyclone)

ไซโคลน เป็ นอุปกรณ์ทำงกลพื ้นฐำนที่นิยมใช้ ในกำรแยกอนุภำคแขวนลอยที่มีขนำดมำกกว่ำ 5 ไมครอน อุปกรณ์


ดังกล่ำว มีกำรใช้ งำนกันอย่ำงกว้ ำงขวำง เช่น ใช้ ดกั กำจัดฝุ่ นในงำนวิศวกรรมสิง่ แวดล้ อม ใช้ แยกขนำดและคัดกรองอนุภำคใน
งำนวิศวกรรมทำงกลและวิศวกรรมเคมี รวมถึงกำรใช้ แยกขนำดของผงที่เป็ นองค์ประกอบในอุตสำหกรรมยำและเวชภัณฑ์ พบ
มำกโดยทัว่ ไปใน โรงไม้ โรงโม่ และ โรงงำนซีเมนต์ เนื่องจำกเป็ นอุปกรณ์ที่มีรำคำถูกและค่ำบำรุงรักษำน้ อยในกำรแยกอนุภำค
ที่มีขนำดใหญ่กว่ำ 5 ไมครอน จำกรูปที่ 1 จะเห็นได้ วำ่ ไซโคลนมีขนำดที่แตกต่ำงกันตังแต่
้ ขนำดใหญ่ ที่พบเห็นโดยทัว่ ไปในงำน
อุตสำหกรรมและขนำดเล็กในงำนที่ใช้ ในกำรตรวจจับอนุภำคแขวนลอยในอำกำศ

รูปที่ 1 ลักษณะทำงโครงสร้ ำงภำยนอกของไซโคลน

1
กำรทำงำนของไซโคลน จะอำศัยแรงเหวี่ยงหนีศนู ย์กลำง (centrifugal force) ในกำรสร้ ำง Inertia ให้ แก่อนุภำค
แขวนลอยในของไหล เนื่องจำกอนุภำคแขวนลอยมี inertia มำกกว่ำของไหล ดังนันเมื
้ ่อมีกำรเปลี่ยนทิศทำงของกำรไหลหรื อ
กำรเคลื่อนที่ดงั รูปที่ 2 จะทำให้ ของไหลซึ่งมี Inertia น้ อยกว่ำจะสำมำรถเปลี่ยนทิศทำงได้ ง่ำยกว่ำ ยังผลให้ เกิดกำรตกกระทบ
ของอนุภำคบนผนัง จึงเกิดกำรแยกตัวของอนุภำคแขวนลอยออกจำกของไหลได้

เมื่อพิจำรณำพฤติกรรมกำรไหลดังรูปที่ 2 จะเห็นได้ วำ่ ของไหลที่มีสำรแขวนลอยปะปนจะไหลในแนว tangent สัมผัส


กับผนังของไซโคลน ก่อให้ เกิดกำรไหลแบบ vortex เพื่อสร้ ำง inertia ให้ แก่อนุภำคของกำรไหล เมื่อของไหลกระทบที่ cone
บริเวณก้ นของหอไซโคลน จะไหลหมุนวนกลับในทิศทำงตรงข้ ำมก่อให้ เกิด vortex ชันใน
้ ในขณะที่อนุภำคแขวนลอยจะถูก
แยกด้ วยแรงเหวี่ยงหนีศนู ย์และ inertia ที่มำกกว่ำให้ เบียดผนังและตกลงสูถ่ งั เก็บฝุ่ นด้ ำนล่ำง ผ่ำนทำงช่องระหว่ำง cone
ด้ ำนล่ำงและผนังของไซโคลน

รูปที่ 2 กำรตกกระทบของอนุภำคบนผนังและพฤติกรรมกำรไหลภำยในไซโคลน

กำรออกแบบไซโคลน จะดำเนินกำรตำมมำตรฐำนกำรออกแบบตำมสัดส่วนที่ แสดงดังตำรำงที่ 1 ซึ่งเป็ นสัดส่วน


อ้ ำงอิงตำมขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงของไซโคลน โดยไซโคลนจะถูกแบ่งตำมประสิทธิภำพในกำรดักฝุ่ นได้ เป็ น High efficiency
cyclone, medium efficiency cyclone และ general purpose cyclone ซึ่งสัดส่วนของไซโคลนที่แตกต่ำงกันก็จะก่อ ให้ เกิด
ระยะเวลำ (residual time) และระยะทำงของกำรไหลวน (travel distance) แตกต่ำงกัน

2
ตารางที่ 1 สัดส่วนมำตรฐำนของไซโคลน

กำรคำนวณประสิทธิภำพกำรดักจับ และพำรำมีเตอร์ ของกำรไหลนัน้ จะเห็นได้ ว่ำ ประสิทธิภ ำพของกำรดักจับจะ


ขึ ้นกับพฤติกรรมกำรไหลในสองลักษณะ คือ พฤติกรรมกำรไหลวนแบบ circular path ของของไหล และ พฤติกรรมกำรไหล
เหวี่ยงแนวรัศมีเนื่องจำก centrifugal force ที่ก่อให้ เกิดกำรตกกระทบของอนุภำคบนผนังของไซโคลน ดังนัน้ จึงมีสองทฤษฐี ที่
ใช้ ในกำรอ้ ำงอิงเพื่อประเมิณประสิทธิภำพกำรดักจับฝุ่ นตำมพฤติกรรมทังสอง
้ ได้ แก่

3
Lapple’s Model ซึ่งพิจำรณำกำรไหลในลักษณะแบบ plug flow คือ พิจำรณำกำรไหลแบบ laminar ของ vortex ใน
แนว tangent และไม่ ค ำนึ ง พฤติ ก รรมกำรผสมในแนว axial flow และ radial flow โดยในกำรค ำนวณเพื่ อ พิ จ ำรณ ำ
ประสิทธิภำพของกำรดักจับ ดังกล่ำว จะเริ่ มจำกกำรพิจำรณำโดยอ้ ำงอิงจำกขนำดของอนุภ ำคที่ควำมสำมำรถในกำรดักจับ
collection efficiency เท่ำกับ 50% ดังสมกำรที่ (1)

9𝜇𝑏
𝑑𝑝50% = √2𝜋𝑁 (1)
𝑒 𝑉𝑖 (𝜌𝑝 −𝜌𝑔 )

เมื่อ µ คือควำมหนืดของของไหล, b คือควำมกว้ ำงของทำงเข้ ำ, Ne คือจำนวนรอบของกำรไหลวนนับจำกทำงเข้ ำจนถึงกลึง่


กลำงของ core section, Vi คือควำมเร็วของอำกำศที่ทำงเข้ ำ และ ρp คือผลต่ำงของควำมหนำแน่นของอนุภำคและควำม
หนำแน่นของของไหล โดยที่ Ne หรื อ จำนวนรอบของกำรไหลวน สำมำรถพิจำรณำได้ จำก

1 𝐻−ℎ
𝑁𝑒 = [ℎ + ] (2)
𝑎 2

ดังนันประสิ
้ ทธิภำพของกำรดักจับของอนุภำคขนำดต่ำงๆที่ทำงเข้ ำ dpj จึงพิจำรณำจำก

(3)

ในขณะที่ Licht’s model จะพิจำรณำกำรไหลแบบปั่นป่ วนที่มีพฤติกรรมกำรผสมในแนวรัศมีและแนวแกน โดยอ้ ำงอิง


จำกขนำดของอนุภำคในกำรดักจับที่ประสิทธิภำพ เท่ำกับ 50% ซึ่งตำมโมเดลของ Licht สำมำรถพิจำรณำขนำดของอนุภำคที่
ประสิทธิภำพกำรดักจับที่ 50% ได้ จำก

(4)

เมื่อ n คือ vortex exponent และ A คือ pre-factor ซึ่งสำมำรถพิจำรณำได้ จำก

(5)

4
เมื่อ K คือ configuration factor, Q คือ อัตรำกำรไหลของของไหล และ D คือขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงของ cyclone ในขณะที่
n และ K แสดงในตำรำงที่ 1 ดังนันประสิ
้ ทธิภำพกำรดักจับของอนุภำคขนำดอื่นๆ จึงพิจำรณำได้ จำก

(6)

ซึ่งทำให้ ประสิทธิภำพกำรดักจับรวม สำมำรถพิจำรณำได้ จำก

(7)

เมื่อ fj คือ สัดส่วน (fraction) ของอนุภำคแต่ละขนำด ส่วนกำรประเมินควำมดันตกคล่อมอุปกรณ์และค่ำกำลังที่ต้องกำร


สำมำรถพิจำรณำได้ จำกสมกำรที่ 7

และ

(8)

Reference: http://aerosol.ees.ufl.edu/cyclone/section05.html

5
WET SCRUBBER

Wet Scrubber อำศัยกำรดักจับฝุ่ นละอองโดยกำรให้ ก๊ำซที่มีฝนละอองแขวนลอยไหลสวนทำงกั


ุ่ บกำรไหลของหยด
น ำ้ อนุภ ำคที่ มี ข นำดเส้ น ผ่ำ นศูน ย์ ก ลำงเกิ น กว่ำ 10 micron ก็ จ ะปะทะเข้ ำ กับ หยดน ำ้ และเกิด กำรดูด ซับ อนุ ภ ำคแบบ
Impaction กำรก่อให้ เกิดกำรไหลวนแบบปั่ นป่ วน (turbulent) ก็จะยิ่งส่งเสริ มพฤติกรรมกำรดูดซับแบบ impaction อนุภำค
แขวนลอยในอำกำศที่มีขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงในช่วง 0.1 – 1.0 micron จะถูกดูดซับเมื่อมีกำรไหลผ่ำนในระยะที่ใกล้ เคียงกับ
ทิศทำงกำรไหลของหยดน ้ำ อันจะก่อให้ เกิดพฤติกรรมกำรดูดซับสำรแขวนลอยที่เรี ยกว่ำ interception กำรเพิ่มจำนวนหรื อ
ควำมหนำแน่นของปริมำณหยดน ้ำในกำรพรมก็จะยิ่งเพิม่ พฤติกรรมกำรดูดซับสำรแขวนลอยแบบ interception ในขณะที่กำร
ดูดซับอนุภำคแขวนลอยในอำกำศที่มี ขนำดเล็กกว่ำ 0.5 micron จะอำศัยพฤติกรรมกำรไหลแบบ Brownian motion ซึ่งเป็ น
กำรไหลที่เกิดจำกกำรชนกันแบบ random collision ของโมเลกุลของก๊ ำซ อันส่งเสริมให้ เกิดกำรแพร่ของสำรแขวนลอยภำยใน
กลุ่ม ก๊ ำซ และจะถูก ดูด ซับ เมื่อ เกิด กำรปะทะเข้ ำกับ หยดน ำ้ นอกจำกนี ย้ ังมี ก ำรเพิ่ ม ประสิท ธิภ ำพกำรดูด ซับ ของ Wet
Scrubber โดยกำรอำศัยไอน ้ำอิ่มตัวเพื่อก่อให้ เกิดกำรควบแน่นรอบอนุภำคแขวนลอย และกำรใช้ electrostatic scrubbing
เพื่อสร้ ำง electrostatic charge บนอนุภำค บนหยดน ้ำ หรื อทังบนอนุ
้ ภำคและหยดน ้ำ เพื่อเพิม่ ควำมสำมำรถในกำรดูดซับ

Mussatti D. และ Hemmer P. ได้ แบ่งประเภทของ Wet Scrubber ออกตำมลักษณะทำงโครงสร้ ำงออกได้ เป็ น

- Spray Tower เป็ นรู ป แบบของ Wet Scrubber ที่ มีลักษณะทำงโครงสร้ ำ งซับ ซ้ อ นน้ อ ยที่ สุด โดยอำศัย
พฤติกรรมกำรดูดซับแบบ Impaction เป็ นหลัก ก๊ ำซที่มีอนุภำคแขวนลอยจะสำมำรถถูกป้อนเขำสู่ระบบทัง้ ในแนวนอนหรื อ
แนวตัง้ ในขณะที่น ้ำจะถูกป้อนผ่ำนหัวพ่นโดยมีทิศทำงกำรไหลตำมทิศทำงกำรไหลของอำกำศ ทิศตรงข้ ำม หรื อไหลขวำงทิศ
ทำงกำรไหลของอำกำศก็ได้ ตำมแต่จะออกแบบ รูปที่ 3 แสดงลักษณะของ Wet Scrubber ในที่มีกำรไหลของก๊ ำซสวนทำงกับ
นำ้ พรมในแนวตัง้ ซึ่ งเป็ น รู ป แบบที่ มีก ำรใช้ งำนอย่ำงแพร่ ห ลำย เนื่ อ งจำก spray tower อำศัยพฤติก รรมกำรดูดซับแบบ
Impaction เป็ นหลัก จึงสำมำรถดักจับอนุภำคที่มีขนำดใหญ่ได้ ดี โดยทัว่ ไป spray tower มีประสิทธิภำพในกำรดักจับอนุภำคที่
มีขนำดใหญ่ กว่ำ 5 micron ได้ กว่ำ 90% สำหรับอนุภ ำคที่มีขนำด 3 ถึง 5 micron สำมำรถดักจับได้ ประมำณ 60 ถึง 80%
สำมำรถดักจับอนุภำคที่มีขนำดน้ อยกว่ำ 3 micron ได้ ต่ำกว่ำ 50%

6
-
รูปที่ 3 โครงสร้ ำงของ Spray Tower แบบตัง้

- Cyclonic Spray Tower ต่ำงจำก Spray tower เพียงแค่ก๊ำซที่มีอนุภำคแขวนลอยไหลเข้ ำสูห่ อพรมน ้ำแบบ
cyclonic motion โดยกำรติดตังให้ ้ ทำงเข้ ำของก๊ ำซอยู่ในแนวสัมผัสของถังดังรูปที่ 4 ในขณะที่กำรพรมน ้ำสำมำรถกระทำโดย
กำรติดตังที
้ ่ผนังของท่อกลำงดังรูป หรื อติดตังที
้ ่สว่ นบนของหอพรมน ้ำแบบ turning vane ซึ่งแรงเหวี่ยงหนีศนู ย์กลำงที่เกิดขึ ้น
จำกกำรเคลื่อนที่ของอำกำศจะส่งผลให้ หยดน ้ำถูกเหวี่ยงออกไปติดผนังทำให้ สำมำรถดักน ้ำออกทำงส่วนล่ำงของหอพรมได้
โดยง่ำย ส่วนหยดน ้ำที่ยงั แขวนลอยอยู่ในก๊ ำซก็จะถูกดักจับด้ วย mist eliminator กำรทำงำนโดยอำศัย cyclonic motion ของ
ก๊ ำซส่งผลให้ สำมำรถดักจับอนุภำคที่มีขนำดเกินกว่ำ 5 micron ได้ กว่ำ 95% และสำมำรถดักจับอนุภำคในระดับ submicron
ได้ ระหว่ำง 60 ถึง 75% ระบบแบบนี ้สำมำรถรองรับอัตรำกำรไหลของก๊ ำซที่ 1,500 ถึง 100,000 scfm โดยมีอตั รำควำม
ต้ องกำรกำลังงำนอยู่ที่ 1 ถึง 3.5 แรงม้ ำต่ออัตรำกำรไหล 1,000 scfm

7
รูปที่ 4 โครงสร้ ำงของ Cyclonic Spray Tower

- Dynamic Scrubber มี ลักษณะคล้ ำ ยหอพรมน ำ้ แบบ Spray Tower มำกที่ สุด หำกแต่มี ก ำรติด ตัง้ ชุด
Rotor เพื่อหมุนตัดละอองของหยดน ้ำพรมให้ มีขนำดละเอียดขึ ้น และอำศัย Mist eliminator และ Cyclonic Separator ในกำร
แยกและดักจับอนุภำคแขวนลอยในก๊ ำซ ปั ญ หำที่ พบโดยส่วนใหญ่ คือ กำรสึกหรอของชุดใบหมุนตัดละอองหยดนำ้ พรม
เนื่องจำกสำรแขวนลอยที่มีอนุภำคใหญ่ จึงมักมีกำรใช้ ร่วมกับ Cyclone อยู่เสมอเพื่อดักจับอนุภำคขนำดใหญ่ที่อำจทำควำม
เสียหำยต่อชุดใบหมุนตัด ระบบดักจับฝุ่ นละอองแบบนี ้สำมำรถรองรับอัตรำกำรไหลของก๊ ำซที่ 1,000 ถึง 50,000 scfm และ
อัตรำควำมต้ องกำรกำลังงำนอยู่ที่ 4 ถึง 10 kW ต่ออัตรำกำรไหลของก๊ ำซ 1,000 scfm ซึ่งถือว่ำเป็ นอัตรำกำลังงำนที่สงู มำก
- Tray Towers จะมีองค์ประกอบเป็ น หอพรมแนวดิ่งที่มีกำรติดตัง้ perforated tray ในแนวระนำบขวำงกำร
ไหลของก๊ ำซที่มีอนุภำคแขวนลอยอยู่หลำยชัน้ ก๊ ำซจะเข้ ำสูห่ อพรมจำกส่วนล่ำงของหอพรมและไหลผ่ำนชุด perforated tray
ในขณะที่มีกำรพรมน ้ำจำกด้ ำนบนของ tray และไหลผ่ำนแต่ละชัน้ ของ tray โดยควำมเร็ วของก๊ ำซจะทำหน้ ำที่ป้องกันไม่ไห้
ละอองน ้ำไหลผ่ำนควำมพรุนของชัน้ tray จำกนัน้ impingement plate จะถูกฉีดล้ ำงตลอดเวลำเพื่อทำควำมสะอำดและชะล้ ำง
อนุภำคที่ถูกดักจับไว้ กำรออกแบบในรูปแบบนี ้ทำให้ ระบบสำมำรถทำควำมสะอำดได้ ง่ำยอยู่ตลอดเวลำ หำกแต่อนุภำคขนำด
เล็กอำจก่อให้ เกิดกำรอุดตันภำยในรูพรุนของ tray จึงเหมำะสำหรับใช้ ในกำรดักจับอนุภำคที่มีขนำดเกินกว่ำ 5 micron เท่ำนัน้
โดยสำมำรถให้ ประสิทธิภำพกำรดักฝุ่ นถึง 97% สำมำรถรองรับอัตรำกำรไหลที่ 1,000 ถีง 75,000 scfm
- Venturi Scrubbers จะประกอบด้ วยช่องทำงกำรไหลของก๊ ำซที่มีลกั ษณะเป็ น converging และ diverging
เพื่อสร้ ำงควำมเร็วและควำมปั่นป่ วนของกำรไหล หยดนำ้ ละเอียดจะถูกพ่นเข้ ำที่บริ เวณแคบสุด หรื อเหนือบริเวณส่วนแคบสุด

8
เล็กน้ อยเพื่อก่อให้ เกิดกำรผสมกันกับอนุภำคฝุ่ น ดังรูปที่ 5 จำกนันกำรไหลแบบ
้ cyclonic motion ภำยในหอแยกจะทำหน้ ำที่
แยกอนุภำคของเหลวและของแข็งออกจำกก๊ ำซ Wet Scrubber แบบนี ้มีต้องกำรเงินลงทุนและอัตรำควำมต้ องกำรกำลังงำนที่
สูงกว่ำแบบอื่ นๆ ที่ กล่ำวมำแล้ วก่อ นหน้ ำนี ้ หำกแต่สำมำรถให้ ประสิทธิภ ำพกำรดักจับอนุภ ำคที่ มีขนำดเล็กได้ ดี โดยที่ มี
ประสิทธิภำพกำรดักจับฝุ่ นละอองที่มีขนำดเส้ นผ่ำนศูนย์กลำงเกินกว่ำ 1 micron อยู่ถึง 70% ถึง 99% และสำมำรถดักจับฝุ่ น
ที่มีขนำดในระดับ submicron ได้ มำกกว่ำ 50%

-
รูปที่ 5 ลักษณะทำงโครงสร้ ำงของ Wet Scrubber แบบ Venturi

- Orifice Scrubbers หรื อ เรี ยกอีกชื่อ หนึ่งว่ำ impaction scrubber โดยที่ gas stream ไหลผ่ำนพืน้ ผิวของ
อ่ำงที่บรรจุของเหลวที่ใช้ ในกำรดูดซับอนุภำค ละอองไอนำ้ จะติดไปกับ gas stream และไหลผ่ำน orifice เพื่อเพิ่มควำมเป็ น
turbulence และเพิ่มควำมละเอียดของหยดน ้ำ จำกนัน้ baffle หลำยชัน้ จะทำหน้ ำที่ดกั จับละอองนำ้ และฝุ่ นละอองที่รวมตัว
กับละอองน ้ำ ระบบรูปแบบนี ้สำมำรถรองรับอัตรำกำรไหลของก๊ ำซไม่เกิน 50,000 scfm และควำมหนำแน่นของอนุภำคไม่เกิน
23 กรัมต่อลูกบำศก์เมตร ระบบดังกล่ำวสำมำรถดักจับอนุภำคแขวนลอยที่มีขนำดใหญ่กว่ำ 2 micron ได้ กว่ำ 80% ถึง 99%
ภำยใต้ สภำวะควบคุม
- Packed Tower Scrubbers มักใช้ ในกำรดักจับไอของสำรละลำยที่มีฤทธิ์เป็ นกรด โดยกำรบรรจุวสั ดุ
ของแข็ง เช่น อะลูมนิ ำ เพื่อเพิม่ พื ้นที่สมั ผัสระหว่ำงของก๊ ำซและของเหลวดูดซับ ของเหลวจะถูกพรมจำกด้ ำนบนและไหลสวน

9
ทำงกับก๊ ำซ ระบบแบบนี ้ก่อให้ เกิดควำมดันตกคร่อมที่สงู และอำจมีกำรอุดตันได้ ง่ำย จึงนิยมใช้ ในกระบวนกำร gas
adsorption เท่ำนัน้
- Condensation Scrubbers จะอำศัยฝุ่ นละอองทำหน้ ำที่เป็ นแกนของกำรควบแน่นของหยดน ้ำ โดยจะทำ
ให้ ก๊ำซที่ไหลเข้ ำสู่ scrubber มีภำวะอิ่มตัวด้ วยไอนำ้ กำรฉีดนำ้ เพิ่มเติมก็จะส่งผลให้ เกิดกำรควบแน่นรอบๆอนุภำคแขวนลอย
ซึ่งวิธีกำรนี ส้ ำมำรถดักจับฝุ่ นที่ มี ขนำดเล็กได้ ดี โดยมีประสิทธิภ ำพกำรกำจัดฝุ่ นถึง 99% หำกแต่ไม่สำมำรถใช้ กับก๊ ำซที่ มี
ปริ มำณฝุ่ นแขวนลอยเป็ นจ ำนวนมำกได้ จึงมักใช้ ร่วมกับ scrubber แบบอื่ นที่ สำมำรถกำจัดอนุภ ำคที่ มีขนำดใหญ่ กว่ำ 1
micron ออกเสียก่อน
- Charged Scrubbers เป็ นกำรให้ ประจุแก่หยดน ้ำ อนุภำค หรื อทังหยดน
้ ้ำและอนุภำค ก่อนที่จะไหลเข้ ำสู่
scrubber โดยลักษณะทำงโครงสร้ ำงทัว่ ไปจะใช้ หอพรมแบบปกติโดยทัว่ ไป เช่น กำรประยุกต์ใช้ ใน Spray tower ก็จะสำมำรถ
เพิม่ ประสิทธิภำพกำรดักจับฝุ่ นได้

10
การกรอง (Filtration)
จำกตัวอย่ำงผังโครงสร้ ำงของระบบ Air Inlet Filter ของโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้ อนร่ วมพระนครใต้ ชุดที่ 3 ดังรูปที่ 6 ซึ่ง
แสดงให้ เห็ น ถึ ง กำรจัด วำง Air Filter เพี ย งสำมชัน้ คื อ Coalescer filter, Prefilter และ High Efficiency filter และผลกำร
ตรวจวัดระดับควำมดันตกคร่ อม ณ ปั จ จุบันของ High Efficiency filter ดังรู ปที่ 7 ซึ่งกำรจัดวำง filter ในลักษณะดังกล่ำว
สำมำรถปรั บปรุงเพื่อเพิ่มชัน้ filter ได้ ดังรู ปที่ 8 อย่ำงไรก็ตำมกำรดำเนินกำรปรับปรุง filter ไม่ว่ำจะเป็ นด้ วยกำรเพิ่มควำม
ละเอียดของกรอง หรื อ กำรเพิ่มจำนวนชัน้ ของ filter ถึงแม้ จ ะลดปั ญ หำกำรเกิด fouling ที่ compressor turbine blade ของ
กังหันก๊ ำซได้ แต่จะก่อให้ เกิดปั ญหำเนื่องจำกกำรเพิ่มขึ ้นของควำมดันตกคร่ อม และกำรลดลงของควำมสำมำรถในกำรประจุ
อำกำศ จนอำจยังผลให้ เกิดกำรลดลงของกำลังกำรผลิตของกังหันก๊ ำซ

รูปที่ 6 ผังกำรวำงและกำรติดตัง้ filter ของเครื่ องยนต์กงั หันก๊ ำซโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้ อนร่วมพระนครใต้ ชดุ ที่ 3

รูปที่ 7 ระดับควำมดันตกคร่อมของ High Efficiency filterในช่วงเดือนต่ำงๆ

11
รูปที่ 8 ลักษณะกำรจัดวำง filter ในงำนประเภทต่ำงๆ

จำกคำแนะนำในกำรออกแบบระบบกรองอำกำศสำหรับทำงเข้ ำของเครื่ องยนต์กังหันก๊ ำซใน guideline ที่นำเสนอโดย


Wilcox M. และคณะ ได้ กล่ำวถึงควำมสำคัญ ของกำรออกแบบ filter ซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อ กำรเกิด fouling, erosion และ
corrosion ของกังหันก๊ ำซโดยตรง กำรออกแบบระบบกรองอำกำศจึ งมีควำมสำคัญ อย่ำงมำกในกำรดักละอองทัง้ ที่มีสถำนะ
เป็ นของแข็งและของเหลว เพื่อป้อ งกันไม่ให้ เกิดควำมเสียหำยและลดกำรเสื่อ มสภำพของเครื่ อ งยนต์กังหันก๊ ำซ ดังนัน้ กำร
ออกแบบระบบกรองอำกำศสำหรับเครื่ องยนต์กังหันก๊ ำซจึงต้ องคำนึงถึงสภำพและคุณลักษณะของอำกำศและฝุ่ นละอองจำก

12
บริ เวณโดยรอบ เพื่อระบุเทคโนโลยีและประเภทของกำรกรองที่เลือกใช้ งำนได้ อย่ำงถูกต้ องเหมำะสมกับสภำพอำกำศและฝุ่ น
ละอองโดยรอบ ประเภทของ filter ที่มีให้ เลือกใช้ โดยทัว่ ไป ได้ แก่

- Weather Protection และ Trash Screens


- Inertial Separator
- Moisture Coalescers
- Prefilters
- High Efficiency Filters
- Self-Cleaning Filters
- Oil Bath Filters

โดยควำมละเอียดของ filter สำมำรถเลือกใช้ ตำมคำแนะนำในตำรำงที่ 1 สำหรับโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้ อนร่วมพระนคร


ใต้ ชุดที่ 3 ได้ ทำกำรติดตังระบบกรองอำกำศสำมชั
้ นโดยติ
้ ดตัง้ Moisture-Coalescers Prefilters และ High Efficiency Filter
(หรื อ final filter) ซึ่งลักษณะของกำรติดตังเป็
้ นไปตำมรูปที่ 9 ซึ่งกรองอำกำศทัง้ สำมแบบจะถูกติดตังด้
้ ำนหลังของฉำกกันฝน
(Louver) ดังรูป อย่ำงไรก็ตำมระบบดังกล่ำวก็ยังคงก่อให้ เกิดปั ญหำของกำร fouling บน compressor blade ดังรูปที่ 10 ยัง
ผลโดยตรงต่อประสิทธิภำพของ compressor ประสิทธิภำพของเครื่ องยนต์กังหันก๊ ำซ และประสิทธิภำพโดยรวมของระบบ
ผลิตกระแสไฟฟ้ำ

รูปที่ 9 รูปแบบกำรติดตัง้ Gas turbine inlet filters [1]

13
รูปที่ 10 ลักษณะกำรเกิด fouling บน blade ของ compressor อันเนื่องมำจำกครำบน ้ำมันและอนุภำคคำร์ บอน

14
ตารางที่ 1 ประเภทของ filter และลักษณะกำรเลือกใช้ งำน

15

You might also like