You are on page 1of 16

ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด

1. ข้อดีของแอนนิโมมิเตอร์แบบเส้นลวดความร้อน (hot-wire anemometer)

ก. การตอบสนองได้ดีดีในระระบบพลวัตรสูง

ข. ทนไม่แตกหักง่าย

ค. ทางานได้แม้ระบบมีฝนละออง
ุ่

ง. ราคาถูก

2. หลักการของแอนนิโมมิเตอร์แบบเส้นลวดความร้อน (hot-wire anemometer)

ก. สูญเสี ยความร้อนของเส้นลวดที่ได้รับความร้อนเมื่อมีลมผ่านเส้น ลวดความร้อนจะเย็นตัวลง โดยอัตราการ


เปลี่ยนแปลงความร้อนที่เกิดขึ้นที่เส้นลวดเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับอัตราเร็ วของลมที่เคลื่อนที่ผา่ นตัววัด

ข. การวัดอัตราการไหลที่ใช้ลกั ษณะของการวัดอัตราการไหลของ ปริ มาตร

ค. การไหลเชิ งมวลโดยเมื่อมีมวลไหลผ่านท่อโค้งท่อจะเกิดการบิดตัว แรงบิดตัว (Coriolis force)

หรื อแรงโคริ โอลิสที่เกิดขึ้นนี้ แปรผันตรงกับปริ มาณการไหลของของไหลที่ไหล

ง. วัดค่าความเร็ วเฉลี่ยผ่านเส้นทางของคลื่นที่ปล่อยออกมาจากทรานดิวเซอร์โดยหาค่าความแตกต่างของเวลา
ในการเดินทางของคลื่นที่สงผ่านตามทิศทางการไหลและทิศตรงกันข้ามการไหล

3. ข้อดีของโรตามิเตอร์

ก. สามารถรักษาค่าแรงดันตกคร่ อม

ข. ทนไม่แตกหักง่าย

ค. ทางานได้แม้ระบบมีฝนละออง
ุ่

ง. การตอบสนองได้ดีดีในระระบบพลวัตรสูง
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

4. หลักการทางานของโรตามิเตอร์

ก. อ่านค่าการไหลผ่านสเกลบนตัวท่อใส

ข. ออกแบบทางกลโดยนามาทดแทนการวัดอัตราการไหลโดยใช้ปริ มาตรเทียบกับเวลา

ค. การเคลื่อนที่เป็ นจังหวะ ซึ่ งในแต่ละจังหวะจะทาให้เกิดอัตราการไหลแบบปริ มาตรที่มีค่าแน่นอน และในแต่


ละจังหวะที่ทางานนั้นจะทาให้เกิดสัญญาณพัลส์ เพื่อใช้ ในการนับปริ มาตรของการไหล

ง. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็ก

5. เครื่ องมือวัดการไหลแบบเทอร์ไบน์ (turbine flow meter) ใบพัดต้องทาจากวัสดุแบบใด

ก. มีสมบัติเป็ นสารแม่เหล็ก

ข. มีสมบัติเป็ นทางไฟฟ้า

ค. มีสมบัติเป็ นพลาสติก

ง. มีสมบัติเป็ นตัวเหนี่ยวนา

6. หลักการทางานขอเครื่ องมือวัดการไหลแบบสนามแม่เหล็ก (electromagnetic flow meter)

ก. อ่านค่าการไหลผ่านสเกลบนตัวท่อใส

ข. วัดอัตราการไหลโดยใช้ปริ มาตรเทียบกับเวลา

ค. การเคลื่อนที่เป็ นจังหวะซึ่ งในแต่ละจังหวะจะทาให้เกิดอัตราการไหลแบบปริ มาตรที่มีค่าแน่นอนและในแต่


ละจังหวะที่ทางานนั้นจะทาให้เกิดสัญญาณพัลส์ เพื่อใช้ ในการนับปริ มาตรของการไหล

ง. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิด

แรงดันไฟฟ้ าขึ้นในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

7. หลักการทางานของเครื่ องมือวัดการไหลแบบเทอร์ไบน์ (turbine flow meter)

ก. ความเร็วรอบที่ใบพัดหมุนแปรผันตรงกับความเร็ วที่ของไหลไหลผ่านความเร็วที่ใบพัดหมุนสามารถวัดได้
ด้วยแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่ได้จากคอล์ยตรวจจับแม่เหล็ก

ข. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิด

แรงดันไฟฟ้ าขึ้นในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก

ค. วัดอัตราการไหลโดยใช้ปริ มาตรเทียบกับเวลา

ง. หลักการแทนที่ซ่ ึ งเป็ นการวัดอัตราการไหแบบต่อเนื่ องโดยอาศยการออกแบบทางกล

8. โรตามิเตอร์ใช้งานได้ทวั่ ไปความไม่แน่นอนของระบบเท่าไร

ก. ±2%

ข. ±5%

ค. ±10%

ง. ±15%

9. แอนนิโมมิเตอร์แบบเส้นลวดความร้อนชนิดควบคุมกระแสไฟฟ้าคงที่

ก. ส่ งผลให้ค่าความต้านทานภายในเส้นลวดมีค่าลดลง

ข. ส่ งผลให้อุณหภูมิภายในเส้นลวดมีค่าเพิ่มขึ้น

ค. ส่ งผลให้ค่าความต้านทานภายในเส้นลวดมีค่าเพิ่มขึ้น

ง. ส่ งผลให้อุณหภูมิภายในเส้นลวดมีค่าคงที่
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

10. คลื่นอัลตราโซนิกเป็ นคลื่นเสี ยงชนิ ดหนึ่ งที่มีความถี่สูงกว่าช่วงที่มนุษย์ได้ยินมีความถี่ที่มากกว่ากี่ kHz

ก. 5

ข. 10

ค. 15

ง. 20

11.หลักการทางานของเครื่ องมือวัดแบบโคริ โอลิส

ก. เมื่อของไหลไหลผ่านท่ออ่อนรู ปตัวยูของไหลที่อยู่ภายในท่อจะพยายามรักษาทิศทางการเคลื่อนที่ให้อยู่ใน
แนวแรง เมื่อท่อได้รับการกระตุน้ ด้วยตัวกาเนิดการสัน่ ทาให้ท่อแกว่งในแนวระนาบจากการที่ท่อพยายาม
รักษาแนวแรงจึงส่ งผลให้ท่อเกิดการแกว่งตัวแบบคลื่นไซน์

ข. ความเร็วรอบที่ใบพัดหมุนแปรผันตรงกับความเร็ วที่ของไหลไหลผ่านความเร็วที่ใบพัดหมุนสามารถวัดได้
ด้วยแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่ได้จากคอล์ยตรวจจับแม่เหล็ก

ค. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิด

แรงดันไฟฟ้ าขึ้นในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก

ง. วัดอัตราการไหลโดยใช้ปริ มาตรเทียบกับเวลา

12. เครื่ องมือวัดแบบโคริ โอลิสมีความเที่ยงตรงของระบบเท่าไร

ก. ±0.1%

ข. ±0.5%

ค. ±1.0%

ง. ±5.0%
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

13. หลักการทางานเครื่ องมือวัดการไหลแบบอัลตร้าโซนิคแบบ Doppler

ก. การสะท้อนกลับของคลื่นความถี่เหนือเสี ยงเมื่อส่ งไปกระทบกับอนุภาคของสารที่ปะปนมากับของเหลว

ข. การไหลเชิ งมวลโดยเมื่อมีมวลไหลผ่านท่อโค้งท่อจะเกิดการบิดตัว แรงบิดตัว (Coriolis force)

หรื อแรงโคริ โอลิสที่เกิดขึ้นนี้ แปรผันตรงกับปริ มาณการไหลของของไหลที่ไหล

ค. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิด

แรงดันไฟฟ้ าขึ้นในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก

ง. หลักการแทนที่ซ่ ึ งเป็ นการวัดอัตราการไหแบบต่อเนื่ องโดยอาศยการออกแบบทางกล

14. หลักการทางานของเครื่ องมือวัดการไหลแบบ Positive Displacement Flow

ก. การสะท้อนกลับของคลื่นความถี่เหนือเสี ยงเมื่อส่ งไปกระทบกับอนุภาคของสารที่ปะปนมากับของเหลว


ข. การไหลเชิ งมวลโดยเมื่อมีมวลไหลผ่านท่อโค้งท่อจะเกิดการบิดตัว แรงบิดตัว (Coriolis force)
หรื อแรงโคริ โอลิสที่เกิดขึ้นนี้ แปรผันตรงกับปริ มาณการไหลของของไหลที่ไหล
ค. หลักการเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นจากสนามแม่เหล็กเมื่อของเหลวที่เป็ นตัวนาไฟฟ้าไหลผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิด
แรงดันไฟฟ้ าขึ้นในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ก
ง. การทางานในลักษณะของการเคลื่อนที่เป็ นจังหวะซึ่ งในแต่ละจังหวะจะทาให้เกิดอัตราการไหลแบบ
ปริ มาตรที่ มีค่าแน่นอนและในแต่ละจังหวะที่ทางานนั้นจะทาให้เกิดสัญญาณพัลส์ เพื่อใช้ในการนับปริ มาตร
ของการไหล

15. หลักการทางานเครื่ องมือวัดการไหลแบบวอร์เทกซมิเตอร์ Vortex meter

ก. การสะท้อนกลับของคลื่นความถี่เหนือเสี ยง

ข. การไหลเชิ งมวลโดยเมื่อมีมวลไหลผ่านท่อโค้งท่อจะเกิดการบิดตัว

ค. วัตถุขวางการไหลสร้างกระแสวนเอ็ดดี้

ง. จังหวะที่ทางานนั้นจะทาให้เกิดสัญญาณพัลส์ เพื่อใช้ในการนับปริ มาตรของการไหล


ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

16. คาวิเตชัน่ (Cavitation) เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดการกัดกร่ อนเนื้ อโลหะของใบพัดหรื อห้องสู บโดยมีสาเหตุมาจาก

ก. การที่ NPSH ที่มีอยูจ่ ริ งมีค่าต่ากว่า NPSH ที่ตอ้ งการสาหรับปั๊ม

ข. ความดันในท่อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุ นแรง

ค. ความดันสูญเสี ยในท่อลมและท่อน้ า

ง. ท่อขนาดเล็กกว่าแรงดัน

17. วอเตอร์แฮมเมอร์ (Water Hummer) เป็ นปรากฎการณ์อย่างไร

ก. ความดันในท่อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุ นแรงและฉับพลัน

ข. ความดันสูญเสี ยในท่อลมและท่อน้ า

ค. การระเบิดของฟองอากาศ

ง. การที่ NPSH ที่มีอยูจ่ ริ งมีค่าต่ากว่า NPSH ที่ตอ้ งการสาหรับปั๊ม

18. ข้อใดไม่เป็ นเครื่ องเป็ นอัดอากาศประเภทไดนามิคส์ (Dynamics)

ก. Centrifugal Compressor
ข. Turbo compressor
ค. Axial compressors
ง. Rotary compressors

19. ข้อใดไม่ใช่เครื่ องอัดอากาศประเภทปริ มาตรแทนที่เชิ งบวก

ก. เครื่ องอัดอากาศแบบลูกสูบ (Reciprocating compressors)

ข. เครื่ องอัดอากาศแบบโรตารี่ (Rotary compressors)

ค. เครื่ องอัดอากาศแบบสองใบพัด (Root compressors)

ง. เครื่ องอัดอากาศแบบ radial Compressor


ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

20. เครื่ องอัดลมหรื อปั๊ มลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)

ก. ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวดูดอากาศ

ข. เคลื่อนที่ผลักดันของโรเตอร์ในลักษณะการแทนที่ของอากาศ

ค. ใช้แผ่นกวาดเลื่อนเข้าและเลื่อนออกในแนวรัศมี

ง. ของเหลวเป็ นสารทางานซึ่ งจะทาหน้าที่คล้ายกับเป็ นลูกสู บในการอัดอากาศให้มีความดันสู งขึ้น

21.เครื่ องอัดอากาศแบบลูกสู บสวนใหญ่ที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมมักมีขนาดกี่แรงม้า

ก. 1-5

ข. 3-8

ค. 5-10

ง. 5-15

22. หลักการของเครื่ องอัดอากาศแบบโรตารี่ (Rotary compressors)

ก. ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวดูดอากาศ

ข. เคลื่อนที่ผลักดันของโรเตอร์ในลักษณะการแทนที่ของอากาศ

ค. ใช้แผ่นกวาดเลื่อนเข้าและเลื่อนออกในแนวรัศมี

ง. ของเหลวเป็ นสารทางานซึ่ งจะทาหน้าที่คล้ายกับเป็ นลูกสู บในการอัดอากาศให้มีความดันสู งขึ้น


ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

23.แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง (Centrifugal pump) ปั๊มประเภทนี้นิยมใช้อย่างแพร่ หลายในการสู บน้ า สารหล่อลื่น


สารละลายเคมี วัสดุทาการเกษตรที่ใช้ในการแปรรู ป มีประสทธิภาพในการสูบสู งกี่เปอร์ เซ็น

ก. 60
ข. 75
ค. 80
ง. 90

24. แรงยก (Lift force)


ก. แรงยกเป็ นแรงกระทาขนานกับทิศทางของกระแสอากาศหรื อของไหลที่ไหลผ่านวัตถุเป็ นแรงที่มีทิศตรง
ข้ามกับแรงโน้มถ่วงหรื อน้ าหนักวัตถุน้ นั ๆ
ข. แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรื อทิศทางตรงข้ามกับแรงที่พยายามจะทาให้วตั ถุเกิดการเคลื่อนที่เกิดขึ้น
ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นกระแสอากาศ
ค. แรงยกเป็ นแรงกระทาตั้งฉากกับทิศทางของกระแสอากาศหรื อของไหลที่ไหลผ่านวัตถุเป็ น
แรงที่มีทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงหรื อน้ าหนักวัตถุน้ นั ๆ
ง. แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรื อทิศทางเดียวกันกับแรงที่พยายามจะทาให้วตั ถุเกิดการเคลื่อนที่เกิดขึ้น
ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นกระแสอากาศ

25. แรงต้านคือ

ก. แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรื อทิศทางตรงข้ามกับแรงที่พยายามจะทาให้วตั ถุเกิดการเคลื่อนที่เกิดขึ้นขณะทีว่ ตั ถุ


เคลื่อนที่ผา่ นกระแสอากาศ

ข. แรงยกเป็ นแรงกระทาตั้งฉากกับทิศทางของกระแสอากาศหรื อของไหลที่ไหลผ่านวัตถุเป็ น

แรงที่มีทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงหรื อน้ าหนักวัตถุน้ นั ๆ

ค. แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรื อทิศทางเดียวกันกับแรงที่พยายามจะทาให้วตั ถุเกิดการเคลื่อนที่เกิดขึ้นขณะที่วตั ถุ


เคลื่อนที่ผา่ นกระแสอากาศ

ง. แรงยกเป็ นแรงกระทาขนานกับทิศทางของกระแสอากาศหรื อของไหลที่ไหลผ่านวัตถุเป็ น

แรงที่มีทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงหรื อน้ าหนักวัตถุน้ นั ๆ


ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

26. หลักการของเครื่ องมือวัดการไหลแบบอัลตร้าโซนิค (Ultrasonic flow meter) แบบ Counter propagating


ก. การสะท้อนกลับของคลื่นความถี่เหนือเสี ยงเมื่อส่ งไปกระทบกับอนุภาคของสารที่ปะปนมากับของเหลว

ข. วัตถุขวางการไหลสร้างกระแสวนเอ็ดดี้

ค. ความแตกต่างของความเร็วในการเดินทางของคลื่นความถี่เหนือเสี ยง
ง. การไหลเชิ งมวลโดยเมื่อมีมวลไหลผ่านท่อโค้งท่อจะเกิดการบิดตัว แรงบิดตัว (Coriolis force)

27. เครื่ องมือวัดแบบโคริ โอลิสใช้สาหรับวัดการไหลเชิงมวล ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้สาหรับการวัดอะไร


ก. ความหนาแน่น
ข. ความดัน
ค. พื้นที่
ง. ความหนืด

28. Rotameter จะเหมาะสาหรับการใช้งานวัดอัตราการไหลตั้งแต่


ก. 0.0002 - 4000 l/min
ข. 0.002 - 4000 l/min
ค. 0.0002 - 1000 l/min
ง. 0.02 - 400 l/min

29. ข้อใดคือส่ วนประกอบของแพนอากาศมีเสนกลางความโก่งตัว คือเส้นสมมุติที่ลากแบ่งครึ่ งผิวปี กบน และผิวปี ก


ล่างของแพนอากาศออกเป็ นสองส่ วนเท่า ๆ กัน
ก. ชายหน้า (leading edge)
ข. เส้นแคมเบอร์ (mean camber line)
ค. ชายหลัง (trailing edge)
ง. เส้นคอร์ด (chord line)
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

30. ค่าพารามิเตอร์ใดที่มีมิติที่ใช้ในการอธิบายลักษณะความเร็วของเครื่ องจักรกลเทอร์โบ (turbomachinery) เป็ นค่า


ของมิติดา้ นปฏิบตั ิเดียวกันที่ใช้อา้ งอิงทั้งในเชิ งพาณิ ชย์ และอุตสาหกรรม
ก. กาลังไฟฟ้า
ข. ความดัน
ค. แรงม้า
ง. ความเร็วจาเพาะ

31. ปั๊มนั้นได้รับการออกแบบติดตั้งให้มี NPSH สู งกว่าที่ตอ้ งการ ช่วยแก้ปัญหาใด


ก. คาวิเตชัน่
ข. วอเตอร์แฮมเมอร์
ค. แรงดันไม่เพียงพอ
ง. ความเร็วจาเพาะน้อย

32. ปั๊มพิเศษแบบ Intermediate Temperature ใช้ในการขับดันของไหลซึ่ งมีอุณหภูมิสูงประมาณกี่องศาเซลเซี ยส


ก. 100
ข. 200
ค. 300
ง. 400

33. ปั๊มใดเหมาะกับการใช้กบั งานสู บน้ าบาดาลที่มีความลึกมาก ๆ


ก. ปั๊มพิเศษแบบ Vertical turbine
ข. ปั๊มพิเศษแบบ Intermediate Temperature
ค. ปั๊มพิเศษแบบ Cantilever
ง. ปั๊มพิเศษแบบ Turbo
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

34. ภายในปั๊มโรตารี่ แบบเกลียวเป็ น


ก. vane
ข. น้ ามันไฮดรอลิกส์
ค. ไดอะแฟรม
ง. Screw

35. ปั๊มแบบโรตารี่ (Rotary pumps) มีประสิ ทธิ ภาพประมาณ


ก. 70 -75 %
ข. 70 -85 %
ค. 80 -55 %
ง. 80 - 90 %

36. ส่ วนที่ทาหน้าที่ในการเปลี่ยนเฮดความเร็ว (Velocity head) ให้อยู่ในรู ปความดันสถิต (Static pressure)


ก. แผ่นกวาด
ข. น้ ามันไฮดรอลิกส์
ค. ไดอะแฟรม
ง. โรเตอร์

37. ข้อใดเป็ นปั๊ มแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal pump)


ก. Power pumps
ข. Rotary pumps
ค. Double suction pump
ง. Reciprocating pumps
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

38. ข้อใดเป็ นปั๊ มประเภทที่ ให้น้ าเข้าไปแทนที่อยู่ในปริ มาตรในเรื อนปั๊ มอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งจะสามารถให้อตั ราการไหล
ของน้ าที่คงที่
ก. Regenerative pumps
ข. End suction pumps
ค. Reciprocating pumps
ง. Vertical multistage pump

39. โลปปั๊ ม Two–impeller straight–lobe ทาจากวัสดุประเภทใด


ก. เหล็ก
ข. สแตนเลส 201
ค. สแตนเลส 316L
ง. สแตนเลส 401

40. หลักการทางานของ Helical or Spiral lobe


ก. เพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมียทั้งสองตัวเป็ นสกรู ที่มีทิศทางการหมุนเข้าหากัน ทาให้อากาศจากภายนอกถูกดูด
และอัดส่งไปรอบๆ
ข. หลักการทางด้านพลศาสตร์ ทางานด้วยการเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็ นความดัน
ค. ใบพัดกังหันดูดอากาศมาจากอีกด้านหนึ่ง ด้วยความเร็วสู ง และสงออกไปอีกด้านหนึ่ ง
ง. ใช้แผ่นกวาดเลื่อนเข้า และเลื่อนออกในแนวรัศมีใบกวาดอากาศจะบีบอากาศให้ปริ มาตรลดลงและทาให้
ความดันเพิ่มสู งขึ้น
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

41. ปรากฏการณ์ใดที่เกิดขึ้นเมื่ออากาศที่ไหลผ่านเหนื อแพนอากาศเกิดการแยกตัวออกจากพื้นผิวและก่อให้เกิดลม


หมุนขึ้น เกิดแรงลากมากขึ้น ถ้าเกิดปรากฏการณ์เชนนี้ กบั เครื่ องบินเป็ นภาวะที่เป็ นอันตรายสูงสุดเพราะเป็ นสาเหตุ
ให้เครื่ องบินตกได้
ก. การสูญเสี ยแรงยก
ข. การสูญเสี ยแรงต้าน
ค. การเพิ่มขึ้นของแรงยก
ง. การเพิ่มขึ้นของแรงต้าน

42. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับลูกกอล์ฟจึงมีหลุมเล็ก ๆ
ก. สร้างการไหลปั่ นป่ วน (turbulent flow) รอบ ๆ ลูกกอล์ฟ
ข. ช่วยเพิ่มแรงยกนี้ มากขึ้นกว่าเดิม
ค. การเพิ่มขึ้นของพื้นที่แรงเสี ยดต้าน
ง. เพิ่มพื้นที่ wakeโซนที่ความดันต่า (low pressure zone)

43. รถคันใดเคลื่อนที่ได้เร็ วที่สุดเมื่อมีมวลเท่ากัน


ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

44. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเครื่ องอัดอากาศแบบลูกสู บและสกรู


ก. เครื่ องอัดอากาศแบบสกรู มีขนาดกระทัดรัดกว่าแบบลูกสูบ
ข. เครื่ องอัดอากาศแบบลูกมีการสั่นสะเทือนมากกว่าแบบสกรู
ค. เครื่ องอัดอากาศแบบลูกมีชิ้นส่ วนสึ กหรอมากกว่าแบบสกรู
ง. เครื่ องอัดอากาศแบบลูกมีเสี ยงดังมากกว่าแบบสกรู

45. เครื่ องอัดอากาศประเภทใดเป็ นแบบสองใบพัด


ก. Ejector
ข. Vane
ค. Air jet
ง. roots

46. หลักการทางานของเครื่ องอัดอากาศแบบกังหัน (Radial and Axial Flow Air Compressor)


ก. กังหันใบพัดโรเตอร์หมุนด้วยความเร็วสู ง อากาศจะถูกดูดผ่านเข้าในชองทางลมเข้า และอากาศจะถูกอัดและ
ถูกสงต่อไปยังอีกด้านหนึ่ ง ในช่องทางลมออก โดยไหลไปตามใบพัดและแกนเพลา
ข. หลักการทางด้านพลศาสตร์ ทางานด้วยการเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็ นความดัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ
อัดจะถูกเหวี่ยงตัวออกไปในแนวรัศมีลมดูดจะเข้าสู่ พ้ืนที่ตรงกลางเพลาใบพัดและถูกเหวี่ยงตัวออกไปใน
แนวรัศมีของใบพัดสู่ผนังเครื่ องอัด และถูกสงไปตามระบบท่อ
ค. สกรู ท้ งั สองเพลาที่ขบกัน เพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมีย ทั้งสองตัวเป็ นสกรู ที่มีทิศทางการหมุนเข้าหากันทาให้
อากาศจากภายนอกถูกดูดและอัดส่ งไปรอบๆ ปั๊ ม และผ่านไปทางออกเข้าสู่ ชุดแยกน้ ามันออกจากอากาศ
จากนั้นจะไปสู่ ถงั เก็บลม
ง. ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวดูดอากาศในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงแผ่นไดอะแฟรมจะดูดอากาศจากภายนอก
ผ่านลิ้นวาล์วด้านดูดมาเก็บไว้ในห้องเก็บลม และเมื่อลูกสู บเคลื่อนที่ข้ ึนสุ ด แผ่นไดอะแฟรมจะอัดอากาศ
ภายในห้องสู บทั้งหมดผ่านวาล์วด้านออกเพื่อไปเก็บไว้ในถังพัก
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

47. หลักการทางานของเครื่ องอัดอากาศ แบบ Sliding vane compressors


ก. ใช้แผ่นกวาดเลื่อนเข้า และเลื่อนออกในแนวรัศมี ใบกวาดอากาศจะบีบอากาศให้ปริ มาตรลดลงและทาให้ความดันเพิม่
สู งขึ้น

ข. หลักการทางด้านพลศาสตร์ทางานด้วยการเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็ นความดัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ อัดจะถูกเหวี่ยง


ตัวออกไปในแนวรัศมีลมดูดจะเข้าสู่ พ้นื ที่ตรงกลางเพลาใบพัดและถูกเหวีย่ งตัวออกไปในแนวรัศมีของใบพัดสู่ ผนังเครื่ อง
อัด และถูกสงไปตามระบบท่อ

ค. สกรู ท้งั สองเพลาที่ขบกัน เพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมีย ทั้งสองตัวเป็ นสกรู ที่มีทิศทางการหมุนเข้าหากันทาให้ อากาศจาก


ภายนอกถูกดูดและอัดส่ งไปรอบๆ ปั๊ม และผ่านไปทางออกเข้าสู่ ชุดแยกน้ ามันออกจากอากาศ จากนั้นจะไปสู่ ถงั เก็บลม

ง. ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวดูดอากาศในขณะที่ลูกสู บเคลื่อนที่ลงแผ่นไดอะแฟรมจะดูดอากาศจากภายนอก ผ่านลิน้ วาล์ว


ด้านดูดมาเก็บไว้ในห้องเก็บลม และเมื่อลูกสู บเคลื่อนที่ข้ ึนสุ ด แผ่นไดอะแฟรมจะอัดอากาศภายในห้องสูบทั้งหมด ผ่าน
วาล์วด้านออกเพื่อไปเก็บไว้ในถังพัก

48. จากรู ปปั๊ มลมมีการทางานอย่างไร

ก. ใช้แผ่นกวาดเลื่อนเข้าและเลื่อนออกในแนวรัศมี ใบกวาดอากาศจะบีบอากาศให้ปริ มาตรลดลงและทาให้ความดันเพิ่มสู งขึ้น

ข. หลักการทางด้านพลศาสตร์ทางานด้วยการเปลี่ยนพลังงานจลน์เป็ นความดัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ อัดจะถูกเหวี่ยง


ตัวออกไปในแนวรัศมีลมดูดจะเข้าสู่ พ้นื ที่ตรงกลางเพลาใบพัดและถูกเหวีย่ งตัวออกไปในแนวรัศมีของใบพัดสู่ ผนังเครื่ อง
อัด และถูกสงไปตามระบบท่อ

ค. เพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมีย ทั้งสองตัวเป็ นสกรู ทมี่ ีทิศทางการหมุนเข้าหากันทาให้อากาศจากภายนอกถูกดูด และอัดส่ งไป


รอบๆ ปั๊ม และผ่านไปทางออกเข้าสู่ ชุดแยกน้ ามันออกจากอากาศจากนั้นจะไปสู่ ถงั เก็บลม

ง. ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็ นตัวดูดอากาศในขณะที่ลูกสู บเคลื่อนที่ลงแผ่นไดอะแฟรมจะดูดอากาศจากภายนอกผ่านลิน้ วาล์ว


ด้านดูดมาเก็บไว้ในห้องเก็บลม และเมื่อลูกสู บเคลื่อนที่ข้ ึนสุ ด แผ่นไดอะแฟรมจะอัดอากาศภายในห้องสูบทั้งหมดผ่าน
วาล์วด้านออกเพื่อไปเก็บไว้ในถังพัก
ข้อสอบแบบตัวเลือกวิชากลศาสตร์ของไหล ติวเตอร์พี่ชาดา

จากรู ปจงตอบคาถามข้อที่ 49 และ 50

49.จากรู ปเป็ นปั๊ มลมแบบใด

ก. Air jet
ข. Vane
ค. Screw
ง. Centrifugal
50. ประสิ ทธิภาพของพิกดั เครื่ องอัดอากาศ

ก. 7.1

ข. 6.34

ค. 45

ง. 0.85

You might also like