You are on page 1of 4

 

  การตรวจสอบเสาล่อฟ้า ประจําคลัง สป.๕


 

  ฟ้าผ่าเป็นเรื่องที่อยู่เหนือการควบคุมของมนุษ ย์
ดั ง นั้ น เราจึ ง ต้ อ งทํา ความเข้ า ใจในกระบวนการเกิด
ฟ้าผ่า แรงดั น เกิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบอุ ป กรณ์ ล่อฟ้า
วิ  ธี ก ารติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ รวมถึ ง สายดิ น เพื่อให้ ความ
เสี
  ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ทางตรงและทางอ้อมลดความ
รุ  นแรงลง และอยู่ในวงจํากัด
“ฟ้าผ่า” เป็ น ปรากฏการณ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ตาม
ธรรมชาติ
  โดยเริ่ ม จากการก่ อ ตั ว ของเมฆฟ้ า ผ่ า
(Cumulonimbus
  Cloud) ที่ มี ทั้ ง ประจุ บวกและลบ
อยู่ ใ นก้ อ นเมฆ เมื่ อ การสะสมประจุมากขึ้นก็ทําให้
ศั  กดาไฟฟ้าระหว่างก้อนเมฆกั บ พื้ น ดิ น มี ก ารพั ฒ นา
เพิ
  ่ ม สู ง ขึ้ น จนถึ ง จุ ด สู ง สุ ด ที่ ทํา ให้ เ กิ ด การถ่ า ยเท
ประจุไฟฟ้าปริ ม าณมหาศาลระหว่ า งก้ อ นเมฆกั บ
 
พื้นดิน ที่เรียกว่า ฟ้าผ่า
  กระบวนการดังกล่าวมีขั้นตอนดังนี้คือ
 

 
๑. เริ่มก่อตัวของประจุไฟฟ้าทั้งประจุบวก (P)
และประจุลบ (N) ภายในก้อนเมฆฟ้าผ่า
 

  ๒. การถ่ า ยเทประจุบวกและลบภายในก้อน
เมฆชั
  ้ น ต่ า ง ๆ โดยชั้ น ที่ ไ ม่ เ กิ ด ความแปรปรวนจะ
แสดงศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก และชั้ น ที่ อ ยู่ ต่ํา เกิ ด ความ
 
แปรปรวนจะแสดงศั กย์ไฟฟ้าเป็นลบ และเคลื่ อ นตั ว
ต่ํา ลงตามแรงดึ ง ดู ด ของโลก
 

 
๓. ที่ ฐ านก้ อ นเมฆแสดงศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า เป็ น ลบ ๗. step leader เคลื่อนที่ชนกับ upward streamers
 
เคลื่อนตัวต่ําลงสู่พื้นดินที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกมากกว่า เกิ ด lightning channel current ขึ้ น และกระแสจะ
  เริ่มไหล
 

 
๔. เมื่อก้อนเมฆเคลื่อนตัวลงต่ําทําให้ความต่างศักย์ ๘. ประจุบ วกที่ พื้ น ดิ น ซึ่ ง มี จํา นวนมากเคลื่ อ นที่ ขึ้ น
  ระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดินเพิ่มสูงขึ้น สู่ก้อนเมฆที่มปี ระจุบวกน้อยกว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า
  Return stroke ซึ่งจะมีกระแสไหล
 

 
๕. เกิด step leader ขึ้น มีศกั ย์ไฟฟ้าเป็นลบ ๙. ศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า บริ เ วณฐานก้ อ นเมฆพยายามถ่ า ย
  เคลื่อนที่ลงสู่พนื้ ดินที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก ประจุ เพื่อกลับสู่สภาวะสมดุล เรียกกระบวนการนี้ ว่ า
 
J & K phenomena
 

  ๑๐. ศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า ลบที่ อ ยู่ สู ง กว่ า ส่ ง ถ่ า ยประจุ ล บ


๖.  เกิด upward streamers ขึ้น มีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก มายั ง ฐานก้ อ นเมฆ ซึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกมากกว่า
เคลื่อนที่เข้าหา step leader ที่ มี ศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า เป็ น ลบ เกิดเป็นลําแสง เรียกว่ า Dart leader ถ้ า การส่ ง ถ่ า ยยั ง
  เหลือศักย์ไฟฟ้าลบ อยู่บริเวณฐานก้อนเมฆมีปริมาณมาก
เมื่ อ เที ย บกั บ พื้ น ดิ น จะทํา ให้ เ กิ ด ฟ้ า ผ่ า ซ้ํา ได้
 
ในขั้ น ตอนที่ ๘ จะมีกระแสฟ้าผ่าไหลสูงสุดซึ่งเหมาะสมที่จะวัดค่ากระแสและนํามากําหนด
  ค่าความต้านทาน ระหว่างแท่งกราวด์กับ remote earth เพื่ อ ใช้ ใ นการออกแบบระบบกราวด์
  ของระบบล่อฟ้าต่อไป
กองทัพบก มีระบบล่อฟ้าประจําอยู่ตามหน่วยที่มีคลัง สป.๕ ในอัตรา เสาล่ อ ฟ้ า จะถู ก สร้าง
  ตามแบบของกรมยุทธโยธาทหารบก หมายเลข ทบ.๒๔๒๕ คลังละ ๑ ต้น ตามรูปภาพ
 

  ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง “ เ ส า ล่ อ ฟ้ า ” เ ป็ น แ ท่ ง
 
ทองแดงกลมปลายแหลม ขนาดตามที่
กําหนดในแบบติ ด ตั้ ง บนฐานโลหะทองแดง
  เจื อ ยึ ด ติ ด กั บ โครงสร้าง จะมี ค วามสู ง จาก
  พื้นดินถึงปลายเสา ๒๔ เมตร (ประกอบด้ ว ย
เสายาว ๖ เมตร จํานวน ๔ ท่อน) ภายใน
 
เสาเหล็กจะถู ก ร้ อ ยด้วย “สายนํา ลงดิ น ” ซึ่ง
  เป็ น สายทองแดงตี เ กลี ย วเปลื อ ยขนาด ๗๐
 
ตารางมิลลิเ มตร ปลายเสาจะมี ส ามแฉกล่อ
ฟ้า และโคนเสาจะมีกล่องทดสอบการวั ด ค่ า
  ความต้ า นทานดิน (ground test box) ส่ ว น
  ภายในดินจะมี แผ่นทองแดงฝั ง รวมกั บ เกลือ
และผงถ่ า น การยึ ด โยงเสาจะถู ก ยึ ด โยง
 
ด้วยลวดสลิ ง เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ล้ ม จํา นวน ๓ ด้ า น
  ด้านละ ๒ เส้น
รูปแสดงเสาล่อฟ้าประจําคลัง สป.๕ แบบ ทบ.
  ๒๕๒๔ ซึ่งมีความสูง ๒๔ เมตร
 

 
การตรวจสอบว่าเสาล่อฟ้าประจําคลัง สป.๕ สามารถป้องกัน
ฟ้าผ่าคลัง สป.๕ ได้หรือไม่นนั้ สามารถตรวจสอบได้ดังนี้
  ๑. ตรวจสอบเสาล่อฟ้าทางกายภาพด้วยสายตา
  โดยทั่วไปแล้ว เสาล่อฟ้าต้องมีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพ
ลมฟ้าอากาศ และแรงกระแทกทางกลเมื่อถูกฟ้าผ่า ดังนั้น การทดสอบ
 
ด้วยสายตา สามารถตรวจสอบได้ด้วยการดูอุปกรณ์ประกอบเสา ได้แก่
  ๑.๑ ตัวสามแฉกล่อฟ้า ที่อยูบ่ นยอดเสา มีการหัก หรือชํารุด
หรือ  ไม่
๑.๒ ตัวเสาจะต้องมีสภาพตรงไม่บิดเบี้ยวคดงอ
  ๑.๓ ข้อต่อระหว่างเสากับเสามีสนิมเกิดขึ้นหรือไม่
  ๑.๔ ลวดสลิงยึดโยงเสาและชุดเร่ ง เกลี ย วเกิ ด การชํา รุ ด หรื อ ไม่ รูปแสดงกล่องทดสอบการวัดค่าความต้านทาน
หากมีการชํารุดส่วนใดส่วนหนึ่งของเสา แสดงว่าเสาล่อฟ้าต้นนั้นไม่สามารถ ดิน (GROUND TEST BOX) ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง บริเวณ
ทนต่  อสภาพลมฟ้าอากาศและแรงกระแทกทางกลเมื่อเกิดฟ้าผ่าได้ โคนเสาล่อฟ้า
  หากตรวจสอบทางกายภาพแล้ ว เสาล่ อ ฟ้ า มี ค วามชํา รุ ด เกิ น
ขีดความสามารถของหน่วยที่จะซ่อมแซมได้ ให้ ข อรั บ การสนั บ สนุ น มาที่
 
กรมยุทธโยธาทหารบก เพื่อประมาณการซ่อมต่อไป
  อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบด้วยสายตาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถจะคาดคะเนได้ว่าเสาล่อฟ้าต้นนั้น จะสามารถ
ป้องกั
  นฟ้าผ่าได้ จึงต้องตรวจสอบค่าความต้านทานของดินควบคู่กันไปด้วย
๒. ตรวจสอบการลงดินของกระแสไฟฟ้าเมื่อเกิดฟ้าผ่ามาที่เสาล่อฟ้าโดยใช้ “เครื่องวัดค่าความต้านทานดิน”
 
การตรวจสอบค่าความต้านทานดิน ว่าสามารถให้กระแสไฟฟ้าของฟ้าผ่าไหลลงดินได้ส ะดวกหรื อ ไม่ ตามปกติ
การไฟฟ้
  านครหลวง, การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.) ได้ กํา หนดค่ า ความต้ า นทาน
ระหว่างดินกับสายนําลงดิน จะต้ อ งมี ค่ า ความต้ า นทานไม่ เ กิ น ๕ โอห์ ม วิ ธี ก ารตรวจสอบ ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งวั ด ค่ า
 
ความต้านทานดิน (earth tester) เป็นเครื่องมือวัดเท่านั้น
 

 
รูปแสดงภายในกล่องทดสอบการวัดค่าความต้านทานดิน รูปแสดงการวัดค่าความต้านทานดินกับสายนําลงดิน โดยใช้เครื่องวัด
(GROUND TEST BOX) ค่าความต้านทานดิน (EARTH TESTER) เป็นเครื่องมือวัด
 

  ถ้าผลการวัดจากหน้าจอเครื่องวัดฯ มีค่าเกิน ๕ โอห์ม แสดงว่า เสาล่อฟ้าต้นนั้น ไม่สามารถป้องกันฟ้าผ่าได้


แนะนํ
 
าให้หน่วยรายงานตามสายการส่งกําลังบํารุง มายังกรมยุทธโยธาทหารบกเพื่อดําเนินการแก้ไขต่อไป

You might also like