You are on page 1of 7

Product News

ระบบป้องกันฟ้าผ่า ตอนที่ 1
บทความฉบับนี้จะขอกล่าวถึงระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกสิ่งปลูกสร้าง และระบบป้องกันฟ้าผ่า
ภายในส�ำหรับระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ที่ติดตั้งภายในสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งได้เรียบเรียงขึ้น
ตามมาตรฐานป้องกันฟ้าผ่า โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการจัดท�ำขึ้นเพื่อให้ผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้จัดหา ผู้เรียน ผู้สอน
ตลอดจนผู้สนใจงานวิศวกรรมป้องกัน ฟ้า ผ่า สามารถน�ำ มาตรฐานไปใช้งานได้ อ ย่างถูก ต้ อง
และมีความปลอดภัยสูงต่อไป

โดยเนือ้ หาดังกล่าวได้มกี ารจัดท�ำ และอ้างอิงตาม ความดันสูงที่ฝังดิน ระบบท่อ ไฟฟ้า และสายสื่อสาร


มาตรฐาน IEC 62305 -1, 2, 3, 4 ซึง่ สามารถแบ่งออก ที่ไม่ได้ต่อเข้ากับสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งจะมีข้อก�ำหนดพิเศษ
ได้ทั้งหมด 4 ภาค ได้แก่ จากหน่วยงานทีม่ ีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ
1. ภาคที่ 1 ข้อก�ำหนดทั่วไป
2. ภาคที่ 2 การบริหารความเสี่ยง ความรู้พื้นฐานของการป้องกันฟ้าผ่า
3. ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อ การเกิดขึ้นของฟ้าผ่า
สิ่งปลูกสร้าง และอันตรายต่อชีวิตจากฟ้าผ่า ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น
4. ภาคที ่ 4 ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายใน ในเวลาที่มีพายุ ฟ้าคะนอง ฝนตก และลมแรง ฟ้าผ่า
สิ่งปลูกสร้าง ก่อให้เกิดเสียงดังกึกก้อง และบางครั้งจะเห็นฟ้าแลบ
มาตรฐานนีเ้ ป็นข้อบังคับทัว่ ไปในการป้องกันฟ้าผ่า เกิ ด ขึ้ น ก่ อ นฟ้ า ผ่ า เมื่ อ ก้ อ นเมฆเคลื่ อ นที่ ก็ จ ะมี ล ม
ส�ำหรับสิง่ ปลูกสร้าง รวมทัง้ การติดตัง้ และสิง่ ทีอ่ ยูภ่ ายใน และเกิดการเสียดสีกับโมเลกุลของหยดน�้ำและน�้ำแข็ง
รวมถึงบุคคลและระบบสาธารณูปโภคที่ต่อเข้ากับสิ่ง ภายในก้อนเมฆ -> รูปที่ 1 ท�ำให้เกิดการแตกตัวของ
ปลูกสร้าง แต่ไม่ครอบคลุมถึงระบบรางรถไฟ การติดตัง้ ประจุไฟฟ้า โดยประจุลบส่วนใหญ่จะอยู่ทางด้านล่าง
ในรถ เรือ อากาศยาน และการติดตัง้ นอกฝัง่ ระบบท่อ ของก้อนเมฆ ขณะที่ประจุบวกจะอยู่ทางด้านบนของ
10 ABB in brief
Product News

ก้อนเมฆ ประจุลบด้านล่างก้อนเมฆมีความสามารถ
ในการเหนี่ยวน�ำให้วัตถุทุกสิ่งที่อยู่ภายใต้ก้อนเมฆ
เป็นประจุบวกได้ทั้งหมด พร้อมทั้งดึงดูดให้ประจุบวก
วิ่งขึ้นมาหาประจุลบได้ ทั้งนี้หากประจุลบใต้ก้อนเมฆ
มีปริมาณมากพอ จะท�ำให้อากาศด้านล่างก้อนเมฆ
ค่อยๆ แตกตัว ประจุลบสามารถวิง่ ลงมาด้านล่าง และ
บรรจบกับประจุบวกทีว่ งิ่ ขึน้ มา เนือ่ งจากความต่างศักย์
ระหว่างก้อนเมฆและพื้นดินที่มีมากพอ ท�ำให้เกิดเป็น
ฟ้าผ่าได้ในที่สุด การเกิดฟ้าผ่ามี 4 แบบ ได้แก่
1. เกิดภายในก้อนเมฆ
2. เกิดระหว่างก้อนเมฆ
3. เกิดระหว่างก้อนเมฆและอากาศ
4. เกิดระหว่างก้อนเมฆและพื้นดิน
รูปที่ 1 แสดงการเคลือ่ นทีข่ องก้อนเมฆท�ำให้เกิด การเกิดฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆ เป็นปรากฏการณ์ รูปที่ 5 แสดงล�ำประจุการเริม่ ของการเกิดฟ้าผ่า
ลมและเกิดการเสียดสีของโมเลกุลระหว่าง ที่เกิดขึ้นมากที่สุด เป็นสัดส่วนมากกว่า 50% ของการ ทัง้ 4 แบบ ตาม Karl Berger (1978)
หยดน�ำ้ และน�ำ้ แข็งภายในก้อนเมฆ เกิดทัง้ หมด เรียกว่า ฟ้าแลบ แต่ฟา้ ผ่าแบบทีท่ ำ� ให้เกิด
ความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตมนุษย์ เป็นการ
เกิดระหว่างก้อนเมฆและพื้นดิน มีสัดส่วนการเกิดขึ้น
ประมาณ 45% โดยก้อนเมฆทีท่ ำ� ให้เกิดฟ้าผ่าได้จะต้อง ล�ำประจุเริ่มของการเกิดฟ้าผ่า อาจเกิดขึ้นได้ใน
มีขนาดความลึก 3-4 กิโลเมตร ยิ่งมีขนาดใหญ่มาก ลักษณะอื่นอีก ได้แก่ การเคลื่อนที่ของล�ำประจุบวก
ก็จะสามารถเกิดฟ้าผ่าได้บ่อยมากขึ้น ฟ้าผ่าเกิดขึ้น จากเมฆลงมา การเคลื่อนที่ของล�ำประจุลบขึ้นจาก
เมือ่ มีความต่างศักย์ ระหว่างจุดเริม่ กับพืน้ โลกมากกว่า พื้ น โลก และการเคลื่ อ นที่ ข องล�ำ ประจุ บ วกขึ้ น จาก
10 เมกะโวลต์ ท�ำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ระหว่าง 20-400 พื้นโลก ซึ่งการเคลื่อนที่ขึ้นของล�ำประจุเป็นกรณีที่
กิ โ ลแอมแปร์ อุ ณ หภู มิ ม ากถึ ง 30,000 เคลวิ น เกิดขึ้นน้อยมาก -> รูปที่ 5
(ประมาณ 29,727 องศาเซลเซียส) ลักษณะการเกิด จะเห็นว่าทุกบริเวณใต้เงาเมฆฝนฟ้าคะนองมีโอกาส
ล�ำประจุเริม่ ของการเกิดฟ้าผ่าในแบบทีเ่ กิดขึน้ บ่อยทีส่ ดุ เสีย่ งต่อการเกิดฟ้าผ่าได้หมด ไม่วา่ ทีส่ งู ทีต่ ำ�่ กลางแจ้ง
คือ ล�ำประจุลบที่ก้อนเมฆเคลื่อนที่ลงสู่พื้นดิน ซึ่งมี เพียงแต่จุดเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดฟ้าผ่าได้มากที่สุด คือที่
ประจุบวก -> รูปที่ 2-4 เมือ่ ประจุลบนัน้ อยูเ่ หนือพืน้ ดิน โล่งแจ้ง เช่น สระน�ำ้ ชายหาด สนามกอล์ฟ ฯลฯ และ
ประมาณ 45.7 เมตร หรือ 150 ฟุต จึงจะท�ำให้เกิด จุดที่สูงในบริเวณนั้นๆ เช่น ต้นไม้ อาคารสูง เนื่องจาก
ฟ้าผ่าลงที่วัตถุ ประจุไฟฟ้ามีโอกาสวิ่งมาเจอกันได้เร็วที่สดุ ส่วนวัตถุที่
ฟ้าผ่ามีหลายประเภท ทั้ง ฟ้าผ่าลบ (Negative เป็นตัวท�ำให้ฟ้าผ่าใส่มนุษย์ได้มากที่สุด คือวัตถุที่อยู่
Lightning) จะเป็นการถ่ายเทประจุไฟฟ้าลบจากก้อนเมฆ สูงเหนือจากศีรษะมนุษย์ขึ้นไป โดยเฉพาะสิ่งของที่มี
สู่พื้นดิน ประกอบไปด้วยหลายสาย มีกระแสไฟฟ้า ปลายแหลม
โดยเฉลี่ ย 30kA ซึ่ ง คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นในการเกิ ด ขึ้ น ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่แน่นอน
มากกว่า 95% ในขณะที่ ฟ้าผ่าบวก (Positive Lightning) มีความซับซ้อนและท�ำนายไม่ได้ จึงเป็นการยากที่จะ
จะเป็ น การถ่ า ยเทประจุไ ฟฟ้ า บวกจากด้ า นบนของ ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น อีกทั้งในปัจจุบันตึกสูงมีจ�ำนวน
ก้ อ นเมฆสู ่ พื้ น ดิ น ประกอบไปด้ ว ยเส้ น สายเดี ย ว เพิม่ ขึน้ อุปกรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าในตึกหรือทีอ่ ยูอ่ าศัย
มีกระแสไฟฟ้าโดยเฉลีย่ 300kA หรือประมาณ 10 เท่า มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นระบบป้องกันอันตรายจาก
ของฟ้าผ่าลบ มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยกว่า 5% ฟ้าผ่าจึงมีความส�ำคัญมากขึ้นด้วย

รูปที่ 2-4 แสดงการเคลื่อนที่ของประจุลบที่วิ่งมากับประจุบวกที่วิ่งขึ้นมาบรรจบกัน


ABB in brief 11
Product News

ความเสีย่ งต่อการถูกฟ้าผ่า หมายถึง ความเสีย่ ง 1. ความเสียหายจากฟ้าผ่า สามารถแยกความเสียหาย . มาตรการป้องกันทีม่ อี ยูเ่ ดิม หรือทีไ่ ด้จดั หาไว้แล้ว
ต่อการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งนี้อันตรายจาก ออกได้เป็น (การป้องกันเพื่อลดความเสียหายทางกายภาพ
ฟ้าผ่าเกิดจาก 3 สาเหตุ ได้แก่ ความร้อน เป็นเหตุ 1.1 ความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้าง และอันตรายต่อชีวิต มาตรการป้องกันความ
ให้เกิดเพลิงไหม้ แรงกล เป็นเหตุให้เกิดระเบิดได้ ฟ้าผ่าลงสิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิดความ ล้มเหลวของระบบภายใน)
และกระแสไฟฟ้า เป็นอันตรายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าและ เสียหายต่อสิ่งปลูกสร้าง ผู้อยู่อาศัย และสิ่งของที่อยู่ . ขอบเขตการขยายความเสียหาย (สิ่งปลูกสร้าง
ชีวิต ภายใน รวมทั้งระบบภายในท�ำงานล้มเหลวได้ ความ ที่อพยพผู้คนได้ล�ำบาก หรือสิ่งปลูกสร้างที่อาจ
ดังนั้น ระบบป้องกันฟ้าผ่า หมายถึงระบบที่ เสี ย หายและความล้ ม เหลวอาจขยายไปยั ง บริ เ วณ ก่อให้เกิดความแตกตื่น สิ่งปลูกสร้างที่ท�ำให้เกิด
ท�ำหน้าที่ลดอันตรายจากปรากฏการณ์ฟ้าผ่าที่เกิดกับ โดยรอบสิ่ ง ปลู ก สร้ า งและยั ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ อันตรายต่อบริเวณโดยรอบ สิ่งปลูกสร้างที่ท�ำให้
อาคาร ทรัพย์สินในอาคาร และคนในอาคาร รวมทั้ง สภาพแวดล้อมบริเวณนั้น ซึ่งขอบเขตการขยายความ เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม) -> ตารางที่ 1.1
สัตว์เลีย้ งในบริเวณอาคารด้วย โดยไม่จำ� กัดว่าต้องใช้กบั เสีย หายจะมากหรือ น้ อ ยขึ้น อยู ่ กับ คุณ ลัก ษณะของ
อาคารขนาดใหญ่เท่านัน้ แต่ครอบคลุมถึงบ้านพักอาศัย สิ่งปลูกสร้างและคุณลักษณะของวาบฟ้าผ่า 1.1.2 แหล่ ง ก� ำ เนิ ด และชนิ ด ของความเสี ย หายของ
ขนาดเล็ก คอกปศุสัตว์ เพิงพักใช้งานชั่วคราว เช่น สิง่ ปลูกสร้าง
เถียงนา ที่พักผู้โดยสารริมทางสัญจรต่างๆ ซึ่งมีความ 1.1.1 ผลกระทบของฟ้าผ่าที่มีต่อสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ กระแสฟ้าผ่าเป็นแหล่งก�ำเนิดของความเสียหาย
เสี่ยงที่อาจเกิดฟ้าผ่า ดังนั้นจึงต้องตระหนักถึงความ . โครงสร้าง (ไม้ อิฐ คอนกรีต คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งต้องค�ำนึงถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับต�ำแหน่ง
ส�ำคัญในการท�ำความเข้าใจ และติดตัง้ ให้ระบบป้องกัน โครงสร้างเหล็ก) ของฟ้าผ่าสัมพันธ์กับสิ่งปลูกสร้างที่ก�ำลังพิจารณา
ฟ้าผ่าสามารถท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิผลตามที่ได้ . ลักษณะการใช้งาน (บ้านที่อยู่อาศัย สำ�นักงาน ดังนี้ -> รูปที่ 6
ออกแบบไว้ ฟาร์ม โรงมหรสพ โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล
พิพธิ ภัณฑ์ โบสถ์ เรือนจำ� ห้างสรรพสินค้า ธนาคาร S1 วาบฟ้าผ่าลงสิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด
มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า โดยวิศวกรรมสถาน โรงงานอุตสาหกรรม และสนามกีฬา) . ความเสียหายทางกลทันที ไฟไหม้ และ/หรือ
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ . ผู้อยู่อาศัยและสิ่งของที่อยู่ภายใน (บุคคลและ การระเบิด เนือ่ งจากความร้อนจากอาร์กพลาสมา
ภาคที่ 1 ข้อก�ำหนดทั่วไป (General Principles) สัต ว์ มีวัส ดุติดไฟหรือ ไม่ ติดไฟ มีวัส ดุระเบิด ฟ้าผ่าเอง เนือ่ งจากกระแสไหลผ่านความต้านทาน
เรื่องนิยาม ค�ำจ�ำกัดความ และค่าพารามิเตอร์ หรือไม่ระเบิด ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ของตัวน�ำ (ตัวน�ำเกิดความร้อนเกิน) หรือเนือ่ งจาก
ของกระแสฟ้าผ่า ซึ่งในบทความนี้จะขอไม่กล่าวถึงใน แรงดันทนต�่ำหรือสูง) ประจุท�ำให้เกิดการสึกกร่อนทางอาร์ก (โลหะ
รายละเอียด แต่ผู้สนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก . ระบบสาธารณูปโภคที่ต่ออยู่ (สายไฟฟ้า สาย หลอมละลาย)
หนังสือมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าของ วสท. ได้ โทรคมนาคม ระบบท่อต่างๆ)

ตารางที่ 1.1 ผลกระทบของฟ้าผ่าที่มีต่อสิ่งปลูกสร้าง


ชนิดของสิ่งปลูกสร้างแบ่งตามลักษณะ
ผลกระทบของฟ้าผ่า
การใช้งาน และ/หรือ สิ่งที่อยู่ภายใน
• การติดตั้งทางไฟฟ้าเกิดการเจาะทะลุ เกิดไฟไหม้และวัสดุเสียหาย
• ความเสียหายปกติจะเกิดกับวัตถุที่เปิดโล่งต่อจุดฟ้าผ่าหรือทางผ่านของกระแสฟ้าผ่า
บ้านที่อยู่อาศัย
• ความล้มเหลวของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และระบบที่ติดตั้ง (เครื่องรับโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
โมเด็ม โทรศัพท์)
• ความเสี่ยงที่จะเกิดไฟไหม้ และอันตรายจากแรงดันช่วงก้าวรวมทั้งความเสียหายของวัสดุ
อาคารที่เป็นฟาร์ม • ความเสี่ยงรองที่จะเกิดการสูญเสียเนื่องจากการเกิดไฟดับ และอันตรายต่อชีวิตของสัตว์เลี้ยง เนื่องจากความล้มเหลว
ของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมระบบระบายอากาศและระบบป้อนอาหาร เป็นต้น
โรงมหรสพ โรงแรม โรงเรียน ห้างสรรพสินค้า • ความเสียหายของการติดตั้งทางไฟฟ้า (ระบบแสงสว่าง) มักท�ำให้เกิดการแตกตื่น
สนามกีฬา • ความล้มเหลวของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ท�ำให้การผจญเพลิงล่าช้า
ธนาคาร บริษัทประกันภัย บริษัทธุรกิจ เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาเนื่องจากสูญเสียการติดต่อสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร์ล้มเหลว
เป็นต้น และการสูญเสียข้อมูล
เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาที่จะเกิดกับผู้ป่วยที่อยู่ในห้องไอซียู และความล�ำบากในการเคลื่อนย้าย
โรงพยาบาล สถานพยาบาล เรือนจ�ำ
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น ผลกระทบเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับวัสดุที่อยู่ในโรงงาน โดยอาจเสียหายเล็กน้อยจนถึงขั้น
โรงงานอุตสาหกรรม
ยอมรับไม่ได้และการผลิตต้องหยุดชะงัก
พิพิธภัณฑ์ แหล่งโบราณสถาน และโบสถ์ เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาความสูญเสียมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งไม่อาจทดแทนได้
ศูนย์โทรคมนาคม โรงไฟฟ้า เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาการบริการสาธารณูปโภคขัดข้องที่ยอมรับไม่ได้
โรงงานดอกไม้ไฟ โรงงานเครื่องกระสุน เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาการเกิดไฟไหม้ การระเบิดต่อเนื่องต่อโรงงาน และบริเวณรอบข้าง
โรงงานเคมี โรงกลั่นน�้ำมัน โรงงานนิวเคลียร์ เช่นเดียวกับสิ่งปลูกสร้างข้างต้น โดยเพิ่มปัญหาการเกิดไฟไหม้ และโรงงานอาจท�ำงานผิดพลาด เกิดความเสียหายต่อ
ห้องปฏิบัติการและโรงงานชีวเคมี เนื่องต่อท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมในวงกว้าง

12 ABB in brief
Product News

รูปที่ 6 แสดงแหล่งก�ำเนิดของความเสียหายจากฟ้าผ่าทั้ง 4 แหล่ง

. เกิ ด ไฟไหม้ และ/หรื อ เกิ ด การจุ ด ระเบิ ด . D2 ความเสียหายทางกายภาพ เช่น ไฟไหม้ ระเบิด
โดยประกายซึ่ ง เกิ ด จากแรงดั น ที่ เ กิ ด จากการ ความเสียหายทางกล การปลดปล่อยสารเคมี
คาบเกีย่ วทางความต้านทานและความเหนีย่ วน�ำ เนื่องจากผลของกระแสฟ้าผ่า รวมทั้งการเกิด
. การบาดเจ็บของบุคคลเนื่องจากแรงดันสัมผัส ประกาย
และแรงดันช่วงก้าว . D3 ความล้มเหลวของระบบภายใน เนื่องจาก
. ความล้ ม เหลวหรื อ การท� ำ งานผิ ด พลาดของ อิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า
ระบบภายใน เนื่องจากอิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้า
จากฟ้าผ่า 2. ความเสียหายต่อระบบสาธารณูปโภค
ผลของฟ้าผ่าอาจท�ำให้เกิดความเสียหายทาง
S2 วาบฟ้าผ่าใกล้สิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด กายภาพของระบบสาธารณูปโภค (สายหรือท่อ) รวมทัง้
. ความล้มเหลวหรือการท�ำงานผิดพลาดของระบบ บริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ตี ่ออยู่ ขอบเขตของ
ภายใน เนื่อ งจากอิมพัลส์ แ ม่ เหล็กไฟฟ้ า จาก การขยายความเสียหายมากน้อยขึน้ อยูก่ บั คุณลักษณะ
ฟ้าผ่า ของระบบสาธารณูปโภค แบบและการต่อขยายของ
ระบบไฟฟ้า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และคุณลักษณะของ
S3 วาบฟ้ า ผ่ า ลงระบบสาธารณู ป โภคที่ ต ่ อ กั บ วาบฟ้าผ่า -> ตารางที่ 1.2
สิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด
. ไฟไหม้ และ/หรือ เกิดการจุดระเบิด โดยประกาย
ซึ่งเกิดจากแรงดันเกินและกระแสฟ้าผ่าที่ส่งผ่าน
ระบบสาธารณูปโภคที่ต่ออยู่ ตารางที่ 1.2 ผลกระทบของฟ้าผ่าทีม่ ตี อ่ ระบบสาธารณูปโภค
. การบาดเจ็บของบุคคลเนื่องจากแรงดันสัมผัส
ภายในสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมีผลมาจากกระแสฟ้าผ่า ชนิดของสาธารณูปโภค ผลกระทบของฟ้าผ่า
ที่ส่งผ่านระบบสาธารณูปโภคที่ต่ออยู่ ความเสียหายทางกลต่อสาย การหลอมละลายของชีลด์ และตัวน�ำ
. ความล้ ม เหลวหรื อ การท� ำ งานผิ ด พลาดของ การเบรกดาวน์ของฉนวนของเคเบิลและบริภณ ั ฑ์ ท�ำให้เกิดความล้มเหลวหลัก
ระบบภายใน เนื่องจากแรงดันเกินที่ปรากฏบน สายโทรคมนาคม มีผลให้การให้บริการถูกตัดขาดทันที
สายที่ต่ออยู่และส่งผ่านเข้าสิ่งปลูกสร้าง ความล้มเหลวรองที่สายเคเบิลใยแก้ว ท�ำให้สายเคเบิลเกิดความเสียหาย
แต่ระบบยังให้บริการต่อไปได้
S4 วาบฟ้าผ่าใกล้ระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับ ความเสียหายต่อลูกถ้วยฉนวนของระบบสายเหนือดินแรงต�่ำ ฉนวนของสาย
สิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด สายไฟฟ้า เคเบิลเกิดการเจาะทะลุ ฉนวนของบริภัณฑ์และหม้อแปลงเกิดการเบรกดาวน์
. ความล้มเหลวหรือการท�ำงานผิดพลาดของระบบ ส่งผลให้ระบบไม่สามารถให้บริการต่อไปได้
ภายใน เนื่องจากแรงดันเกินที่ปรากฏบนสายที่
ต่ออยู่และส่งผ่านเข้าสิ่งปลูกสร้าง ความเสียหายต่อบริภัณฑ์ควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า มักท�ำให้ระบบ
ท่อน�้ำ
ไม่สามารถให้บริการต่อไปได้
ดังนั้น ฟ้าผ่าสามารถท�ำให้เกิดความเสียหาย การเจาะทะลุของปะเก็นอโลหะที่หน้าแปลนของท่อ มักท�ำให้เกิดไฟไหม้
พืน้ ฐานต่อสิง่ ปลูกสร้างได้ 3 ชนิด ได้แก่ และ/หรือ เกิดการระเบิด
. D1 ท�ำให้สงิ่ มีชวี ติ บาดเจ็บและเสียชีวติ เนือ่ งจาก ท่อก๊าซ ท่อน�้ำมัน
ความเสียหายต่อบริภัณฑ์ควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า มักท�ำให้ระบบ
แรงดันสัมผัสและแรงดันก้าว ไม่สามารถให้บริการต่อไปได้

ABB in brief 13
Product News

2.1 ผลกระทบของฟ้าผ่าที่มีต่อระบบสาธารณูปโภค . L2 ความสูญเสียการบริการต่อสาธารณะ


ได้แก่ . L3 ความสูญเสียต่อมรดกทางวัฒนธรรม
. รูปแบบการก่อสร้าง (สายเหนือดิน สายใต้ดิน . L4 ความสู ญ เสี ย มู ล ค่ า ทางเศรษฐศาสตร์
สายมีชลี ด์ สายไม่มชี ลี ด์ สายใยแก้ว ท่อเหนือดิน (สิ่งปลูกสร้างและสิ่งของที่อยู่ภายใน การบริการ
ท่อฝังดิน ท่อโลหะ ท่อพลาสติก) และความสูญเสียต่อกิจกรรมต่างๆ)
. การใช้งาน (สายโทรคมนาคม สายไฟฟ้า ระบบท่อ
ต่างๆ) ดังนั้น ทั้งหมดจึงเป็นความสูญเสียที่อาจเกิด
. สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ ต ่ อ กั บ ระบบสาธารณู ป โภค ขึ้นในสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ L1-L4 (สิ่งปลูกสร้างและ
(โครงสร้าง สิ่งที่อยู่ภายใน ขนาด ที่ตั้ง) สิ่งของที่อยู่) และความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในระบบ
. การป้องกันที่มีอยู่เดิมหรือที่ติดตั้งเพิ่มเติม (เช่น สาธารณูปโภค จะได้แก่ L2 และ L4 (การบริการและ
สายชีลด์หรือสายล่อฟ้า อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ความสูญเสียต่อกิจกรรมต่างๆ)
เส้นทางส�ำรอง ระบบเก็บของไหล ชุดเครือ่ งก�ำเนิด
ไฟฟ้า ระบบจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่อง) โดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งก�ำเนิดความ
เสียหาย ชนิดความเสียหาย กับชนิดของความสูญเสีย
2.2 แหล่งก�ำเนิดและชนิดของความเสียหายของระบบ ส�ำหรับสิ่งปลูกสร้างและส�ำหรับระบบสาธารณูปโภค
สาธารณูปโภค ได้ดงั -> ตารางที่ 1.3 และ -> ตารางที่ 1.4 ตามล�ำดับ
ซึ่งต้องค�ำนึงถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับ
ต�ำแหน่งของจุดฟ้าผ่าสัมพันธ์กับระบบสาธารณูปโภค
ที่ก�ำลังพิจารณา ดังนี้

S1 วาบฟ้ า ผ่ า ลงสิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ ต ่ อ กั บ ระบบ ตารางที่ 1.3 ความเสียหายและความสูญเสียในสิง่ ปลูกสร้างแยกตามจุดทิเ่ กิดฟ้าผ่า
สาธารณูปโภค สามารถท�ำให้เกิด
. การหลอมละลายของสายโลหะและชีลด์ของ จุดที่เกิดฟ้าผ่า ภาพแสดงจุดที่ แหล่งกำ�เนิด ชนิดของความ ชนิดของความ
เกิดฟ้าผ่า ความเสียหาย เสียหาย สูญเสีย
สายเคเบิล
. การเบรกดาวน์ของฉนวนของสายและบริภัณฑ์
ที่ต่ออยู่ D1 L1, L4**
. การเจาะทะลุของปะเก็นอโลหะที่หน้าแปลนของ ลงสิ่งปลูกสร้าง S1 D2 L1, L2, L3, L4
D3 L1*, L2, L4
ท่อ ร่วมทั้งปะเก็นที่ข้อต่อที่เป็นฉนวน

S3 วาบฟ้ า ผ่ า ลงระบบสาธารณู ป โภคที่ ต ่ อ กั บ


สิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด
. ความเสียหายทางกลอย่างฉับพลันของสายโลหะ ใกล้สิ่งปลูกสร้าง S2 D3 L1*, L2, L4
หรือท่อโลหะ
. ความเสียหายทางไฟฟ้าอย่างฉับพลันของสาย
(การเบรกดาวน์ของฉนวน) และบริภณ ั ฑ์ที่ต่ออยู่
. การเจาะทะลุผ่านของท่อโลหะบางเหนือดินและ ลงระบบสาธารณูปโภค D1 L1, L4**
S3 D2 L1, L2, L3, L4
ปะเก็นอโลหะที่หน้าแปลน อาจท�ำให้เกิดความ ที่ต่อกับสิ่งปลูกสร้าง D3 L1*, L2, L4
เสียหายต่อเนื่อง เช่น ไฟไหม้และการระเบิด
ขึ้นอยู่กับของไหลที่ขนถ่าย

S4 วาบฟ้าใกล้กับระบบสาธารณูปโภคที่ต่อกับ ใกล้กับระบบสาธารณูปโภค S4 D3 L1*, L2, L4


สิ่งปลูกสร้าง สามารถท�ำให้เกิด
. การเบรกดาวน์ของฉนวนของสายและบริภัณฑ์
ที่ต่ออยู่
* เฉพาะสิง่ ปลูกสร้างทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการระเบิด และโรงพยาบาลหรือสิง่ ปลูกสร้างอืน่ ๆ
ซึง่ ความล้มเหลวของระบบภายในท�ำให้เกิดอันตรายต่อชีวติ มนุษย์โดยทันที
ดังนั้น ฟ้าผ่าสามารถท�ำให้เกิดความเสียหาย ** เฉพาะสิ่งปลูกสร้างที่อาจเกิดอันตรายต่อชีวิตสัตว์
พื้นฐานต่อระบบสาธารณูปโภคได้ 2 ชนิด ได้แก่
. D2 ความเสียหายทางกายภาพ เช่น ไฟไหม้
การระเบิด ความเสียหายทางกล การปลดปล่อย ตารางที่ 1.4 ความเสียหายและความสูญเสียในระบบสาธารณูปโภคแยกตามจุดทีเ่ กิดฟ้าผ่า
สารเคมี เนื่องจากผลของความร้อนที่เกิดจาก
กระแสฟ้าผ่า แหล่งกำ�เนิด ชนิดของ ชนิดของ
จุดที่เกิดฟ้าผ่า
. D3 ความล้มเหลวของระบบไฟฟ้า และอิเล็ก ความเสียหาย ความเสียหาย ความสูญเสีย
ทรอนิกส์ เนื่องจากแรงดันเกิน ลงระบบสาธารณูปโภค S3 D2 L2, L4
D3
2.3 ชนิดของความสูญเสีย ใกล้ระบบสาธารณูปโภค S4 D3 L2, L4
สามารถจ�ำแนกชนิดได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ลงสิ่งปลูกสร้างที่ต่อกับระบบ D2
. L1 ความสูญเสียต่อชีวิต และร่างกาย สาธารณูปโภค S1 D3 L2, L4

14 ABB in brief
Product News

โครงการตามชนิดและปริมาณความเสียหายแต่ละชนิด
ความเสี่ยง
1)
ความเสี่ยง ความเสี่ยง
1)
ความเสี่ยง และตามข้อพิจารณาทางเทคนิค และทางเศรษฐศาสตร์
R1 R2 R3 R4
ของมาตรการป้องกันต่างๆ
ชนิดของ
ความสูญเสีย
สูญเสียชีวติ สูญเสียการบริการ สูญเสียมรดก สูญเสียมูลค่าทาง 5.1 มาตรการป้องกันเพือ่ ลดการบาดเจ็บของสิง่ มีชวี ติ
มนุษย์ ต่อสาธารณะ ทางวัฒนธรรม เศรษฐศาสตร์
เนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้าว ได้แก่
. การฉนวนอย่างเพียงพอส�ำหรับส่วนตัวน�ำกระแส
2)
ความล้มเหลว ความล้มเหลว ความล้มเหลว ที่เปิดโล่ง
. การประสานศักย์ให้เท่ากันด้วยระบบสายดินแบบ
ชนิดของ การบาดเจ็บ ความเสียหาย ของระบบไฟฟ้า ความเสียหาย ของระบบไฟฟ้า ความเสียหาย 3)การบาดเจ็บ ความเสียหาย ของระบบไฟฟ้า
ความ
เสียหาย ของสิ่งมีชีวิต ทางกายภาพ และ ทางกายภาพ และ ทางกายภาพ ของสิ่งมีชีวติ ทางกายภาพ และ
อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ ตาข่าย
1)
เฉพาะสิ่งปลูกสร้าง . การป้องกันการเข้าถึงทางกายภาพ และท�ำป้าย
2)
เฉพาะโรงพยาบาลหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ซึ่งความล้มเหลวของระบบภายใน ท�ำให้เกิดอันตรายต่อชีวติ มนุษย์โดยทันที เตือน
3)
เฉพาะสิ่งปลูกสร้างที่อาจเกิดอันตรายต่อชีวติ สัตว์

รูปที่ 7 แสดงชนิดของความสูญเสียและความเสี่ยงที่เกิดจากความเสียหายชนิดต่างๆ 5.2 มาตรการป้องกันเพือ่ ลดความสูญเสียทางกายภาพ


ได้แก่
. มาตรการป้องกันส�ำหรับสิง่ ปลูกสร้าง เช่น ระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า (LPS)
. มาตรการป้องกันส�ำหรับระบบสาธารณูปโภคสาย
ล่อฟ้า
และสามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างชนิด
ของความสูญเสีย ซึ่งมีผลจากชนิดของความเสียหาย 5.3 มาตรการป้องกันเพื่อลดความล้มเหลวของระบบ
และความเสี่ยงที่สอดคล้องกันแสดงได้ใน -> รูปที่ 7 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
. มาตรการป้ อ งกั น ส� ำ หรั บ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง เช่ น
3. ความจ�ำเป็นของระบบป้องกันฟ้าผ่า มาตรการป้ อ งกั น อิ ม พั ล ส์ แ ม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า จาก
ต้องมีการประเมินความจ�ำเป็นของระบบป้องกัน ฟ้าผ่า ประกอบด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธี
ฟ้าผ่าของสิ่งที่จะป้องกันเพื่อลดความสูญเสียมูลค่า ร่วมกันดังต่อไปนี้
ทางสังคม L1, L2 และ L3 การประเมินว่าจ�ำเป็น - การต่อลงดินและการต่อประสาน
ต้องมีระบบป้องกันฟ้าผ่าหรือไม่ ต้องท�ำการประเมิน - การก�ำบังสนามแม่เหล็ก
ความเสี่ยงตามขั้นตอนที่ก�ำหนดไว้ในมาตรฐานการ - การจัดวางแนวสายที่เหมาะสม
ป้องกันฟ้าผ่าภาค 2 ซึ่งความเสี่ยงที่จะน�ำมาพิจารณา - การใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันเสิรจ์ ทีป่ ระสานสัมพันธ์กนั
ให้สอดคล้องกับชนิดของความสูญเสีย คือ . มาตรการป้องกันส�ำหรับระบบสาธารณูปโภค เช่น
. R1 ความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตมนุษย์ - การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ณ ต�ำแหน่ง
. R2 ความเสีย่ งต่อการสูญเสียบริการต่อสาธารณะ ต่างๆ ตลอดความยาวของสายและทีป่ ลายสาย
. R3 ความเสีย่ งต่อการสูญเสียมรดกทางวัฒนธรรม - การใช้กำ� บังสนามแม่เหล็กของเคเบิล
หากความเสี่ยง R (R1 ถึง R3) มีค่าสูงกว่าระดับที่
ยอมรับได้ RT (R > RT) ต้องจัดให้มกี ารป้องกันฟ้าผ่า ใน 5.4 การเลือกมาตรการป้องกัน
กรณีนต้ี อ้ งมีการน�ำมาตรการต่างๆ ในการป้องกันฟ้าผ่า การเลือกมาตรการป้องกันทีเ่ หมาะสมต้องท�ำโดย
มาใช้เพือ่ ลดความเสีย่ ง R (R1 ถึง R3) ให้ลดลงมาต�ำ่ กว่า ผู้ออกแบบและเจ้าของโครงการ ตามชนิดและปริมาณ
หรือเท่ากับระดับที่ยอมรับได้ RT (R ≤ RT) ความเสียหายแต่ละชนิด และตามข้อพิจารณาทาง
กรณีสงิ่ ทีจ่ ะป้องกันอาจเกิดความสูญเสียมากกว่า เทคนิค และทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการป้องกัน
หนึ่งชนิด ต้องลดความเสี่ยงของความสูญเสียแต่ละ ต่างๆ ซึง่ เกณฑ์ในการประเมินความเสีย่ ง และการเลือก
ชนิด (L1, L2 และ L3) ให้ได้ตามเงื่อนไข R ≤ RT มาตรการป้องกันที่เหมาะสมได้ก�ำหนดไว้ในมาตรการ
ป้องกันฟ้าผ่าภาค 2 และมาตรการป้องกันจะมีประสิทธิผล
4. ความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบป้องกัน ก็ตอ่ เมือ่ มาตรการนัน้ เป็นไปตามข้อก�ำหนดในมาตรฐาน
ฟ้าผ่า ทีเ่ กีย่ วข้อง และสามารถทนต่อความเครียดทีค่ าดว่าจะ
นอกจากการพิจารณาความจ�ำเป็นในการติดตั้ง เกิดขึ้นในสถานที่ที่ติดตั้ง
ระบบป้องกันฟ้าผ่าแล้ว ยังอาจต้องประเมินความคุม้ ค่า
ทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการป้องกันฟ้าผ่า เพื่อลด 6. เกณฑ์พื้นฐานส�ำหรับการป้องกันสิ่งปลูกสร้าง
การสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ L4 ด้วย ในกรณีนี้ต้อง และสาธารณูปโภค
มีการประเมินความเสี่ยง R4 ของความสูญเสียทาง 6.1 ระดับป้องกันฟ้าผ่า (LPL)
เศรษฐศาสตร์ การประเมินความเสี่ยง R4 ท�ำให้ทราบ ในมาตรฐานนีไ้ ด้มกี ารก�ำหนดระดับป้องกันฟ้าผ่า
มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ทั้งกรณีติดตั้ง เป็น 4 ระดับ (1 ถึง 4) โดยในแต่ละระดับจะมีค่า
มาตรการป้องกัน และไม่ตดิ ตั้งมาตรการป้องกัน พารามิเตอร์ต่างๆ ทั้งค่าสูงสุดและต�่ำสุดของกระแส
ฟ้าผ่าในแต่ละระดับป้องกันฟ้าผ่า รัศมีทรงกลมกลิ้ง
5. มาตรการป้องกัน และความกว้ า งของตาข่ า ย ซึ่ ง ได้ มี ก ารก� ำ หนดไว้
อาจน�ำมาใช้เพือ่ ลดความเสีย่ งในการสูญเสียตาม แน่นอนแล้ว -> ตารางที่ 1.5
ชนิดของการสูญเสีย ต้องท�ำโดยผูอ้ อกแบบและเจ้าของ  

ABB in brief 15
Product News

ตารางที่ 1.5 แสดงระดับป้องกันฟ้าผ่าทีร่ องรับค่ากระแสฟ้าผ่าค่าสูงสุดและต�ำ่ สุด พร้อมความสัมพันธ์ในการก�ำหนดรัศมีทรงกลมกลิง้ และความกว้างตาข่ายทีใ่ ช้


ในการป้องกัน
  ระดับป้องกันฟ้าผ่า (LPL)
  LPL I LPL II LPL III LPL IV
กระแสฟ้าผ่า ความน่าจะเป็น กระแสฟ้าผ่า ความน่าจะเป็น กระแสฟ้าผ่า ความน่าจะเป็น กระแสฟ้าผ่า ความน่าจะเป็น
  (kA) (kA) (kA) (kA)
  >3 99% >5 97% > 10 91% > 16 84%
  < 200 99% < 150 98% < 100 97% < 100 97%
รัศมีทรงกลมกลิ้ง (ม.) 20 30 45 60
ความกว้างตาข่าย (ม.) 5x5 10 x 10 15 x 15 20 x 20

6.2 ย่านป้องกันฟ้าผ่า (LPZ) 6.3 การป้องกันสิ่งปลูกสร้าง สรุ ป ฟ้ า ผ่ า เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทาง
มาตรการป้องกันฟ้าผ่าต่างๆ เช่น ระบบป้องกัน 6.3.1 การป้ อ งกั น เพื่ อ ลดความเสี ย หายทาง ธรรมชาติ ซึ่งเราไม่สามารถห้ามไม่ให้เกิดขึ้นได้ แต่เรา
ฟ้าผ่า สายก�ำบัง ตัวก�ำบังสนามแม่เหล็ก และอุปกรณ์ กายภาพและอันตรายต่อชีวติ สิง่ ปลูกสร้างทีจ่ ะป้องกัน สามารถมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับความรูพ้ นื้ ฐานของ
ป้องกันเสิรจ์ เป็นตัวก�ำหนดย่านป้องกันฟ้าผ่า ลักษณะ ต้องอยู่ภายในย่านป้องกัน 0B หรือสูงกว่า ซึ่งสามารถ การเกิดฟ้าผ่า ลักษณะการเกิดขึ้น ผลกระทบ ความ
สมบัติของย่านป้องกันฟ้าผ่าที่อยู่ถัดไป จะเป็นการ ท�ำได้โดยการติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกและ เสียหายและความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนถึง
ลดทอนอิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า ในระดับที่มี ภายใน หลักเกณฑ์และวิธีการป้องกัน เพื่อป้องกันและบรรเทา
นัยส�ำคัญจากย่านป้องกันที่อยู่ก่อนหน้า ซึ่งสามารถ 6.3.2 การป้ อ งกั น เพื่ อ ลดความล้ ม เหลวของ ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ดังกล่าว
แบ่งย่านป้องกันฟ้าผ่าได้ ดังต่อไปนี้ -> รูปที่ 8 ระบบภายใน ระบบป้องกันต้องอยู่ภายในย่านป้องกัน ซึง่ ทาง วสท.ได้เรียบเรียงขึน้ ตามมาตรฐานการป้องกัน
. ย่านป้องกัน 0A เป็นย่านทีไ่ ด้รบั ความรุนแรงอันเนือ่ ง ฟ้าผ่า 1 หรือสูงกว่า เช่น การใช้กำ� บังสนามแม่เหล็ก ฟ้าผ่าตามมาตรฐาน IEC 62305-1, 2, 3, 4 ขึ้น
มาจากฟ้าผ่าโดยตรง และได้รับสนามแม่เหล็ก เพื่อช่วยลดทอนสนามแม่เหล็กที่เหนี่ยวน�ำขึ้น เป็นต้น เนื้อหาที่ได้กล่าวถึงในตอนที่ 1 นี้ได้ครอบคลุม
ไฟฟ้าจากฟ้าผ่าเต็มขนาด ระบบที่อยู่ภายใน เนื้อหาที่เกี่ยวกับข้อก�ำหนดทั่วไป ส�ำหรับในตอนที่ 2
อาจได้รบั กระแสเสิร์จฟ้าผ่าทั้งหมดหรือบางส่วน 6.4 การป้องกันระบบสาธารณูปโภค จะต้องเป็นไป ผูเ้ ขียนขอกล่าวถึงเรือ่ งการบริหารความเสีย่ ง โดยจะขอ
. ย่านป้องกัน 0B เป็นย่านที่ได้รบั การป้องกันจาก ตามข้อก�ำหนดต่อไปนี้ ยกตัวอย่างประกอบความเข้าใจและแนะน�ำโปรแกรม
ฟ้าผ่าโดยตรง แต่ยังคงได้รับผลกระทบสนาม 6.4.1 ต้องอยู่ภายในย่านป้องกันฟ้าผ่า 0B หรือ เพื่อช่วยประเมินความเสี่ยงและอ�ำนวยความสะดวก
แม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่าเต็มขนาด ระบบที่อยู่ สูงกว่า เพื่อลดความเสียหายทางกายภาพ ซึ่งสามารถ ในการใช้งานต่อไป
ภายในอาจได้รบั กระแสเสริจ์ฟ้าผ่าบางส่วน ท�ำได้โดยการเลือกใช้ระบบใต้ดินแทนระบบเหนือดิน
. ย่านป้องกัน 1 เป็นย่านซึ่งกระแสเสิร์จถูกจ�ำกัด เป็นต้น
โดยการแยกไหลของกระแสและโดยอุ ป กรณ์ 6.4.2 ต้องอยูภ่ ายในย่านป้องกันฟ้าผ่า 1 หรือสูง
ป้องกันเสิรจ์ ทีบ่ ริเวณรอยต่อระหว่างย่านป้องกัน กว่า เพื่อป้องกันแรงดันเกินที่อาจท�ำให้ระบบล้มเหลว
. ย่านป้องกัน 2, …, n เป็นย่านซึ่งกระแสเสิร์จ ซึ่งสามารถท�ำได้โดยการจ�ำกัดแรงดันเกินโดยการติด
อาจถูกจ�ำกัดมากขึ้นไปอีก โดยการแยกไหลของ ตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่เพียงพอ เป็นต้น
กระแส และโดยอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่บริเวณ
รอยต่อระหว่างย่านป้องกัน
S1 Flash to the
structure

LPZ 0A
S3 Flash to a service
connected to LPZ 0g
the structure
Equipotential SPD 0g/1 Safety distance
bonding by against too high เอกสารอ้างอิง
means of SPD a magnetic field [1] วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
SPD 0A/1 พ.ศ. 2553 มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 1 ข้อก�ำหนดทัว่ ไป
LPZ 1 (Thai Standard : Protection against lightning Part 1 General
Rolling sphere Rolling sphere Principles).
radius radius [2] มงคล ปุษยตานนท์ และบงกช สุขอนันต์ ภาควิชา
วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
S4 Flash near a service SPD 1/2 S2 Flash near มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2556 บทความวิชาการ วารสาร
connected to to the วิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม -
the structure LPZ 2 structure
ธั น วาคม 2556, ระบบป้ อ งกั น ฟ้ า ผ่ า ภายนอกสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง
SPD 1/2
LPZ 0g LPZ 0g (External Lightning Protection Systems)
Ground level [3] Thomas & Betts Limited (Furse), 2014. A Guide to
SPD 0A/1 BS EN 62305 Protection Against Lightning, 3rd edition.
[4] ABB Group. 06/2015. ABB Furse Product Catalogue
2015 (Earthing & lightning protection - Total solution
รูปที่ 8 แสดงย่านป้องกันฟ้าผ่าที่ได้รับความรุนแรงจากฟ้าโดยตรงและสนามแม่เหล็กไฟฟ้า catalogue)

16 ABB in brief

You might also like