You are on page 1of 16

โครงงานเตรียมสหกิจศึกษา

เรื่อง
การป้องกันการเกิด Arc Flash
Arc Flash Prevention

โดย

นายวิชปาล คงสมโภชน์ รหัส 63030573

อาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พศวีร์ ศรีโหมด

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ปีการศึกษา2565
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
2.1 อาร์คไฟฟ้า (Arc Flash) คืออะไร
2.2 การเกิดอันตรายจากไฟฟ้า
2.3 อันตรายของประกายไฟฟ้า
2.4 ระดับรุนแรงของ Arc Flash
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
1

บทที่1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
อันตรายของอาร์คไฟฟ้า โดยอาร์คไฟฟ้าสามารถท าอันตรายต่อร่างกายได้แม้มิได้สัมผัสกับส่วนที่ มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เนื่องจากอาร์คเป็นการเบรกดาวน์ผ่านก๊าซหรือผ่านอากาศ ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อเกิดแรงดัน
เกิน อากาศรอบตัวนามีอุณหภูมิสูงและหน้า สัมผัสทางไฟฟ้าแยกออกจากันในขณะที่มีกระแสไฟฟ้าปริมาณ
มากไหลผ่าน โดยอาร์คอาจทาให้เกิดระเบิดได้อีกด้วย ซึ่งทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้อย่างมาก ปัจจัยที่
ส่ ง ผลต่ อ ระดั บ ความบาดเจ็บ ที่ ไ ด้ร ับ จากอาร์ค ไฟฟ้ า ได้แ ก่ ระยะห่ า ง อุ ณ หภู ม ิ เวลา ความยาวอาร์ค
พื้นที่หน้าตัดของส่วนของร่างกายที่กระทบกับลาอาร์ค และมุมตกกระทบลาอาร์ค การบาดเจ็บจากพลังงาน
อาร์คเกิดจากพลังงานอาร์ค 3 รูปแบบดังนี้ พลังงานแสง พลังงานความร้อนและพลังงานทางกล เมื่อได้รับ
อัน ตรายจากอาร์คไฟฟ้าจะเกิดผลกระทบต่อร่างกายในหลายส่วน ดังนี้ ผิว หนัง ระบบประสาท ระบบ
กล้ามเนื้อ หัวใจและระบบทางเดินหายใจ ซึ่งผลกระทบดังกล่าวสามารถท าให้ผู้ได้รับบาดเจ็บรู้สึกช็ อก
เจ็บปวดเพียงเล็กน้อยหรืออาจจะรุนแรงไปจนถึงแก่ชีวิต เพื่อให้ปฏิบัติงานใกล้ส่วนที่มีไฟฟ้าได้อย่างปลอดภัย
ผู้ปฏิบัติงานใกล้กับไฟฟ้าควรเข้าใจถึงสาเหตุการเกิดอาร์ค ผลกระทบจากอาร์คและควรให้ความสาคัญกับ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในทางไฟฟ้า รวมไปถึงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และกลยุทธ์การป้องกัน
อันตรายจากไฟฟ้า ซึ่งจะทาให้สามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าได้อย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นการคานวณหาระดับความรุนแรงของอาร์คไฟฟ้า ที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้า จึงมีความสาคัญกับผู้ซึ่งไป
ปฎิบัติงาน ติดตั้ง ซ่อมบารุง ระบบไฟฟ้า เพื่อให้ปฏิบัติงานใกล้ส่วนที่มีไฟฟ้าอย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
2

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.2.1 เพื่อลดความเสียหายต่อทรัพย์สินในกรณีที่เกิด Arc Flash
1.2.2 เพื่อป้องกันอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงาน
1.2.3 เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้า
1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 สามารถสร้างโปรแกรมคานวณหาระดับความรุนแรงของ Arc Flash
1.3.2 กาหนดข้อแนะนาในการป้องกันของ Arc Flash
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 พัฒนาและตรวจสอบแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
1.4.2 ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานและระบบที่ติดตั้ง
1.4.3 ลดความเสียหายและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานบารุงรักษา
3

บทที่2
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2..1 อาร์คไฟฟ้า (Arc Flash) คืออะไร
อาร์คไฟฟ้า คือ การปล่อยพลังงานอย่างรวดเร็วจากการลัดวงจร (fault) จึงทาให้มีกระแสไฟฟ้าไหลข้าม
ช่องว่างอากาศระหว่างตัวนาเฟสหนึ่งไปยังตัวนาเฟสอื่น มักเกิดจากฉนวนบกพร่อง (Insulation Failure) หรือการ
ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ขณะปฏิบัติงาน (Human Error) ระหว่างที่เกิดการอาร์กอยู่นั้น อากาศจะกลายสภาพจาก
ฉนวนทางไฟฟ้าเป็นตัวนาทางไฟฟ้า จึงทาให้เกิดความร้อนและแสงสว่างที่จุดเกิดอาร์กสูงมาก ซึ่งทาให้ผิวหนังไหม้
หรือในบางครั้งอาจะรุนแรงถึงชีวิต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ขนาดของกระแสที่ลัดวงจร ระยะห่างของ
เจ้าหน้าที่กับจุดที่เกิดอาร์กแฟลช เป็นต้น
2.2 การเกิดอันตรายจากไฟฟ้า
การเกิดอันตรายจากไฟฟ้า จะแบ่งตามลักษณะของอันตรายได้ 2 ประเภทคือ อันตรายที่เกิดกับบุคคล
และอันตรายที่เกิดกับทรัพย์สิน รวมถึงอาจมีผลกระทบที่เกิดต่อเนื่องจากอุบัติเหตุจากไฟฟ้า ทั้งบุคคล ทรัพย์สิน
และชุมชนหรือสาธารณะ
ข้อแรก อันตรายจากไฟฟ้าที่เกิดกับบุคคล แบ่งออกได้ดังนี้
1.1 อันตรายจาก ไฟฟ้าดูด (Electric Shock) คือการมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านส่วนต่างๆของร่างกาย
โดยที่ไฟฟ้าจะดูดเราได้ก็ต่อเมื่อร่างกายสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้า 2 จุด และ 2 จุดนั้นมีแรงดันไฟฟ้าต่างกัน ทาให้
ร่างกายเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า โดยความรุนแรงของอันตรายจากไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับ
- แรงดันไฟฟ้าระหว่างจุดสัมผัส 2 จุด
- ขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย
- ระยะเวลาที่สัมผัสกับไฟฟ้า
- เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย
- ความต้านทานของร่างกาย ณ ขณะสัมผัสไฟฟ้า
4

การสัมผัสส่วนที่มีกระแสไฟฟ้า แบ่งการสัมผัสออกเป็น 2 แบบ คือ


1) การสัมผัสโดยตรง ( Direct Contact ) ความหมายคือร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งไปสัมผัสกับ
ตัวนาไฟฟ้าที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าแล้ว หรือไปสัมผัสกับบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ไปสัมผัสกับตัวนาไฟฟ้าที่มีการจ่าย
กระแสไฟฟ้าแล้วทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายไปครบวงจรที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า
2) สัมผัสโดยอ้อม ( Indirect Contact ) ความหมายคือร่างกายส่วนใสส่วนหนึ่งไปสัมผัสกับ
บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายครบวงจรลงดิน

รูปที่ 1 การโดนไฟดูดทั้งการสัมผัสโดยตรงและโดยอ้อม
1.2 อันตรายจาก ประกายไฟจากการอาร์ก (Arc Blast) การอาร์กเป็นการปล่อยประจุไฟฟ้า ออกสู่
อากาศในรูปของแสง เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมช่องว่างระหว่างสายตัวนามีค่าสูงเกินค่าความคงทนของ
ไดอิเล็กทริก (dielectric strength) ของอากาศ และมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอากาศ ทาให้เกิดดังนี้
5

รูปที่ 2 การอาร์กเป็นการปล่อยประจุไฟฟ้าออกสู่อากาศในรูปของแสง
1) รังสีความร้อน และแสงจ้า ทาให้เกิดอันตรายกับบุคคลที่ปฏิบัติงานหรืออยู่ใกล้
2) โลหะหลอมละลาย สร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์
3) แผลไหม้จากการอาร์ก (Arc Burns) ความรุนแรงของแผนไหม้มี 3 ระดับดังนี้
- ความรุนแรงระดับ 1 หนังกาพร้าผิวนอกถูกทาลายแผงบวมแดง
- ความรุนแรงระดับ 2 หนังกาพร้าตลอดทั้งชั้นและหนังแท้ส่วนตื้นๆ ถูกทาลายผิวหนังอาจหลุด
ลอดเห็นเนื้อแดง น้าเหลืองซึม การรักษาไม่ถูกวิธีอาจทาให้เกิดรอยแผลเป็นขึ้นได้
- ความรุนแรงระดับ 3 หนังกาพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ และเซลประสาทถูก
ทาลาย ผิวหนังทั้งชั้นหลุดลอกเห็นเนื้อแดงหรือเนื้อไหม้เกรียม บาดแผลประเภทนี้จะไม่หายเอง จาเป็นต้องรักษา
ให้ถูกวิธี อาจเกิดมีการดึงรั้งของแผลท าให้ข้อยึดติด เมื่อหายแล้วจะเป็นแผลเป็น บางรายจะพบแผลเป็นที่มี
ลักษณะนูน ถือเป็นบาดแผลที่ร้ายแรง
1.3 อันตรายจาก การระเบิดจากการอาร์ก (Arc Blast) เมื่อเกิดจากการอาร์กขึ้นในพื้นที่จากัด เมื่อ
อากาศได้รับความร้อนจากอาร์กก็จะขยายตัวอย่างรวดเร็ว อาจมีอุณภูมิสูงและความดันที่มีพลังงานสูง ทาให้บุคคล
ได้รับอันตรายจากการกระเด็น กระแทกกับของแข็ง หรือทาให้ตกจากที่สูง
6

รูปที่ 3 การระเบิดจากการอาร์ก
ข้อสอง อันตรายจากไฟฟ้าที่มีผลกับทรัพย์สิน แบ่งออกได้ดังนี้
2.1 ไฟฟ้าลัดวงจร (Short Circuit) คือการที่มีจุด 2 จุดในวงจรไฟฟ้ามาสัมผัสกัน มี 2 กรณี
1) การสัมผัสระหว่างสายไฟฟ้ากับสายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า
2) การสัมผัสระหว่างสายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้ากับดินหรือสายดิน
สาเหตุของไฟฟ้าลัดวงจร อาจเกิดจากฉนวนไฟฟ้าชารุดหรือเสื่อมสภาพ แรงดันที่ใช้เกินขนาดหรือ
มีกระแสไฟฟ้าเกินขนาดของสายไฟฟ้า และอาจเกิดจากการที่ตัวนาไฟฟ้าที่มีแรงดันต่างกันสัมผัสกันหรือ ตัวนา
ไฟฟ้าสัมผัสกับดินหรือสายดิน
เมื่อเกิดไฟฟ้าลัดวงจรแล้วจะมีผลให้ สายไฟฟ้าหรือเครื่องใช้อุปกรณ์ บริภัณฑ์ไฟฟ้าชารุดเสียหาย อาจ
ทาให้เกิดเพลิงไหม้ ทรัพย์สินเสียหาย และบุคคลที่อยู่ในที่เกิดเหตุได้รับอันตรายบาดเจ็บหรือเสียชีวิตได้
7
แนวทางในการป้องกันการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร
- เลือกอุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งที่ได้มาตรฐานและติดตั้งตามมาตรฐานที่กาหนด
- มีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่เป็นประจา
- ดูแลบารุงรักษา ทาความสะอาดเครื่องใช้ บริภัณฑ์ไฟฟ้าตามรอบระยะเวลา
- เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับรองมาตรฐาน มอก. หรือ มาตรฐานสากลอื่นๆ
- ศึกษาและใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ตามคู่มือที่ผู้ผลิดหรือวิศวกรกาหนด
เมื่อเกิดเพลิงไหม้ที่สายไฟฟ้า เครื่องใช้หรือบริภัณฑ์ไฟฟ้า การดับเพลิงไหม้ที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร
จะต้องดาเนินการดังนี้
- ตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกถ้าทาได้
- แจ้งเหตุเพลิงไหม้ยังหน่วยดับเพลิงในพื้นที่ หรือ โทรศัพท์แจ้งเหตุไฟไหม้ ขอความช่วยเหลือได้
ตลอด 24 ชั่วโมงที่หมายเลข 199
- ใช้ถังดับเพลิง ชนิด Class C (Electrical Equipment) ที่เหมาสมกับเพลิงไหม้ที่เกิดกับ
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ยังมีกระแสไฟฟ้าอยู่
- ในกรณีที่เป็นไฟฟ้าแรงสูง หม้อแปลง เสาไฟฟ้า ให้แจ้งการไฟฟ้าพื้นที่ การไฟฟ้านครหลวง แจ้ง
โทร 1130 และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคโทร 1129
2.2 การเกิดเพลิงไหม้ เนื่องจากความร้อนจากบริภัณฑ์ไฟฟ้า ยังเกิดจากอีกหลายสาเหตุดังนี้
- ความร้อนจากการใช้งานเกินกาลังของเครื่องใช้ไฟฟ้า
- ความร้อนจากการใช้งานตามปกติของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดความร้อน
- ความร้อนจากการต่อสายไฟฟ้าไม่แน่น ไม่ได้มาตรฐาน
- ขาดการตรวจสอบและบารุงรักษา
- การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าพร้อมกันหลายเครื่องในเต้ารับหรือสายพ่วงเดียวกัน
- ผู้ปฏิบัติงานขาดความรู้ความสามารถในการซ่อมบารุงษา
- การติดตั้งไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
8

2.3 อันตรายของประกายไฟฟ้า
การลัดวงจรและประกายไฟฟ้า จะกาเนิดความร้อนที่สามารถเผาไหม้เสื้อผ้า และผิวหนังของผู้ที่อยู่ใกล้ใน
ระยะแม้ห่าง 10 ฟุตก็อาจได้รับบาดเจ็บได้ เนื่องจากพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นอาจมีค่าสูงถึง 20 ,000 องศา
เซลเซียส หรือเทียบได้กับ 4 เท่าของอุณหภูมิพื้นผิวของดวงอาทิตย์เป็นอันตราย ต่อบุคคลผู้ซึ่งต้องปฏิบัติงานอยู่ใน
บริเวณใกล้เคียง
อาร์กจากไฟฟ้ามีพลังงานสูงพอที่จะทาอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ และอาร์กยังมีความร้อนสูง มากจน
ทาให้วัตถุละลายได้ ความร้อน ไอของโลหะที่หลอมละลาย และแสงจ้า เป็นอันตรายต่อบุคคล โดยมี ลักษณะการ
เกิดได้ดังนี้
1. รังสีความร้อนและแสงจ้า อาร์กจะแผ่รังสีออกไปทาให้ผู้ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงได้รับอันตราย เกิดแผลไฟ
ไหม้ที่รุนแรงถึงแก่ชีวิตได้สาหรับผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
(PPE) ที่เหมาะสมในการป้องกันอันตรายจากประกายไฟ ต้องสวมใส่ชุดปฏิบัติงานที่ทนต่อ ประกายไฟและการลุก
ไหม้ อุปกรณ์และเครื่องมือไฟฟ้าต้องมีการต่อลงดิน และมีป้ายเตือนอันตรายที่เกี่ยวข้อง
2. โลหะหลอมละลาย อาร์กจากไฟฟ้ า แรงสู งสามารถท าให้ช ิ้น ส่ว นอุป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ เป็น ทองแดง และ
อะลูมิเนียมหลอมละลายได้ หยดโลหะหลอมเหลวดังกล่าวอาจถูกแรงระเบิดจากคลื่นความดันผลักให้กระเด็นไป
เป็นระยะทางไกลๆ ได้ ถึงแม้ว่าหยดโลหะเหล่านี้จะแข็งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังมีความร้อนเหลืออยู่มากพอที่จะทา
ให้เกิดการไหม้อย่างรุนแรง หรือทาให้เสื้อผ้าปกติทั่วไปลุกติดไฟได้ แม้ว่าจะอยู่ห่างจากจุดเกิดเหตุมากกว่า 3 เมตร
แล้วก็ตาม ดังนั้นจะต้องดูแลไม่ให้มีวัตถุที่ติดไฟได้อยู่ใกล้ รวมทั้งมีวิธีการป้องกันที่เหมาะสมด้วย
9

รูปที่4 รังสีความร้อน แสงจ้า และโลหะหลอมละลายที่เกิดจากอาร์ก


2.4 ระดับความรุนแรงของ Arc Flash
พื้นฐานที่สาคัญในการป้องกันอันตรายจากการอาร์คในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า ข้อแรกนั้นคือการสวมใส่
อุปกรณ์ป้องกัน (Arc Flash PPE) มาตรฐานNFPA 70Eได้แนะน าให้ผ ู้ปฏิบัติงานต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้ องกัน
(Arc Flash PPE) ก่อนการปฏิบัติงานตามระดับการป้องกัน ระดับการป้องกัน (Arc-Flash PPE Category) อ้างอิง
ตามมาตรฐานNFPA 70Eได้จาแนกออกเป็น 4 ระดับดังนี้
ระดับที่ 1 : การป้องกันอย่างน้อย 4 cal/cm^2 (16.75 J/cm^2)
ระดับที่ 2 : การป้องกันอย่างน้อย 8 cal/cm^2 (33.5 J/cm^2)
ระดับที่ 3 : การป้องกันอย่างน้อย 25 cal/cm^2 (104.7 J/cm^2)
ระดับที่ 4 : การป้องกันอย่างน้อย 40 cal/cm^2 (167.5 J/cm^2)
10

ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย ผู้ปฏิบัติงานจาเป็นต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับค่าพลังงานที่คานวณได้
อุปกรณ์PPEที่จาเป็นต้องใช้ตามมาตรฐานNFPA 70Eดังนี้

กรณีค่าพลังงานจากการอาร์คที่คานวณได้<12cal/cm^2
– ชุดป้องกันArc-ratedและอุปกรณ์ที่มีระดับการป้องกัน>ค่าพลังงานจากการอาร์คที่คานวณได้
– มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวหรือชุดหมี
– แผ่นกระบังหน้าและถุงคลุมศีรษะแบบอ่อน(Balaclava)หรือถุงคลุมศีรษะแบบปกปิดได้ตั้งแต่ศีรษะถึงลาคอ
– หมวกนิรภัย
– แว่นตานิรภัยหรือแว่นครอบตา(goggles)
– อุปกรณ์ป้องกันเสียง
– ถุงมือหนังชนิดHeavy-duty
– รองเท้าหนัง

กรณีค่าพลังงานจากการอาร์คที่คานวณได้>12cal/cm^2
– ชุดป้องกันArc-ratedและอุปกรณ์ที่มีระดับการป้องกัน>ค่าพลังงานจากการอาร์คที่คานวณได้
– มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวหรือชุดหมี
– ถุงคลุมศีรษะแบบปกปิดได้ตั้งแต่ศีรษะถึงลาคอ
– หมวกนิรภัย
– แว่นตานิรภัยหรือแว่นครอบตา(goggles)
– อุปกรณ์ป้องกันเสียง
– ถุงมือป้องกันArc-rate
– รองเท้าหนัง
11

รูปที่ 5 อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล ตามมาตรฐาน NFPA 70E


12

บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
3.2 แผนผังการดาเนินงาน

เริ่มต้น

ศึกษาทฤษฏี Arc Flash

ทาการออกแบบโปรแกรม
คานวณ

ตรวจสอบหาข้อผิดพลาด แก้ไข
13

สรุป
ขั้นตอนที่ 1 เริ่มต้น
ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาทฤษฎี Arc Flash

Arc Flash (อาร์ ก แฟลช) หรื อ ในภาษาไทยจะเรี ย กกั น ว่ า ประกายไฟฟ้ า โดยมั น จะเกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านช่องว่างของอากาศระหว่างตัวนาไฟฟ้า จนทาให้เกิดเป็นประกายไฟฟ้าขึ้นมา โดยที่ประกาย
ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนั้นจะมีความจ้าของแสงสูง อีกทั้งยังมีพลังงานของความร้อนในระดับที่ก่อให้เกิดอันตรายได้

โดยประกายไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนั้น นอกจากที่เราจะไม่สามารถควบคุมมันได้แล้ว มันยังส่งผลทาให้เกิดการไหลของ


กระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติอีกด้วย เช่น กระแสไฟฟ้าไหลจากเฟสใดเฟสหนึ่งลงดิน หรือ กระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหล
จากเฟสสู่เฟส ที่ทาให้เกิดการไอออนไนซ์ของอากาศโดยรอบ จนเกิดเป็นประกายไฟและมีแสงวาบขึ้นมา

อันตรายของประกายไฟฟ้านั้น นอกจากจะทาให้เกิดการลัดวงจรภายในระบบไฟฟ้าแล้ว ความร้อนจากประกายไฟ


ที่เกิดขึ้นนั้นยังสามารถเผาไหม้เสื้อผ้าและผิวหนังของผู้ที่อยู่ใกล้ได้ แม้อยู่ในระยะห่างถึง 10 ฟุต แล้วก็ตาม
เนื่องจากพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นนั้น อาจมีค่าสูงถึง 20,000 องศาเซลเซียส หรือ เทียบได้กับ 4 เท่าของ
อุณหภูมิพื้นผิวดวงอาทิตย์ ดังนั้น ประกายไฟจึงเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก

ขั้นตอนที่ 3 ทาการออกแบบโปรแกรมคานวณ
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ Arc flash
- มาตรฐาน IEEE 1584 Guide for Performing Arc Flash Hazard เป็ นมาตรฐานคานวณ Arc flash. โดย
สากลโปรแกรมจาลองระบบไฟฟ้าสากลทัว่ ไป ดังเช่น ETAP จะอ้างอิงคานวณตามมาตรฐานนี้
- NFPA 70E, titled Standard for Electrical Safety in the Workplace
เป็ นมาตรฐานการปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัยและการป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นในทางานเกี่ยวข้องกับไฟฟ้า มี
การกาหนดพื้นที่ทางานใกล้ตไู ้ ฟฟ้า แบ่งระดับอันตราย/ความเสี่ ยง [Hazard Risk Category (HRC)
Classification] ตามขอบเขตจากตัวนา ขอบเขตอาร์ก, พื้นที่เข้มงวดการเข้าใกล้ และพื้นที่จากัดการเข้าใกล้ ตาม
ค่าคานวณพลังงานอินซิเดนซ์ (แคลอรี /ตารางเซนติเมตร ). ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ตัวแปร ระดับแรงดันไฟฟ้า, กระแส
ลัดวงจร, กระแสอาร์ก, ระยะ ห่างในการปฏิบตั ิงาน และเวลาที่ใช้ในการตัดวงจร และมีการกาหนด. กาหนด
ชนิดเสื้ อผ้าและอุปกรณ์ป้องกันส่ วนบุคคล [Protective Clothing and Personal Protective Equipment (PPE)]
สาหรับใช้ปกป้องอันตราย/ความเสี่ ยงในแต่ละระดับ HRC
14

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบหาข้อผิดพลาด
ตรวจสอบหาจุดบกพร่อง และปัญหาต่างๆในการคานวณหาค่ากระแสลัดวงจรและแก้ไข
ขั้นตอนที่ 5 สรุป
เราสามารถป้องกัน การสัมผัส โดยตรงกับประกายไฟฟ้าได้ โดยการสวมอุปกรณ์ป้องกันส่ว นบุค คล
(Personal Protective Equipment : PPE) ที่ได้รับมาตรฐานและเหมาะสมกับระดับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการสวมใส่เพื่อป้องกันประกายไฟฟ้านั้น จาเป็นที่จะต้องมีความทนทานต่อพลังงานความร้อน
ของประกายไฟฟ้า โดยการเลือกอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสมกับผู้สวมใส่จาเป็นที่จะต้องอาศัยข้อมูลอ้างอิงจาก
ตารางแบ่งชนิดของอันตรายจากประกายไฟฟ้า ตามมาตรฐาน NFPA70E ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จะมีการระบุรายการ
ชนิดของงานด้านไฟฟ้า ระดับแรงดันไฟฟ้าต่าง ๆ และระดับของอุปกรณ์ป้องกันที่ควรเลือกใช้กับงานของไฟฟ้าใน
ด้านต่าง ๆ

You might also like