You are on page 1of 39

12/05/61

บรรยายโดย…

กิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท
อนุกรรมการเลือ
่ นระดับฯ วุฒ ิ & สามัญ สาขาไฟฟ้ า
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
1

Part I งานวิศวกรรมควบคุม
Part I งานวิศวกรรมควบคุม

งานพิจารณา
งาน
ขอบเขตความสามารถ วางโครงการ
ตรวจสอบ
Part II
ของผู้ได้รับใบอนุญาต

1
12/05/61

การศึกษา
• การให้คําแนะนํา
การวิเคราะห์ทางเลือก
• การตรวจวินิจฉัย ที่เหมาะสม
• การตรวจรับรองงาน การวางแผนของโครงการ

การใช้หลักวิชาเพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียดในการ การอํ า นวยการควบคุ ม หรื อ การควบคุ ม เกี่ ย วกั บ


ก่อสร้าง การสร้าง การผลิต หรือการวางผังโรงงาน การก่อสร้าง การสร้าง การผลิต การติดตั้ง การซ่อม
การดัดแปลง การรื้อถอนงาน หรือการเคลื่อนย้ายงาน
และเครื่อ งจั ก ร โดยมี ร ายการคํา นวณ แสดงเป็ น ให้เป็นไปโดยถูกต้องตามรูป แบบ และข้อกําหนดของ
รูปแบบ ข้อกําหนด หรือประมาณการ หลักวิชาชีพวิศวกรรม

2
12/05/61

งานพิจารณาตรวจสอบ งานอํานวยการใช้
 การค้นคว้า การวิเคราะห์ การทดสอบ การหา
การอํานวยการดูแลการใช้ การบํารุงรักษางาน
ข้อมูลและสถิติต่างๆ หรือใช้เป็นหลักเกณฑ์
ทั้ง ที่เป็นชิ้นงานหรือระบบ ให้เป็นไปโดยถูกต้อง
หรือประกอบการตรวจสอบวินิจฉัยงาน
ตาม รู ป แบบ และข้ อ กํ า หนดของหลั ก วิ ช าชี พ
หรือในการสอบทาน วิศวกรรม
งานพิจารณา
ตรวจสอบ

งานไฟฟ้ ากําลัง

ขอบเขตความสามารถ
Part II
ของผู้ได้รับใบอนุญาตแต่ละระดับ

3
12/05/61

1) งานวางโครงการ 2) งานออกแบบและคํานวณ
งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร
ที่มีขนาดรวมกันไม่ 1) ระบบหรือ ที่มีขนาดไม่เกิน ที่มีขนาดไม่เกิน
เกิน 50,000 kVA อุปกรณ์ไฟฟ้า 1,000 kVA หรือ 50,000 kVA หรือ
ที่มีขนาดแรงดัน ที่มีขนาดแรงดัน ทําได้ทุกขนาด
ระบบการ ทําไม่ได้ หรือ ที่มีขนาด ทําได้ทุกขนาด ระหว่างสาย ระหว่างสายใน
ผลิตไฟฟ้า แรงดันสูงสุด ในระบบไม่เกิน ระบบไม่เกิน 36 kV
12 kV
ระหว่างสายใน
ระบบไม่เกิน 36 kV

2) งานออกแบบและคํานวณ (ต่อ) 2) งานออกแบบและคํานวณ (ต่อ)


งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร
2) ระบบไฟฟ้า เฉพาะระบบ อุปกรณ์ไฟฟ้า 3) ระบบสัญญาณ
สําหรับอาคาร ไฟฟ้าที่มีขนาด ที่มีขนาดไม่เกิน ทําได้ทุกขนาด เตือนอัคคีภัย ทําได้ทุกขนาด ทําได้ทุกขนาด ทําได้ทุกขนาด
สาธารณะ ไม่เกิน 1,000 10,000 kVA และระบบ
kVA
ป้องกันฟ้าผ่า

4
12/05/61

3) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต 3) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต (ต่อ)

งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

ที่มีขนาดไม่เกิน ที่มีขนาดแรงดัน 2) อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่มีขนาดไม่เกิน


1) งานระบบ ทําได้ทุกขนาด 100,000 kVA
ไฟฟ้า 10,000 kVA ระหว่างสายใน ทําได้ทุกขนาด
หรือที่มีขนาด ระบบไม่เกิน หรือที่มีขนาด
แรงดันระหว่าง 115 kV แรงดันระหว่าง
สายในระบบไม่ สายในระบบ
เกิน 36 kV ไม่เกิน 115 kV

3) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต (ต่อ) 3) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต (ต่อ)

งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

ที่มีขนาดการใช้ ที่มีขนาดการใช้ 4) ระบบสัญญาณ ทําได้ทุกขนาด ทําได้ทุกขนาด ทําได้ทุกขนาด


3) ระบบไฟฟ้า ทําได้ทุกขนาด
ไฟฟ้ากําลัง ไฟฟ้ากําลังรวมกัน เตือนอัคคีภัย
สําหรับอาคาร
รวมกันไม่เกิน ไม่เกิน 20,000 และระบบ
สาธารณะ 10,000 kVA kVA ป้องกันฟ้าผ่า

5
12/05/61

4) งานพิจารณาตรวจสอบ 5) งานอํานวยการใช้
งาน ภาคีวศิ วกร สามัญวิศวกร วุฒ วิ ศิ วกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

ทุกประเภททุก ที่มีขนาดไม่เกิน - ระบบไฟฟ้าที่มีขนาด


10,000 kVA หรือ สูงสุดระหว่างสายใน
งานพิจารณา ขนาด ยกเว้น ทุกประเภท ทุกประเภท งานอํานวย ที่มีขนาดแรงดัน ระบบไม่เกิน 115 kV ทุกประเภท
ตรวจสอบ การวิเคราะห์ การใช้ระบบ สูงสุดระหว่างสาย - อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มี และขนาด
ระบบไฟฟ้า ภายในระบบ ขนาดไม่เกิน 100,000
หรืออุปกรณ์ ไม่เกิน 36 kV kVA หรือที่มีขนาด
ไฟฟ้า แรงดันสูงสุดระหว่าง
สาย ในระบบไม่
เกิน 115 kV

งานไฟฟ้ าสื่ อสาร 1) ระบบเครือข่ายที่มีสถานีรบั ส่ง และถ่ายทอด เพื่อกระจายคลื่น


แม่เหล็กไฟฟ้า
งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

1) งานวาง ทําไม่ได้ ที่มีกําลังส่งแต่ละสถานี ทําได้ทุกขนาด


โครงการ ไม่เกิน 5 kW

6
12/05/61

2) งานออกแบบและคํานวณ
งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต 3) งานพิจารณาตรวจสอบ
งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

-ระบบรับส่ง แยก ที่มีช่องการ ทําได้ทุกขนาด ทําได้ทุกขนาด


สื่อสารไม่เกิน -ระบบรับส่ง แยก ทําได้ทุกประเภท ทําได้ทุกประเภท ทําได้ทุกขนาด
หรือรวมสัญญาณ หรือรวมสัญญาณ
ส่ง โดยใช้คลื่น 240 วงจรเสียง
ส่ง โดยใช้คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า หรือเทียบเท่า
แม่เหล็กไฟฟ้า
-ระบบกระจาย ที่มีกําลังส่งแต่ละ ทําได้ทุกขนาด
คลื่นแม่เหล็ก สถานีไม่เกิน 5
ไฟฟ้า kW

4) งานอํานวยการใช้
ระบบกระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ระด ับของวิศวกร
งาน ภาคีวิศวกร สามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร

-กําลังส่งแต่ละ
วุฒ ิวศิ วกร
ที่มีขนาดไม่เกิน ที่มีขนาดไม่เกิน ทําได้ทุกขนาด
สถานี 2 kW 5 kW
สามัญวิศวกร
ภาคีวศิ วกรพิเศษ
ภาคีวศิ วกร

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 28

7
12/05/61

ข้ อแนะนําในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร ข้ อแนะนําในการยื่นขอเลื่อนระดับเป็ นวุฒ ิวศิ วกร


การขอเลื่อนระดับวิศวกรควบคุม การขอเลื่อนระดับวิศวกรควบคุม
เป็ น จากระดับ เป็ น
 ประกอบอาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวศิ วกร  ประกอบอาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกร
หลังจากได้ ใบอนุญาต ไม่ น้อยกว่ า 3 ปี ( หลังจากได้ ใบอนุญาต ไม่ น้อยกว่ า 5 ปี
 ยื่นแสดงผลงานและปริมาณงาน ที่รับรองโดยวิศวกรระดับ  ยื่นแสดงผลงานและปริมาณงาน ( ควรอย่ างน้ อย
“สามัญวิศวกรขึน้ ไป” สาขาเดียวกัน 10 งาน) ที่รับรองโดยวิศวกรระดับ “วุฒ ิวศิ วกร”
 แสดงรายละเอียดงานดีเด่ น 2 ถึง 5 งาน ( อย่ างน้ อย 2 งาน ) สาขาเดียวกัน
หมายเหตุ ผลงานและปริมาณงานฯ ที่เสนอต้ องจัดอยู่ในประเภทและขนาดของงาน  แสดงรายละเอียดงานดีเด่ น 2 ถึง 5 งาน
วิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2550 ( อย่ างน้ อย 2 งาน )
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 29 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 30

เอกสารทีต ้
่ ้องใชประกอบการยื น
่ ฯ ข ้อแนะนํ าการจัดทําเอกสาร
(เลือ
่ นระดับ) ประกอบการยืน
่ แบบฯ (เลือ่ นระดับ)

1. คําขอร ับใบอนุญาตเป็นผูป
้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
1. คําขอรับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพ
(เลือ
่ นระด ับ สาม ัญวิศวกร/วุฒวิ ศ
ิ วกร)
วิศวกรรมควบคุม (เลือ
่ นระดับ)

2. ประว ัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
2. ประวัตก
ิ ารประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

3. บ ัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม เพือ
่ ขอเลือ
่ นระด ับ
3. บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพือ
่ ขอเลือ
่ นระดับ
4. รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวก ขนาด 2.5 ซม. ถ่ายไว้ไม่เกิน 1 ปี เขียน
่ ด้านหล ัง จํานวน 2 รูป
ชือ

5. สําเนาใบอนุญาตผูย
้ น
ื่ คําขอ (ปัจจุบ ัน) และผูร้ ับรองผลงาน (ลงนาม 31
4. รายงานผลงานดีเด่นและรายละเอียดประกอบอืน
่ ๆ
สําเนาถูกต้อง)
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 32

8
12/05/61

1. ข ้อแนะนํ าการกรอกแบบคําขอฯ การรับรองสําเนาใบอนุญาต


(เลือ
่ นระดับ)
1. แบบ "คําขอร ับใบอนุญาตเป็นผูป
้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม (เลือ
่ นระด ับ)"

- ผูข้ อใบอนุ ญาตฯ ต้อง


กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
ผูเ้ ซ็นรับรองต้องกรอกรายละเอียดเพิม่ เติมดังนี้

1.ที่อยู่ปจั จุบนั และเบอร์โทรของผูร้ บั รองผลงาน


2.สถานที่ทาํ งานปัจจุบนั ของผูร้ บั รองผลงาน
3.ความเกี่ยวข้องกับผูย้ ่นื เลือ่ นระดับ
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 33 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 34

ข ้อแนะนํ าการจัดทําเอกสาร 2.ข ้อแนะนํ าการกรอกแบบ


ประกอบการยืน
่ แบบฯ (เลือ่ นระดับ) "ประวัตก
ิ ารประกอบวิชาชพ ี วิศวกรรม"
2. แบบ "ประวัตกิ ารประกอบวิชาชีพวิศวกรรม"
1. คําขอรับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม - กรอกเฉพาะประวัตกิ ารประกอบวิชาชีพ
ควบคุม (เลือ
่ นระดับ) วิศวกรรมควบคุมทุกแห่ งที่ทํางาน
ไม่ ต้อง กรอกประวัติการทํางาน ในช่ วงที่
ใบอนุญาตขาดอายุ
2. ประวัตก
ิ ารประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ไม่ ต้อง กรอกประวัติการทํางาน สํ าหรับงานที่
ไม่ ได้ จดั อยู่ในประเภทและขนาดที่กระทรวงฯ
ควบคุม
3. บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพือ
่ ขอเลือ
่ นระดับ ระบุลกั ษณะงานที่ทาํ เช่ น งานควบคุมการสร้ างหรื อ
การผลิต หรื อ งานออกแบบและคํานวณ เป็ นต้ น

4. รายงานผลงานดีเด่นและรายละเอียดประกอบอืน
่ ๆ ระบุตําแหน่ ง หน้ าที่ และสถานที่ทํางาน ที่สังกัด
การประกอบวิชาชีพ เรียงลําดับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 35 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 36

9
12/05/61

ตย.ประวัตก ี
ิ ารประกอบอาชพ ข ้อแนะนํ าการจัดทําเอกสาร
ประกอบการยืน
่ แบบฯ (เลือ่ นระดับ)
ลําดับ วัน เดือน ปี ตําแหน่ งหน้าที่ ลักษณะงานที่ทาํ
ประกอบวิชาชีพ และที่ทาํ งาน 1. คําขอรับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
1 1 ส.ค.38 -30 ต.ค. 39 วิศวกรไฟฟ้ า โครงการก่อสร้าง COE Center เฟส 1 ควบคุม (เลือ
่ นระดับ)

บริษทั แห่งหนึ่ ง อาคารศูนย์การค้า Tower A


: อํานวยการติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้ ากําลัง 2. ประวัตก
ิ ารประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

2 1 พ.ย.39 -31 ธ.ค.40 วิศวกรไฟฟ้ า โครงการก่อสร้าง COE Center เฟส 2


บริษทั แห่งหนึ่ ง อาคาร Tower B 3. บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพือ
่ ขอเลือ
่ นระดับ
: อํานวยการติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้ ากําลัง
3 1 ม.ค.41 -31 ส.ค. 41 วิศวกรไฟฟ้ า โครงการก่อสร้างโรงงาน X
4. รายงานผลงานดีเด่นและรายละเอียดประกอบอืน
่ ๆ
บริษทั แห่งหนึ่ ง : อํานวยการติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้ ากําลัง
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 37 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 38

ี สดงปริมาณฯ ข ้อแนะนํ า...ต่อ


ข ้อแนะนํ าการกรอกบัญชแ
(1) ลําด ับ ระบุลําด ับผลงานตงแต่
ั้ ได้ร ับใบอนุญาตฯ จนถึงปัจจุบ ัน
3. แบบ "บัญชีแสดงประมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิ
ใ ชาชีพ (2) รายละเอียดงาน ระบุขนาด และรายละเอียดของงานให้ช ัดเจนมากทีส่ ด

วิศวกรรมควบคุม เพือ่ ขอเลือ่ นระดับ"
 โครงการอะไร อยูท
่ ไี่ หน
 ทํากิจการอะไร ขนาดอาคาร ผลผลิต
 ขนาดแรงด ันไฟฟ้า, ขนาด kW หรือ kVA

 ระบุเจ้าของโครงการ บริษ ัทผูอ


้ อกแบบ

บริษ ัททีป
่ รึกษา วิศวกรผูค
้ ม
ุ งาน ผูร้ ับเหมาหล ัก

หรือผูร้ ับเหมาช่วงระบบไฟฟ้า (ถ้าทราบ)

 ระบุประเภทอุปกรณ์ไฟฟ้า ขนาดละจํานวน

และมีระบบอะไรบ้างประกอบอยูใ่ นโครงการ

่ ําค ัญ)
(เลือกเฉพาะทีส

 ระบุมล
ู ค่าโครงการ วงเงินเท่าใด (ถ้าทราบ)

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 39 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 40

10
12/05/61

ข ้อแนะนํา...ต่อ ข้อแนะนํา...ต่อ

(4) ลักษณะงานที่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง


(3) เริม
่ – แล้วเสร็ จ ระบุว ัน เดือน ปี ทีเ่ ริม
่ งานและแล้วเสร็ จ ในแต่ละงาน
ระบุลกั ษณะงาน ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2550 เช่น งานออกแบบและคํานวณ, งานควบคุม
การสร้างหรือการผลิต, งานพิจารณาตรวจสอบ หรือ งานอํานวยการใช้ เป็ นต้น

ต้ องเป็ นงานทีท่ าํ เสร็จและใช้ ระบุลกั ษณะงาน ตามกฎกระทรวง


งานแล้ว พ.ศ. 2550

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 41 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 42

ข ้อแนะนํ า...ต่อ ข ้อแนะนํ า...ต่อ


(5) ขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (6) ผลของงาน
ระบุว่าปฏิบตั งิ านด้วยตนเอง หรืออํานวยการควบคุม อํานวยการติดตัง้ /ซ่อม/ใช้ หรือ  ระบุว่ามีข้อขัดข้ อง หรื อปัญหาระหว่ างปฏิบตั งิ านอย่างไรและได้แก้ไข
เป็ นผูร้ บั ผิดชอบตามสายบังคับบัญชาของงานนั้นๆ ตามขอบเขตอํานาจหน้าที่ อย่ างไร (ข้ อมูลการแก้ ปัญหาโดยใช้ ความรู้ทางวิศวกรรมฯ จะเป็ นประโยชน์ กบั
 กรณี ท่ปี ระเภทและขนาดของงานเกินจากขอบเขตอํานาจที่ทาํ ได้ ต้องระบุว่า ปฏิบตั งิ าน ผู้ขอฯ)
ภายใต้การอํานวยการและความรับผิดชอบของวิศวกรระดับที่มีอาํ นาจ  หรื องานสํ าเร็จเรียบร้ อยดี

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 43 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 44

11
12/05/61

ข ้อแนะนํ า...ต่อ อย่าลืม....!


(7) บันทึกและลายมือชื่อผูร้ บั รอง
การรับรองผลงาน ระบุช่ือ เลขที่ใบอนุ ญาตฯ ของผูร้ บั รองให้ชดั เจน ผู้ขอใบอนุญาตฯ ต้องเขียนผลงานให้ชดั เจน และ ปฏิ บตั ิ งานจริ ง เป็ นผลงาน
ต้องเป็ นระดับที่สูงกว่าในสาขาและแขนงเดียวกับผูข้ อรับใบอนุ ญาต อย่างน้อย 1 คน และ ของตัวเองเท่านัน้
ลงชื่อกํากับรับรองผลงานในแต่ละงาน พร้อมทัง้ ระบุความเกี่ยวข้องด้วย ความปลอดภัย จรรยาบรรณแห่งวิ ชาชีพวิ ศวกรรมเป็ นสิ่ งสําคัญที่สดุ ของ
 แนบสําเนาใบอนุ ญาตของผูร้ บั รองพร้อมรับรองสําเนาฯ วิ ศวกร เพราะขอบเขตและอํานาจหน้ าที่มีผลกระทบต่อประเทศชาติ มากมาย

ผู้มีใบอนุญาตฯ ต้องเป็ นวิ ศวกรที่ดี มีจรรยาบัญและซื่อสัตย์ต่อวิ ชาชีพ

(8) หมายเหตุ
หมาย
ใช้เพือ
่ ขยายความหรือ
แสดงเหตุผลเพิม ่ เติม ใน
ข้อ (1)-(7)
45 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 46
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์

ข ้อแนะนํ าการจัดทําเอกสาร
คําเตือน !!! ประกอบการยืน
่ แบบฯ (เลือ่ นระดับ)

1. คําขอรับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


หากผูย
้ น
ื่ มีเจตนาทุจริต........ ควบคุม (เลือ
่ นระดับ)

ยืน
่ บัญชีแสดงปริมาณงานและคุณภาพงานอันเป็ น
เท็จอาจมีความผิดตามกฎหมายดังนี้ 2. ประวัตก
ิ ารประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
• เป็ นการกระทําทีข
่ ด
ั ต่อข ้อบังคับสภาวิศวกรว่าด ้วย
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรมและการประพฤติผด ิ
3. บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการ
จรรยาบรรณอันจะนํ ามาซึง่ ความเสือ ่ มเสียเกียรติศก
ั ดิแ์ ห่ง
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพือ
่ ขอเลือ
่ นระดับ
วิชาชีพ พ.ศ. 2543
• เป็ นการแจ ้งความเท็จต่อเจ ้าพนักงานซึง่ อาจมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 137 4. รายงานผลงานดีเด่นและรายละเอียดประกอบ
อืน
่ ๆ
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 47 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 48

12
12/05/61

การเขียนผลงานดีเด่น

ข้อแนะนําการจ ัดทํา
1. ต้ องเป็ นงาน ระดับสามัญวิศวกร
รายงานผลงานดีเด่น
2. 2 - 5 งาน ควรมีอย่ างน้ อย 2 งาน
3. ผลงานที่แสดงต้ อง มีความหลากหลาย
เช่ น เป็ นโรงงานผลิตภัณฑ์ ต่างกันมาก
เป็ นอาคารต่ างกัน เช่ น Office , Hospital ,

ทีใ่ ชความรู ้และประสบการณ์ใน Condo etc
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
เพือ ้
่ ใชประกอบการพิ จารณา 4. งานออกแบบ
ต้ องมีชื่อในแบบ หรื อมีหลักฐานรับรอง
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 49

การเขียนผลงานดีเด่น (ต่อ) การเขียนผลงานดีเด่น (ต่อ)

5. งานควบคุมการติดตั้ง 7. แต่ ละงานต้ องเขียนและแสดง การใช้ ความรู้


ต้ องมีชื่อ หรื อมีหลักฐานแสดงการควบคุมงานจนงานแล้ วเสร็จ ทางด้ านวิศวกรรมไฟฟ้าเป็ นหลัก เช่ น
แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ ไข ถ้ าเป็ นงานด้ านการออกแบบ ต้ องแสดงการคํานวณ
ได้ มาซึ่ง
- ขนาดหม้ อแปลงไฟฟ้า
6. งาน Turn – Key หรื องานโรงงาน - พิกดั ต่ าง ๆ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ Interrupting
แสดงขอบเขตความรับผิดชอบ Capacity ของตู้ MDB, CB
เช่ น การออกแบบเบื้องต้ น การออกแบบ
และติดตั้งการควบคุมงาน - แรงดันตก
แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ ไข - การปรับปรุงตัวประกอบกําลัง เป็ นต้ น

13
12/05/61

การเขียนผลงานดีเด่น(ต่อ)

ผลงานทีแ่ สดงควรเป็น ?........


ควรมีความหลากหลาย เชน ่ ......
• งานออกแบบฯ และ ควบคุมการสร้างฯ ควรมีทงโรงงาน,
ั้
อาคารสําน ักงาน และ/หรือ อาคารชุด เป็นต้น
• งานพิจารณาตรวจสอบ ควรมีทงงานการค้
ั้ นคว้า การ
ทดสอบการวิเคราะห์ และ/หรือ การหาข้อมูล เป็นต้น
• งานอํานวยการใช ้ ควรมีทงงานตรวจสอบเพื
ั้ อ
่ การ
บํารุงร ักษา งานวางแผนการบํารุงร ักษา และ/หรืองาน การเขียนผลงานดีเด่น
บํารุงร ักษา เป็นต้น
หมายเหตุ ผลงานและปริมาณงานฯ ที่เสนอต้องจัดอยู่ในประเภทและขนาดของงาน ต ัวอย่างการเขียนผลงานดีเด่น
วิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ตามกฎกระทรวง
พ.ศ.2550วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ 53
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์
54

แนวทางการเลือกงานทีเ่ สนอรายงานฯ รายงานควรมีรายละเอียด ด ังนี้


ควรเป็ นงานทีม
่ ล
ี ก ่ สดงถึงการใช ้ความรู ้
ั ษณะเด่นชัดทีแ ่ โครงการ หรือ งาน
1.ชือ
ความสามารถในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม........
โดยแสดงให ้เห็นถึงความสามารถในด ้านต่างๆ เช่น 2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน

• การบริหารจ ัดการโครงการ (ความสําเร็ จของโครงการ)


3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน
• การใช้ความรูท้ างวิศวกรรมทีแ
่ ตกต่างๆ จากความรูท
้ ว่ ั ไป (ถ้ามี)
• การประสานงาน และการแก้ปญ ั หา 4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน
• ฯลฯ
ไม่จําเป็ นต ้องเป็ นงานขนาดใหญ่ แต่ควรเป็ นงานทีม
่ ค
ี วาม 5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
หลากหลาย..........
6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา
เช่น มีหลายระบบ มีความซับซ ้อน หรือมีหลายหน่วยงาน เป็ น
ต ้น และแสดงให ้เห็นถึงความสามารถทีส ่ งู กว่าระดับปั จจุบน

7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ
(เป็ นผู ้ทีเ่ หมาะสมทีจ
่ ะเลือ
่ นระดับ)
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 55 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 56

14
12/05/61

งาน ื่ โครงการ หรือ งาน


1. ชอ
ภาคี & สาม ัญ ทําไม่ได้
การระบุชอ ื่ ของโครงการทีน
่ ําเสนอเป็นผลงาน
ให้คาํ ปรึกษา ่ .......
ดีเด่น เชน
งาน งาน งานวางโครงการ, งาน
ออกแบบและคํานวณ • ระบุชอื่ โครงการ ชือ
่ อาคาร สถานที่ หรือ
อํานวยการใช้ วางโครงการ และ งานควบคุมการ ่ โรงงาน เป็นต้น
ชือ
สร้างหรือการผลิต
งาน
วิศวกรรม • ระบุชอื่ โครงการเช่น โครงการวิเคราะห์
หาสาเหตุการชํารุดของหม้อแปลงไฟฟ้า
ควบคุม งานพิจารณาตรวจสอบ โครงการทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้ากําล ัง
เพือ
่ หาอายุการใช้งาน หรือ
งานพิจารณา งานออกแบบ โครงการวิจ ัยเรือ
่ ง… เป็นต้น
ตรวจสอบ และคํานวณ
งานควบคุมการ ื่ งานทีป
• ระบุชอ ่ ฏิบ ัติเช่น งานตรวจสอบ
งานอํานวยการใช้ และบํารุงร ักษาระบบไฟฟ้า หรืองาน
สร้างหรือการ อํานวยการใช้สถานียอ ่ ยฯ เป็นต้น
ผลิต
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 57 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 58

2. วัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน รายงานควรมีรายละเอียด ด ังนี้


• สําหร ับใช้เป็นนิคมอุตสาหกรรม เพือ
่ ขยาย
งานวางโครงการ ระบบจําหน่ายไฟฟ้าให้เพียงพอ หรือ ่ โครงการ หรือ งาน
1.ชือ
• เพือ
่ สร้างสถานีไฟฟ้าย่อย เป็นต้น
2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน
• เพือ
่ ใช้เป็นอาคารสําน ักงาน เป็นอาคารชุด
งานออกแบบฯ /งาน หรือ เป็นโรงงาน
ควบคุมการสร้างหรือ 3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน
• เพือ่ ออกแบบระบบผลิตไฟฟ้า/ระบบจําหน่าย
การผลิต ไฟฟ้าให้ก ับ........เป็นต้น
• เพือ่ วิเคราะห์หาสาเหตุการชํารุดของหม้อ 4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน
แปลงไฟฟ้าและแนวทางแก้ไข
งานพิจารณาตรวจสอบ • เพือ
่ หาอายุการใช้งานของหม้อแปลงไฟฟ้า 5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
กําล ัง หรือ
• วิจ ัยเรือ
่ ง…เพือ
่ หา… เป็นต้น
6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา
• เพือ
่ ให้ระบบและบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าใช้งานได้อย่าง
งานอํานวยการใช้ ต่อเนือ ่ ง หรือ
7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ
• เพือ่ เป็นการบํารุงร ักษาเชิงป้องก ัน เป็นต้น

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 59


วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 60

15
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น (งานวางโครงการ) ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น

รายงานสรุปรายละเอียดการออกแบบ สารบัญ
1. ชื่ อโครงการ
โครงการ 2. วัตถุประสงค์ โครงการ
อาคารสํ านักงาน AAA 3. รายละเอียดโครงการ
เพื่อใช้ ประกอบการยื่นขอเลื่อนระดับเป็ นวุฒ ิวศิ วกร 4. ขั้นตอนดําเนินงานและนําความรู้ เชิงวิศวกรรมมา
ประยุกต์ ใช้ ในงาน
สาขาวิศวกรรมแขนงไฟฟ้ากําลัง 5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน
จัดทําโดย 6. ปัญหาและอุปสรรคพร้ อมการแก้ไขปัญหา
นาย กิตติพงษ์ ว. สฟก. XXXXX 7. ผลสํ าเร็จในขั้นตอนสุ ดท้ ายของโครงการและจุดเด่ น
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 61
ของโครงการ

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


3. รายละเอียดโครงการ
1. ชื่ อโครงการ : อาคารสํ านักงาน AAA
2. วัตถุประสงค์ โครงการ 3.1. เจ้ าของโครงการ บริษทั BBB
1. เพื่อใช้ อาคารเป็ นสํ านักงานเช่ า 3.2. ที่ต้งั โครงการ กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อใช้ เป็ นสถานทีห่ ้ องจัดเลีย้ ง 3.3. งานวิศวกรรมระบบ ไฟฟ้ากําลังและสื่ อสาร
3. เพื่อใช้ อาคารเป็ นห้ องประชุ มย่ อย 3.4. ผู้ออกแบบงานสถาปัตย์ บริษทั CCC
4. เพื่อใช้ อาคารเป็ นร้ านค้ า ร้ านอาหาร และทีจ่ อด 3.5. ผู้ออกแบบงานโครงสร้ าง บริษทั DDD
รถยนต์

16
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


3.11. ลักษณะโครงการ
3.6. ผู้ออกแบบงานระบบ บริษทั EEE เป็ นอาคาร คสล 35 ชั้น และชั้นใต้ ดิน 3 ชั้น โดยมีพื้นที่ก่อสร้ าง
3.7. ผู้บริหารโครงการ บริษทั FFF รวมประมาณ 85,531 ตารางเมตร ดังรายละเอียดดังต่ อไปนี้
3.8. ผู้รับเหมางานโครงสร้ าง บริษทั GGG 1. ชั้ นใต้ ดิน B1-B3 เป็ นพื้นที่จ อดรถจํานวน 516 คัน
รวม 21,546 ตารางเมตร
3.9. ผู้รับเหมางานระบบ บริษทั HHH 2. ชั้นที่ 1-3 เป็ นพืน้ ที่ขยายส่ วนโรงแรม, ร้ านค้ ารวม 8,595
3.10.งบประมาณก่อสร้ างงานระบบไฟฟ้ าและเครื่ องกล ตารางเมตร
550,000,000 บาท ( Shell & Core ) 3. ชั้นที่ 4 เป็ นพืน้ ทีห่ ้ องเครื่ องงานระบบไฟฟ้ าและเครื่ องกล
รวม 1,850 ตารางเมตร
4. ชั้ นที่ 5-33 เป็ นพื้นที่สํานักงานเช่ ารวม 52,360 ตาราง
เมตร
5. ชั้ นที่ 34 เป็ นพื้ น ที่ ห้ อ งเครื่ อ งงานระบบไฟฟ้ า และ
เครื่ องกล รวม 118 ตารางเมตร

รายงานควรมีรายละเอียด ??
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น

่ โครงการ หรือ งาน


1.ชือ
3. พืน้ ฐานไฟฟ้ ากําลัง
2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน

3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน


1. HV Engineering
4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน
2. LV Engineering
5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
3. Communication Engineering
6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา

7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 67

17
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


1. HV Engineering 2. LV Engineering
1 ) Substation Design Criteria 1) Installation Standards , EIT
2 ) Substation Grounding 2) Design Criteria
3 ) Short Circuit Current Calculation 3) Short Circuit Current Calculation
4 ) MV Distribution 4) Grounding
5 ) HV, MV Equipment 5) Protection Coordination
Power Cable , Transformer, CB , CT, VT, LA 6) Ground Fault Protection
HV Switchgear, RMU, Relays 7) LV Equipment , CB, Switchboard , MCC
6 ) HV, MV Protection, Coordination 8) Voltage Drop Calculation

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


9 ) P.F. Correction 3. Communication Engineering
1) Sound System
10 ) Harmonic
2) Telephone System
11 ) Standby Generator , ATS ,UPS 3) CCTV System
12 ) Lightning Protection 4) MATV System
13 ) Surge Protection 5) Fire Alarm System
14 ) RCD 6) Emergency Lighting
15 ) Lighting 7) Security System , Access Control System
16) EE Systems in Condominium , Offices , Hospitals , 8) Data Cabling System LAN , Fiber Optic , Cat 5 , 6 , 7
Hotels , Resorts , Industries 9) BAS

18
12/05/61

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.1 ตัวอย่าง งานวางโครงการ 4. ขั้นตอนการดําเนินงานและการนํ าความรู้ เชิ ง วิศ วกรรม
ร่วมประชุมกับเจ ้าของโครงการ เพือ
่ รับข ้อมูลเบือ
้ งต ้นและความ
ประยุกต์ ใช้ ในงาน
ต ้องการของโครงการ 4.1 ขั้นตอนการดําเนินงาน
หาข ้อมูล วิเคราะห์หาความเป็ นได ้ของโครงการ และ/หรือ เหตุผล
1 ) ร่ ว มประชุ ม กับสถาปนิ กและเจ้ าของโครงการ
ความจําเป็ นของโครงการ เพื่อรับข้ อมูลเบื้องต้ นและความต้ องการของโครงการ
2 ) ประมาณการขั้นต้ นของปริมาณการใช้ ไฟฟ้ าของ
เสนอแผนเบือ
้ งต ้น เพือ
่ ขอความเห็นชอบจากเจ ้าของโครงการ อาคารโดยแยกโหลดออกเป็ น 2 ส่ วน คือโหลดส่ วนกลาง เช่ น
ระบบสุ ขาภิบาล แสงสว่ างส่ วนกลาง ระบบดับเพลิง ระบบ
ประมาณการ เพือ
่ จัดทํางบลงทุน ลิฟต์ และโหลดส่ วนพืน้ ทีส่ ํ านักงานเช่ า โดยใช้ ค่าประมาณการ
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 73

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.1 ขัน
้ ตอนการดําเนินงาน งานวางโครงการ (ต่อ)
4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ
แบ่งงาน ประสานงานเพือ
่ หาผูร้ ับจ้างก่อสร้าง ติดตงั้ และ/หรือ บริหาร
โครงการ ร่วมประชุมก ับสถาปนิกและเจ้าของโครงการ (หรือผูแ
้ ทน) เพือ
่ ร ับข้อมูล
้ งต้นและความต้องการของโครงการ
เบือ

วางแผน การทํางาน วางแผนการเงิน การจ ัดหาว ัสดุอป


ุ กรณ์
ประมาณการใช้ไฟฟ้าของอาคารและวางตําแหน่งบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าหล ักเช่น
หม้อแปลงและแผงสวิตช์ เป็นต้น โดยอ้างอิงมาตรฐานการติดตงทางไฟฟ
ั้ ้า
สําหร ับประเทศไทย (วสท.) เพือ ้ ที่
่ เป็นข้อมูลแก่สถาปนิกในการจ ัดเตรียมพืน
ประสานงานก ับหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้องล่วงหน้า (กรณีจําเป็น)

คํานวณออกแบบขนละเอี ั้ ยด ของระบบไฟฟ้ากําล ัง แสงสว่าง และระบบอืน


่ ๆ
ประเมินผล เร่งร ัด และติดตาม จนจบโครงการ ทีเ่ กีย
่ วข้อง พร้อมทงกํั้ าหนดขนาดและพิก ัดต่างๆ
76
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 75 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์

19
12/05/61

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ) 4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ)
มีความปลอดภ ัย(Safety) ต่อผูป
้ ฏิบ ัติงาน บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า และสถานที่
จ ัดเตรียมข้อกําหนดการติดตงอุ
ั้ ปกรณ์ไฟฟ้า (Installation
Specification) ให้เป็นไปข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ และมาตรฐาน ว.ส.ท.
เช่น การติดตงหม้
ั้ อแปลง ท่อและสายไฟ และการต่อลงดิน เป็นต้น
่ ถือได้(Reliability) ของระบบไฟฟ้า
มีความเชือ

มีความมน
่ ั คง(stability) มีกําล ังไฟฟ้าสํารองเพียงพอในกรณีมป
ี ญ ่ ว่ น
ั หาทีส
ใดส่วนหนึง่
จ ัดเตรียมข้อกําหนดว ัสดุอป
ุ กรณ์ (equipment specification) ให้เป็นไป
ตามมาตรฐานไทย ( มอก. ) และมาตรฐาน IEC เป็นหล ัก แต่ถา้ ไม่มก ี ็อาจ มีความยืดหยุน
่ (flexibility) สามารถขยายได้ในอนาคต หรือปร ับปรุง
พิจารณามาตรฐานสากลอืน ่ ช่น ANSI, BS และ DIN เป็นต้น เปลีย
่ นแปลงได้งา่ ย

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 77 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 78

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


- มีความมั่นคง ( Stability ) มีกาํ ลังไฟฟ้าสํ ารอง
4.2 การนําความรู้ เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ ใช้ งาน เพียงพอในกรณีมีปัญหาที่ส่วนใดส่ วนหนึ่ง
1 ) แนวทางในการออกแบบ จะคํานึงถึงประเด็นหลัก ๆ - มีความยืดหยุ่น ( Flexibility ) สามารถขยายได้ ใน
เพื่อให้ ระบบจ่ ายไฟของโครงการมีความสมบูรณ์ ดงั นี้ อนาคต หรื อปรับปรุงเปลีย่ นแปลงได้ ง่าย
- มี ค วามปลอดภั ย (Safety) อย่ า งสู ง ต่ อ - อุปกรณ์ ที่ใช้ กนั แพร่ หลาย ( Availability ) โดยกําหนด
ผู้ปฏิบัติงาน ต่ ออุปกรณ์ ไฟฟ้าและต่ อสถานที่ คุณสมบัติของอุปกรณ์ ใช้ งานให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน
- มี ค วาม น่ าเชื่ อถื อข อง ระบบ (Reliability) เพื่อทําให้ การจัดซื้ออุปกรณ์ และอะไหล่ได้ ง่าย
สามารถจ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ได้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและทํ า งานได้ - ประหยัด ( Economy ) โดยค่ าก่อสร้ างอยู่ใน
แน่ นอนไม่ เกิดปัญหา งบประมาณของเจ้ าของโครงการตลอดจนค่ าบํารุ งรักษาที่ตํ่า
และต้ องคํานึงถึงความปลอดภัย และให้ เพียงพอกับการใช้
งาน แต่ ไม่ Over Design

20
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น

2 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ากําลังและสื่ อสาร ระบบไฟฟ้ากําลัง


โครงการจะกําหนดให้ มี ระบบดังต่ อไปนี้ ก ) มาตรฐาน ( Standard )
- ระบบไฟฟ้าแรงสู ง - มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าของการไฟฟ้ านคร
- ระบบไฟฟ้าแรงตํ่า หลวง
- ระบบไฟฟ้าสํ ารองฉุกเฉิน - มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสํ าหรับประเทศ
ไทย ( ว.ส.ท. )
- สถานีเปลีย่ นแรงดันไฟฟ้า 24 kV / 415/ 240 V

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น

ข ) เกณฑ์ การออกแบบ ( Design Criteria )


1. สายป้ อน Loop ที่ 1 ขนาดกําลังไฟฟ้ า 11,200 kVA
ระบบไฟฟ้ า ภายในโครงการจะรั บ ไฟฟ้ า ที่ ร ะดั บ ขนาดกําลัง ไฟฟ้ า 11,200 kVA สํ าหรั บ อาคาร
แรงดัน 24 kV จากการไฟฟ้ านครหลวงจํานวน 1 สายป้ อน สํ านักงานและที่ จอดรถ โดยประกอบด้ วยหม้ อแปลง
ขนาดไฟฟ้ ากําลัง โดยประมาณ 19,400 kVA ( Maximum ไฟฟ้าดังนี้
Demand 14,000 kVA )โดยหม้ อแปลงไฟฟ้ าที่ใช้ งานเป็ น
- 1,600 KVA จํานวน 2 เครื่ อง
ชนิด Dry Type Cast Resin เพื่อลดแรงดันไฟฟ้ าเป็ น
415/240 V โดยแบ่ งการจ่ ายไฟฟ้า ภายใน โครงการดังนี้ - 2,000 KVA จํานวน 4 เครื่ อง

21
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
2. สายป้ อน Loop ที่ 2 ขนาดกําลังไฟฟ้ า 8,200 kVA สํ าหรับ 4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ)
อาคารโรงแรมเดิมและส่ วนต่ อเติมโรงแรม โดยประกอบด้ วย
• มีความปลอดภ ัย ต่อผูป ้ ฏิบ ัติงาน
หม้ อแปลงไฟฟ้าดังนี้ บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า และสถานที่ เช่น
่ งต่อการส ัมผ ัสจะใช้
- 1,600 kVA จํานวน 2 เครื่ อง • ระบบแรงสูงทีเ่ สีย
สายหุม ้ ฉนวน ตามทีแ ่ สดงใน…

- 2,500 kVA จํานวน 2 เครื่ อง ( ของเดิม ) มีความปลอดภ ัย • เลือกสถานทีต


ห่างจากอาคารทีต
่ ด
ิ ตงหม้
ั้
่ ด
อแปลงไฟฟ้าให้
ิ ไฟได้งา่ ย,
(Safety) ?
24 kV High Voltage Switchgear ที่ใช้ เป็ นชนิด • แผงสวิตช์ทงแรงตํ
ั้
่ า่ น Type test รวมทงเตรี
ทีผ

่ และสูง เลือกใช้ชนิด
ั้ ้ ทีว่ า่ ง
ยมพืน
Metal-Enclosed SF6 Filled สํ าหรับใช้ งานภายใน เพือ่ การปฏิบ ัติงานอย่างเพียงพอตามที่
กําหนดในมาตรฐานฯ
อาคาร เพื่ อลดปั ญ หาการบํารุ ง รั กษาโดยต่ อเป็ น แบบ Ring • ให้ความสําค ัญก ับการกําหนดขนาดและ
ชนิดของสายไฟฟ้า ฯลฯ ตามมาตรฐาน
เพื่อเพิม่ ความเชื่ อถือได้ ให้ ระบบไฟฟ้าของโครงการ การติดตงทางไฟฟ
ั้ ้ าของ วสท. ฯลฯ 86

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ) 4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ)

• มีความมน
่ ั คง (stability) มีกําล ังไฟฟ้า
• มีความเชือ ่ ถือได้ (Reliability) ของ สํารองเพียงพอในกรณีมป
ี ญ ่ ว่ นใด
ั หาทีส
ระบบไฟฟ้า เช่น
• ใช้สายไฟฟ้าหุม ้ ฉนวนในบริเวณทีม ่ ต ี น
้ ไม้ ส่วนหนึง่ เช่น
สูง, • ใช้ระบบการจ่ายไฟแบบ loop สําหร ับ
่ ถือได้
มีความเชือ • หุม
้ live parts ของไฟฟ้าแรงสูงทงหมด ั้ มีความมน
่ ั คง
่ ป้องก ันส ัตว์,
เพือ โหลดทีม
่ ค ื่ )
ี วามสําค ัญเป็นพิเศษ (ระบุชอ
(Reliability) (stability)
• ติดตงระบบป
ั้ ้ องก ันฟ้าผ่าและสายล่อฟ้า, • สายใต้ดน
ิ แรงสูงจ ัดให้มท
ี อ
่ สํารองเพือ
่ ให้
• เลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าทีม ่ ค
ี ณ
ุ ภาพผ่าน
สามารถลากสายใหม่ได้รวดเร็วกรณีสาย
การทดสอบตามมาตรฐานสากล ฯลฯ
เดิมมีปญ
ั หา และ
• ติดตงเครื
ั้ อ ่ งกําเนิดไฟฟ้าสํารอง ฯลฯ

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 87 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 88

22
12/05/61

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ)
4.2 ต ัวอย่าง งานออกแบบและคํานวณ(ต่อ)
• เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้ก ันแพร่หลาย
(availability) โดยกําหนดคุณสมบ ัติของ
• มีความยืดหยุน ่ (flexibility) สามารถ เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช ้ อุปกรณ์ใช้งานให้เป็นผลิตภ ัณฑ์มาตรฐาน
ขยายได้ในอนาคต หรือปร ับปรุง ก ันแพร่หลาย ่ ทําให้การจ ัดซือ
เพือ ้ อุปกรณ์และอะไหล่ได้
เปลีย
่ นแปลงได้งา่ ย เช่น
(availability) ง่าย เช่น
• สายไฟฟ้าแรงสูงได้มก ี ารเผือ่ ขนาดไว้
แล้ว สถานทีต ่ ด ิ ตงแผงสวิ
ั้ ตช์มพ ี นื้ ที่ • มีผจู ้ ําหน่ายหลายราย …..
มีความยืดหยุน ่ ด้านข้างพอทีจ ่ ะขยายได้อก ี ในอนาคต
(flexibility) • การกําหนดขนาดหม้อแปลงและแผง
สวิตช์ได้เผือ ่ ไว้แล้วสําหร ับการขยาย • ประหย ัด (economy) โดยค่าก่อสร้างอยู่
โหลดได้อก ี ประมาณ 25% ในงบประมาณของเจ้าของโครงการ
ประหย ัด
• บริเวณทีต่ ด ิ ตงหม้ ั้ อแปลงมีพน ื้ ทีว่ า่ ง ตลอดจนค่าบํารุงร ักษาทีต
่ า
ํ่ คํานึงถึงความ
ด้านข้างทีส ่ ามารถตงเพิ ั้ ม
่ ได้อก ี ในอนาคต (economy) ปลอดภ ัย และความเพียงพอก ับการใช้งาน
ฯลฯ แต่ไม่ Over Design

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 89 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 90

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.3 ต ัวอย่าง งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต 4.3 ตัวอย่าง งานควบคุมการสร ้างหรือการผลิต (ต่อ)

ศึกษาแบบไฟฟ้าและรายละเอียดของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในโครงการ จ ัดทํารายแบบการติดตงั้ (shop drawing) เพือ


่ เสนอผูอ
้ อกแบบ และ/หรือ
ผูค้ วบคุมงาน

ทวนสอบความถูกต้องของแบบไฟฟ้า และกําหนดรายละเอียดเพิม
่ เติมใน
ส่วนทีย
่ ังขาดอยู่
จ ัดเตรียมว ัสดุอป
ุ กรณ์ตา่ งๆ ให้ตรงตามทีผ
่ อ
ู ้ อกแบบกําหนด
ร่วมประชุมก ับผูอ ่ สอบถามข้อสงส ัยต่างๆ และขอความเห็นชอบ
้ อกแบบเพือ

เสนอทางเลือกทีด
่ ก
ี ว่าโดยตงบนพื
ั้ น ้ ฐานทางวิศวกรรม (ไม่ใช่เป็นการแก้
แบบ) ควบคุมการดําเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น มาตรฐาน
การติดตงทางไฟฟ
ั้ ้ าฯ มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และมาตรฐานการ
ป้องก ันฟ้าผ่าฯ ของ วสท. เป็นต้น
วางแผนการดําเนินงาน
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 91 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 92

23
12/05/61

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.3 ตัวอย่าง งานควบคุมการสร ้างหรือการผลิต (ต่อ) 4.3 ตัวอย่าง งานควบคุมการสร ้างหรือการผลิต (ต่อ)
ขนตอนการดํ
ั้ าเนินงาน(ต่อ) • มีความปลอดภ ัย ต่อผูป
้ ฏิบ ัติงาน บริภ ัณฑ์
ไฟฟ้า และสถานที่ เช่น มีเจ้าหน้าความ
ปลอดภ ัยวิชาชีพควบคุม ดูแล และให้
คําแนะนําตลอดเวลาทีป
่ ฏิบ ัติงาน
ควบคุม เร่งร ัด ติดตาม ให้งานดําเนินไปตามแผนทีว่ างไว้
• พน ักงานต้องแต่งกายให้ถก
ู ต้องตามหล ัก
มีความ
ความปลอดภ ัย ติดตงบริ
ั้ ภ ัณฑ์ไฟฟ้าตามคูม
่ อ

ตรวจสอบ ทดสอบ บ ันทึกผล และวิเคราะห์ผล และแก้ไขปร ับปรุงตามความ ปลอดภ ัย ของผูผ
้ ลิตอย่างเคร่งคร ัด
จําเป็น • ห ัวหน้างานควบคุมการปฏิบ ัติงานอย่าง
ิ โดยเฉพาะจุดทีม
ใกล้ชด ่ ค
ี วามสําค ัญเช่น การ
จ ัดวางสาย การต่อสาย และการปร ับตงค่
ั้ า
สรุปส่งงาน
ต่างๆ เป็นต้น
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 93 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 94

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.3 ตัวอย่าง งานควบคุมการสร ้างหรือการผลิต (ต่อ) 4.3 ตัวอย่าง งานควบคุมการสร ้างหรือการผลิต (ต่อ)

• ติดตงถู
ั้ กต้องตามมาตรฐานฯที่ • บริภ ัณฑ์ไฟฟ้าไม่ชํารุดเสียหาย สามารถ
เกีย
่ วข้องเช่น มาตรฐานฯของ วสท. ใช้งานได้ด ี
• ทําได้โดยการ ตรวจสอบ การทดสอบ
IEC และของผูผ
้ ลิต เป็นต้น เช่น การว ัด และการวิเคราะห์ผล โดยใช้
บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า ความรูท ้ างวิศวกรรม เช่น
ติดตงถู
ั้ กต้องตาม • ให้ความรูท
้ ถ
ี่ ก
ู ต้องแก่ผป
ู ้ ฏิบ ัติงานโดย
สามารถใชง้ าน • ตรวจสอบการติดตงเบื ั้ อ ้ งต้นด้วยสายตา
มาตรฐานฯ เฉพาะทีเ่ กีย
่ วก ับมาตรฐานฯ
ได้ด ี ? ว ัดค่าความต้านทานฉนวนของสายไฟฟ้า
• ประสานงานก ับผูผ
้ ลิตเพือ
่ มาให้ หม้อแปลงไฟฟ้า และแผงสวิตช์ พร้อม
บ ันทึกค่าลงตารางเพือ ่ การวิเคราะห์ผล
คําแนะนําทีถ
่ ก
ู ต้องในการติดตงั้ และส่งให้ผค ู ้ วบคุมงานและเจ้าของงาน
บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า ฯลฯ ฯลฯ
95

96
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์
ประสิ ทธิ์

24
12/05/61

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน ้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ
4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน ้
วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน
4.4 ต ัวอย่าง งานอํานวยการใช ้
4.4 ต ัวอย่าง งานอํานวยการใช(้ ต่อ)
ศึกษาแบบไฟฟ้าและรายละเอียดของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในโครงการ

• การใช้ความรูท ้ างวิศวกรรมในการ
รวบรวมข้อมูลบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าทงหมดที
้ั ใ่ ช้ในโครงการ และจ ัดลําด ับ ตรวจสอบ ทดสอบ การวิเคราะห์ผลเพือ ่
ความสําค ัญ (สําค ัญมาก-น้อย)
การใชค้ วามรู ้ หาจุดบกพร่อง และการแก้ไข
ทางวิศวกรรม • การวางแผนการบํารุงร ักษาเชิงป้องก ัน
จ ัดทําวิธก
ี ารตรวจสอบ วิธก
ี ารบํารุงร ักษา และตารางรายละเอียดห ัวข้อการ
บํารุงร ักษา • การจ ัดการใช้งานของบริภ ัณฑ์ เพือ ่ ให้
ในการจ ัดทําวิธ ี ได้ประสิทธิผ ์ ลสูงสุด
ตรวจสอบ • ศึกษาแบบไฟฟ้าและรายละเอียดของ
จ ัดทําแผนการบํารุงร ักษาและดําเนินการบํารุงร ักษาตามแผน
บริภ ัณฑ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในโครงการ
ทดสอบ และ • จ ัดทําวิธก
ี ารตรวจสอบ
บ ันทึกค่าทีต
่ า่ งๆ พร้อมทงวิ
ั้ เคราะห์ผลทีไ่ ด้ และทําการบํารุงร ักษา บํารุงร ักษา • บ ันทึกค่าทีต่ า่ งๆ พร้อมทงวิ
ั้ เคราะห์ผลที่
ได้
• สรุป และจ ัดทําแนวทางการแก้ไข 98
จ ัดทําประว ัติการบํารุงร ักษาและรายงายผลให้ผบ
ู ้ ังค ับบ ัญชาทราบ
97
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์
ประสิ ทธิ์

้ ตอนดําเนินงานและนํ าความรู ้เชงิ


4. ขัน

วิศวกรรมมาประยุกต์ใชในงาน รายงานควรมีรายละเอียด ด ังนี้
4.5 งานพิจารณาตรวจสอบ
่ โครงการ หรือ งาน
1.ชือ

• มีความปลอดภ ัย ต่อผูป ้ ฏิบ ัติงาน


2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน
บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า และสถานที่
• คํานึงถึงความถูกต้อง ความ
การใชค้ วามรูท
้ าง ประหย ัด และร ักษาสิง่ แวดล้อม 3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน
วิศวกรรม • ใช้ความรูท ้ างวิศวกรรมในการ
จ ัดทําวิธต
ี รวจสอบ ทดสอบ และ 4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน
ในการจ ัดทําวิธ ี การว ัดการใช้ความรูท ้ าง
ตรวจสอบ ทดสอบ วิศวกรรมในการตรวจสอบ 5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
ทดสอบ การวิเคราะห์ผลเพือ ่ หา
และบํารุงร ักษา จุดบกพร่อง และการแก้ไข 6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา
• การวางแผนการตรวจสอบและ
ทดสอบ 99
7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์


วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 100
ประสิ ทธิ์

25
12/05/61

5. ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น


5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน
ให้ระบุว ันเริม ้ สุดโครงการ (โครงการ
่ โครงการ และว ันสิน
เสร็จสมบูรณ์)
- เริ่มทําการออกแบบเพื่อใช้ ในการประมูล
งานวางโครงการ งานออกแบบและคํานวณ งานควบคุม ก่อสร้ าง ประมาณ 4 เดือน
การสร้างหรือการผลิต งานพิจารณาตรวจสอบ
- ออกแบบเปลีย่ นแปลงเพิม่ เติมระหว่ าง
งานอํานวยการใช ้ อาจแบ่งเป็น ก่อสร้ าง ประมาณ 9 เดือน
• กรณีเป็นงานทีป ่ ฏิบ ัติตอ่ เนือ
่ ง ระบุว ันเริม ้ สุดให้ระบุวา่
่ งาน และว ันสิน - เริ่มปฏิบัติงานออกแบบโครงการ เมษายน
ถึงปัจจุบ ัน
• กรณีเป็นงานทีส ิ้ สุดเป็นเรือ
่ น ่ งๆ เช่น การบํารุงร ักษาหม้อแปลง 2548 ก่อสร้ างแล้วเสร็จ มกราคม 2551
ไฟฟ้า ให้ระบุว ันเริม ่ งาน และว ันสิน ้ สุดคือว ันทีห
่ ม้อแปลงไฟฟ้า
สามารถกล ับมาใช้งานได้
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 101

6. ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไข
รายงานควรมีรายละเอียด ด ังนี้
ระบุปญ ้ และแนวทางการแก้ไข
ั หาทีเ่ กิดขึน
โดยใชห ้ ล ักการทางวิศวกรรม เชน
่ ..
่ โครงการ หรือ งาน
1.ชือ

• เจ้าของโครงการประสบปัญหาสภาพ
2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน คล่องทางการเงิน
งาน
• จําเป็นต้องปร ับปรุงแบบใหม่ให้ม ี
3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน วางโครงการ ค่าใช้จา่ ยตํา
่ ลงแต่ย ังคงสามารถใช้งาน
ได้ตามจุดประสงค์เดิม
4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน

• การเดินสายแรงสูงฝังดินแบบเปิ ดหน้า
5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน
ดิน(Open Cut)
งานออกแบบ • เมือ
่ ผูร้ ับเหมาฯ เริม
่ งานพบว่าไม่
6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา
และคํานวณ สามารถเปิ ดหน้าดินได้ จึงต้อง
ออกแบบใหม่ เปลีย ่ นเป็นระบบ Pipe
7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ Jacking แทน
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 103 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 104

26
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น 6. ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไข


ระบุปญ ้ และแนวทางการแก้ไข
ั หาทีเ่ กิดขึน
6. ปัญหาและอุปสรรคพร้ อมการแก้ไข โดยใชห ้ ล ักการทางวิศวกรรม เชน
่ ..
1 ) เนื่ องจากอาคารสํ านักงานเป็ นเฟสสุ ดท้ ายที่จ ะต้ อง
• สายไฟฟ้าแรงสูงทีร่ อ
้ ยท่อฝังดินไม่ผา่ นการ
เชื่ อมต่ อกับ อาคารโรงแรมซึ่ ง เปิ ดใช้ งานแล้ ว ต้ องมี การ งานควบคุมการ ทดสอบค่าความเป็นฉนวน

สํ ารวจงานระบบไฟฟ้ าเดิม ของโครงการโดยเฉพาะระบบ สร้างหรือการผลิต


• ตรวจสอบพบว่าในสายไฟฟ้ามีความชืน
แก้ไขโดยการอบไล่ความชืน
้ สูง
้ หรือปร ับปรุง
ไฟฟ้ าแรงสู งเดิมที่รับมาจากการไฟฟ้ าซึ่ งจะต้ องถูกตัดต่ อ ห ัวสายจนผ่านการทดสอบ

เพื่ อจ่ า ยให้ กับหม้ อแปลงไฟฟ้ า ใหม่ สํา หรั บส่ วนต่ อเติ ม
โรงแรมที่ ติ ด ตั้ ง ไว้ บ นส่ วนชั้ นห้ องเครื่ อ งของอาคาร • ในการปฏิบ ัติงาน มีบางช่วงเวลามีปริมาณ
การใช้ไฟฟ้าสูงจนหม้อแปลง Over load
สํ านั ก งานการออกแบบจึ ง ต้ องมี ก ารสํ ารวจ ระบบ • แก้ไขโดยการสํารวจความจําเป็นของการ
ใช้งานในช่วงเวลานนและเลื
ั้ อ่ นเวลาการใช้
งานอํานวยการใช ้
ไฟฟ้ าแรงสู ง เดิม ขนาดสาย และเส้ น ทางการติด ตั้ง อย่ าง บริภ ัณฑ์ไฟฟ้าบางรายการออกไปจน
สามารถใช้งานโดยไม่ตอ ้ งเปลีย่ นขนาด 106
ละเอียดเพื่อป้องกันปัญหาที่เกิดขึน้ หม้อแปลงใหม่ ซึง่ ประหย ัดค่าใช้จา่ ยและ
ค่าไฟฟ้าได้มาก
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์
ประสิ ทธิ์

7. ผลสําเร็จในขนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการ
รายงานควรมีรายละเอียด ด ังนี้ และจุดเด่นของโครงการ
ผลสําเร็จในขนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการ.....
่ โครงการ หรือ งาน
1.ชือ
• โครงการสามารถดําเนินการได้เสร็จตาม
ว ัตถุประสงค์ ของโครงการ
2. ว ัตถุประสงค์โครงการ หรือ งาน งานวางโครงการ
• ค่าใช้จา่ ยการลงทุนเป็นไปตามงบประมาณที่
ประมาณการไว้
3.รายละเอียดโครงการ หรือ งาน

• ระบบต่างๆ สามารถใช้งานได้ด ี ได้มาตรฐาน


4.ขนตอนดํ
ั้ าเนินงานและนําความรูเ้ ชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน งานออกแบบและ และตามว ัตถุประสงค์
คํานวณ • ผลล ัพธ์ของงานเป็นทีพ
่ งึ พอใจของผูว้ า
่ จ้าง
5.ระยะเวลาปฏิบ ัติงาน และทุกฝ่าย

6.ปัญหาและอุปสรรคพร้อมการแก้ไขปัญหา
งานควบคุมการสร้าง • การก่อสร้างก่อสร้างเป็นไปตามแผนงานและ
ว ัตถุประสงค์ของโครงการ และตาม
7.ผลสําเร็จในขนตอนสุ
ั้ ดท้ายของโครงการและจุดเด่นของโครงการ และการผลิต รายละเอียดของส ัญญา

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 107 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์


108

27
12/05/61

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น 7. ผลสําเร็จในขนสุ


ั้ ดท้ายของโครงการ
และจุดเด่นของโครงการ ..(ต่อ)
7. ผลสํ าเร็จในขั้นสุ ดท้ ายของโครงการและ จุดเด่นของโครงการ ..
จุดเด่ นของโครงการ
1 ) ผลสํ าเร็จในขั้นตอนสุ ดท้ ายของโครงการ งานวางโครงการ
• เป็นโครงการทีม
งานหลากหลาย
ี ักษณะการใช ้
่ ล

1. การออกแบบเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของ


โครงการและตามรายละเอียดของสั ญญา • งานระบบมีความซ ับซ้อน เช่น มีระบบ
งานออกแบบและ ่ มต่อหลายอาคาร
BAS เชือ
2. การก่อสร้ างเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ คํานวณ • ระบบการจ่ายไฟมีทงสายอากาศและ
ั้
และตามรายละเอียดของสั ญญา สายใต้ดน ิ มีระบบไฟฟ้าสํารองระด ับสูง

3. ผลลัพธ์ ของงานเป็ นที่พงึ พอใจของผู้ว่าจ้ าง ด้ วย • ต้องปฏิบ ัติงานภายใต้สภาวะทีจ ่ า


ํ ก ัด
เพราะระบบปัจจุบ ันต้องสามารถใช้งาน
งานควบคุมการ
ความร่ วมมือของทุกฝ่ าย สร้างและการผลิต
ได้อย่างต่อเนือ
่ ง ไม่สามารถด ับไฟ
ทํางาน/ต้องการความปลอดภ ัยใน
4. การใช้ งานของอุปกรณ์ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ระด ับสูงมาก
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 110

ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
2) จุดเด่ นของโครงการ
1. โครงการเป็ นอาคารสํ า นั ก งานเช่ าเกรด A
ที่ ทั น สมั ย มี ร ะบบสาธารณู ป โภคที่ ร องรั บ สํ า นั ก งาน
สมัยใหม่ อย่ างครบถ้ วน รายละเอียดประกอบอืน
่ ๆ
2. มี ร ะบบไฟฟ้ า สํ า รองฉุ ก เฉิ น สํ า หรั บ พื้ น ที่
สํ านักงานเช่ าทุกชั้ นโดยจัด เตรี ย มไว้ สําหรั บโหลดไฟฟ้ า ควรมีรายละเอียดของงานทีเ่ สนอ
สู งสุ ด 80 KVA ต่ อชั้น เป็ นผลงานดีเด่น ให ้มากทีส
่ ด

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 112

28
12/05/61

งานวางโครงการ งานออกแบบคํานวณ
• ควรประกอบด้วย (เป็นอย่างน้อย)
• แบบไฟฟ้า แสดงสถานทีต ่ งของโครงการ
ั้ แบบไฟฟ้า • Single Line Diagram ระบุขนาดและพิก ัดอุปกรณ์
แบบไฟฟ้า แสดงสถาน ต่างๆ
และระบบต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข้องในโครงการที่ ื่ ผูเ้ สนอผลงานฯ)
(มีชอ
ทีต
่ งของโครงการ
ั้ ปฏิบ ัติงาน
• Layout Plan แสดงตําแหน่ง หม้อแปลงไฟฟ้า
บริภ ัณฑ์ประธาน แผงย่อย และอืน
่ ๆ

• การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ • ควรประกอบด้วย (เป็นอย่างน้อย)


การคํานวณ และ/หรือ การวิเคราะห์งบประมาณลงทุน เป็นต้น • การคํานวณโหลด (เพือ ่ กําหนดขนาดหม้อแปลง
การวิเคราะห์โครงการ • การประมาณการโหลด รายการคํานวณ ไฟฟ้า CB และสายไฟฟ้า)
ต่างๆ • การคํานวณแสล ัดวงจร เพือ ่ กําหนดค่า IC ของ
• หล ักการหรือวิธก
ี าร ทีใ่ ช้ในการเลือก เครือ
่ งป้องก ันกระแสเกินของบริภ ัณฑ์ประธาน
(แสดงเป็นต ัวอย่าง) • การคํานวณโหลดอย่างละเอียด
หล ักการหรือวิธก ี าร/ สถานที่ ตําแหน่ง ระบบต่างๆ และ/หรือผูร้ ับ
ข้อกําหนด/กฎหมายที่ จ้าง (กรณีเป็นอาคารชุด)
เกีย
่ วข้อง • ข้อกําหนดของกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องต่างๆ
และมาตรฐานต่างๆ
รูปภาพ
รูปภาพ โครงการที่ ต ัวอย่างการติดตงั้
ดําเนินการ ของงานทีอ ่ อกแบบ

วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 113 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 114

งานควบคุมการสร้างและการผลิต งานอํานวยการใช ้

• Single Line Diagram ระบุขนาดและพิก ัด


• Single Line Diagram ระบุขนาดและพิก ัด แบบไฟฟ้า อุปกรณ์ตา่ งๆ
อุปกรณ์ตา่ งๆ ประกอบด้วย • Layout Plan แสดงตําแหน่ง หม้อแปลง
• Plan Layout แสดงตําแหน่ง หม้อแปลง ไฟฟ้า บริภ ัณฑ์ประธาน แผงย่อย และอืน
่ ๆ
แบบไฟฟ้า ไฟฟ้า บริภ ัณฑ์ประธาน แผงย่อย และอืน
่ ๆ
• Shop drawing ทีเ่ กีย
่ วข้อง (เลือก
เฉพาะทีส ํ ค ัญ)
่ า แผนการตรวจสอบและ • แผนการบํารุงร ักษาเชิงป้องก ัน
การบํารุงร ักษาระบบ
• แผนงานรายปี /ไตรมาตร
ไฟฟ้า

รายงานการ • รายงานการปฏิบ ัติงาน หรือ ผลการว ัดหรือ


ทดสอบก่อนการส่งงาน หรืออืน ่ ๆที่ • ผลการตรวจสอบและบํารุงร ักษาและการ
ปฏิบ ัติงาน เกีย
่ วข้อง ผลการตรวจสอบและ วิเคราะห์ผลเพือ ่ ารบํารุงร ักษา
่ นําไปสูก
บํารุงร ักษา • เช่น Checklist, Test report, แบบรายงาน
การบํารุงร ักษา เป็นต้น

รูปภาพ ต ัวอย่าง • รูปภาพ ต ัวอย่างการติดตงั้ รูปภาพ ต ัวอย่างการ


การติดตงั้ ของงานทีป ่ ฏิบ ัติ (ทีน
่ ําเสนอ) ตรวจสอบ และ/หรือ
การบํารุงร ักษา
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 115 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 116

29
12/05/61

ต ัวอย่างแสดงแสดง Single Line ต ัวอย่างแสดงแสดง Single Line


Diagram Diagram

117 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 118 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์

ภาพประกอบโครงการ ภาพแสดงการติดตงระบบไฟฟ
ั้ ้ าแรงสูง

119 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 120 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์

30
12/05/61

ภาพแสดงติดตงหม้
ั้ อแปลงไฟฟ้า ภาพแสดงการติดตงตู
ั้ แ ์ า่ งๆ
้ ผงสวิตชต

121 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 122

งาน ภาคี & สาม ัญ ทําไม่ได้


ให้คาํ ปรึกษา

แนะนําภาพรวมการสอบ
งาน งาน
อํานวยการใช้ วางโครงการ

สมภาษณ์ งาน
วิศวกรรม
บรรยายโดย…
ควบคุม
งานพิจารณา งานออกแบบ
กิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์
์ ระสท ตรวจสอบ และคํานวณ
อนุกรรมการเลือ
่ นระดับฯ วุฒ ิ & สามัญ งานควบคุมการ
สาขาไฟฟ้ า สร้างหรือการ
แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 123
ผลิต
วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 124

31
12/05/61

การเตรียมต ัว ั
การสมภาษณ์
คําถามเป็ นอํานาจของคณะอนุกรรมการสอบฯ  ควรนําเอกสารผลงานดีเด่นและแบบ
ศึกษารายละเอียดในงานทีน ่ ํ าเสนอเป็ นผลงานดีเด่น ไฟฟ้าทีน ั
่ ําเสนอมาในการสมภาษณ์
ทัง้ หมด ด้วย

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์
โดยปกติจะเป็ นคําถามในงานทีเ่ สนอเป็ นผลงาน
ดีเด่น ว่าผู ้ทีย
่ น
ื่ ขอฯ ปฏิบต ั งิ านนัน ้ จริงหรือไม่ และ  ท่านสามารถนําเอกสารต่างๆ เครือ ่ งคิด
มีความรู ้ความสามารถในงานทีป ่ ฏิบตั ห
ิ รือไม่
เลข คอมพิวเตอร์ และอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง
อาจมีคําถามพืน ่ ทีเ่ กีย
้ ฐานอืน ่ วข ้องกับงานทีเ่ สนอ ั
เข้าห้องสอบสมภาษณ์ ได้
เช่น ระบบประกอบอาคาร (ป้ องกันฟ้ าผ่า, Fire
Alarm, และไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิน เป็ นต ้น)
125

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 126

มาตรฐานต่างๆ ทีเ่ กีย


่ วข้อง มาตรฐานต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง (ต่อ)
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศ
มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้ าใน
ไทย พ.ศ.2556
สถานทีท ่ ํางาน
มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า (ภาคที่ 1-4)
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศ
มาตรฐานระบบแจ ้งเหตุเพลิงไหม ้ ไทย : ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน
มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉินและ แสงอาทิตย์ทต ี่ ด
ิ ตัง้ บนหลังคา
โคมไฟฟ้ าป้ ายทางออกฉุกเฉิน คูม
่ อ
ื ความปลอดภัยด ้านไฟฟ้ าแรงสูง
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าในสถานที่
เฉพาะ : บริเวณสถานพยาบาล

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 127 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 128

32
12/05/61

การเลือกชนิ ด ขนาด วิธีการเดินสาย


การกําหนดขนาดพิกดั
ตัวอย่าง Transf.
งานออกแบบฯ & ควบคุมการสร้างฯ งานออกแบบและคํานวณ
24 kV./240-416V
การเลือกชนิ ด ขนาด วิธีการเดินสาย
MDB การกําหนดขนาดพิกดั และค่า IC
ต ัวอย่างความรูท
้ ค
ี่ วรมี

ข้อกําหนดการเดินสาย
PP-1 LP-1 LP-2 Air และวิธีควบคุมงานเพื่อให้
spare
373 kVA 11.86 kVA 4.8 kVA 150 kVA ได้งานที่มีคุณภาพ
แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 129 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 130

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ า
ํ เกีย
่ วก ับงานทีท
่ า

มาตรฐานทีใ่ ชก ้ ารอ้างอิงในการปฏิบ ัติงาน ความรูเ้ กีย
่ วก ับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆและ
ข้อกําหนดตามหล ักวิชาชพ ี วิศวกรรม และ การเลือกใชเ้ ชน ่ หม้อแปลง สายไฟฟ้า
กฎหมายทีเ่ กีย
่ วข้อง เซอร์กต ิ เบรกเกอร์ และ L/A เป็นต้น
ความรู ้ ความเข้าใจในมาตรฐานต่างๆ ทีใ่ ชใ้ น
การออกแบบฯ
การนําเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช ้
่ การคํานวณหา
และพ ัฒนาความสามารถในการทํางาน
ความรูใ้ นงานออกแบบเชน
โหลด การกําหนดขนาดหม้อแปลงและอุปกรณ์ ได้อย่างไร
ป้องก ัน การเลือกใชส ้ ายไฟฟ้า การกําหนด สามารถออกแบบให้สอดคล้องก ับ
ขนาดสายไฟฟ้า วิธก ี ารเดินสาย กระแส ว ัตถุประสงค์ ด้านปลอดภ ัย และคุม ้ ค่า
ล ัดวงจร และแรงด ันตก

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 131 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 132

33
12/05/61

ด้านความปลอดภ ัย อืน
่ ๆ
การเลือกใชว้ ัสดุอป ุ กรณ์ การกําหนด การพ ัฒนาความรู ้ (CPD) การเป็น
Spec. และแนวทางการออกแบบเพือ ่ ให้ม ี สมาชก ิ ของสมาคมวิชาชพ ี ต่าง ๆ และ
ความปลอดภ ัย การถ่ายทอดความรู ้
มาตรการด้านความปลอดภ ัยใน ปัญหาอุปสรรคในการทํางานและการ
สําน ักงาน ระบบความปลอดภ ัยเชน ่ มอก. แก้ไข (ต ัวอย่าง)
18001 หรือ OHSAS หรือ ISO วิธก
ี ารทดสอบระบบก่อนทํางาน
ระยะห่าง พืน้ ทีว่ า่ งเพือ
่ การปฏิบ ัติงาน ความรูเ้ กีย
่ วก ับกฎหมายและ
มาตรการป้องก ันอ ันตรายจากไฟดูด จรรยาบรรณ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 133 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 134

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ ํา
มาตรฐานทีใ่ ชใ้ นการอ้างอิงการปฏิบ ัติงาน และ
งานควบคุมการสร ้าง ข้อกําหนดตามหล ักวิชาชพ ี วิศวกรรม
การตรวจสอบความถูกต้อง และการให้
ความเห็นก ับหน่วยงาน (การตรวจสอบแบบก่อน
ต ัวอย่างความรูท
้ ค
ี่ วรมี ทํางาน)
ระบบการผลิตและการจ่ายไฟของการไฟฟ้าฯ
ความรู ้ ความเข ้าใจเกีย
่ วกับมาตรฐานการติดตัง้
ทางด ้านไฟฟ้ าฯ และมาตรฐานอืน ่ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 135 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 136

34
12/05/61

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ ํา ด้านความปลอดภ ัย
้ ฐานความรูใ้ นงานทีท
 พืน ่ า
ํ หล ักเกณฑ์และวิธก ี ารใน ความรูเ้ รือ
่ งกฎหมายความปลอดภ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง
การควบคุมงานให้ได้คณ ุ ภาพ เช่น การติดตงได้ ั้ ตาม การเตรียมต ัวในการปฏิบ ัติงาน ระยะห่างความ
มาตรฐาน ได้ตามทีผ ่ ผ
ู ้ ลิตแนะนํา การดูแลเรือ ่ ง Cost ปลอดภ ัย การป้องก ันเหตุฉุกเฉิน การเลือกใช ้
Control และอืน ่ ๆ ่ นบุคคล
อุปกรณ์คม ุ ้ ครองความปลอดภ ัยสว
 ปัญหาทางวิศวกรรมและแนวทางการแก้ไข (PPE)
 มีความรูเ้ กีย
่ วก ับมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
ํ ค ัญของผลิตภ ัณฑ์ และสามารถ
มาตรการด้านความปลอดภ ัยทํางาน ระบบ
คุณสมบ ัติสา
ประยุกต์การติดตงให้ ั้ สอดคล้องก ับผลิตภ ัณฑ์ทใี่ ช ้ มอก.18001 หรือ OHSAS หรือ ISO
ในงานได้ การมีสว ่ นในการวางแผนด้านความปลอดภ ัยใน
 กระบวนการทีท ่ า ํ ให้โครงการสา ํ เร็จทีเ่ กีย
่ วก ับ คน สําน ักงาน
เงิน ว ัสดุ ฯลฯ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 137 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 138

ด้านความปลอดภ ัย อืน
่ ๆ
การควบคุมดูแลมาตรการความปลอดภ ัยระบบ การพ ัฒนาความรู ้ (CPD) การเป็นสมาชก ิ ของ
ไฟฟ้าชว่ ั คราวในการก่อสร้าง เชน่ วิธก
ี าร สมาคมวิชาชพ ี ต่าง ๆ และการถ่ายทอดความรู ้
ป้องก ันไฟดูด ี ารทดสอบระบบก่อนใชง้ าน และการทํา
วิธก
มีความเข้าใจในระบบ Work Permit / Work รายงาน
order ความเห็นเรือ ่ งการใชม ้ าตรฐานของมาตรฐาน
ความรูท ่ ยเหลือผูป
้ างด้านการชว ้ ระสบอ ันตราย ของประเทศไทยหรือมาตรฐานสากลอืน ่
จากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาลเบือ ้ งต้น ความรูเ้ กีย
่ วก ับกฎหมายและจรรยาบรรณ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 139 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 140

35
12/05/61

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ ํา
มาตรฐานทีใ่ ชอ ้ า้ งอิงในการตรวจสอบ และ
งานพิจารณาตรวจสอบ ข้อกําหนดตามหล ักวิชาชพ ี วิศวกรรม
การตรวจสอบแบบก่อนทํางาน
ความสามารถในอ่านแบบได้ วิเคราะห์และ
ต ัวอย่างความรูท
้ ค
ี่ วรมี ั
สงเกต รูค
้ วามหมายของการออกแบบ ทบทวน
แบบก ับผูอ ้ อกแบบ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 141 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 142

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ ํา ด้านความปลอดภ ัย
พืน้ ฐานความรูใ้ นงานทีท ่ า ํ เชน ่ การตรวจสอบ ความรูเ้ รือ
่ งความปลอดภ ัยในการทํางานก ับ
ความปลอดภ ัย ความรูเ้ รือ ่ งเครือ ่ งมือและ ไฟฟ้า
เครือ่ งว ัด มาตรฐานทีใ่ ชใ้ นการตรวจสอบและ การเลือกใชอ ้ ป
ุ กรณ์คม ุ ้ ครองความปลอดภ ัย
ทดสอบ และเกณฑ์การต ัดสน ิ ่ นบุคคล (PPE)
สว
การนําเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช ้ การ การเลือกใชเ้ ครือ ่ งมือ เครือ ่ งว ัดฯ ให้มคี วาม
พ ัฒนาความสามารถในการทํางานได้อย่างไร ปลอดภ ัย
ความสามารถในการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ ความเข้าใจในระบบ work permit / work
ข้อมูลทีไ่ ด้ และการทํารายงาน order
ความรูท ้ างด้านการชว ่ ยเหลือผูป ้ ระสบอ ันตราย
จากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาลเบือ ้ งต้น
แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 143 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 144

36
12/05/61

อืน
่ ๆ
แนวทางการเพิม
เป็นสมาชก
่ พูนความรูค ้ วามสามารถ การ
ิ ของสมาคมต่าง ๆ การพ ัฒนา งานอํานวยการใช ้
ความรู ้ (CPD) และการถ่ายทอดความรู ้
ปัญหาอุปสรรคในการทํางานและการแก้ไข
(ต ัวอย่าง)
ต ัวอย่างความรูท
้ ค
ี่ วรมี
วิธก
ี ารทดสอบระบบก่อนทํางาน
ความรูเ้ กีย
่ วก ับกฎหมายและจรรยาบรรณ
ความรู ้ ความเข้าใจเกีย ่ วก ับมาตรฐานการ
ติดตงทางด้
ั้ านไฟฟ้าฯ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 145 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 146

เกีย
่ วก ับงานทีท
่ า
ํ เกีย
่ วก ับงานทีท
่ า

มาตรฐานและข้อกําหนด ตามหล ักวิชาชพ ี วิธก


ี ารตรวจสอบ ทดสอบ ระบบและอุปกรณ์
วิศวกรรม ไฟฟ้าก่อนการใชง้ าน

การวางแผนการบํารุงร ักษา (PM- แผนระยะสัน ้ ละ
การนําเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใชแ
ระยะยาว) และการทํา Check lists พ ัฒนาความสามารถในการทํางาน
การใชเ้ ครือ่ งมือตรวจสอบ ทดสอบ และการ
วิเคราะห์ผล
การทํางานของอุปกรณ์ ข้อจําก ัดของอุปกรณ์
นน ั้ ๆ และวิธก ่ มบํารุง
ี ารซอ

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 147 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 148

37
12/05/61

ด้านความปลอดภ ัย ด้านความปลอดภ ัย

ความรูเ้ รือ
่ งความปลอดภ ัยในการทํางานก ับ ข้อจําก ัดด้านความปลอดภ ัยของอุปกรณ์ไฟฟ้า
ไฟฟ้า การมีสว ่ นในการวางแผนด้านความปลอดภ ัยใน
ความรูเ้ รือ่ งกฎหมายความปลอดภ ัยทีเ่ กีย่ วข้อง สําน ักงาน
การเตรียมต ัวในการปฏิบ ัติงาน ระยะห่างความ มีความเข้าใจในระบบ Work Permit / Work
ปลอดภ ัย การป้องก ันเหตุฉุกเฉิน การเลือกใช ้ order
อุปกรณ์คม ่ นบุคคล
ุ ้ ครองความปลอดภ ัยสว ่ ยเหลือผูป
ความรูท ้ างด้านการชว ้ ระสบอ ันตราย
(PPE) จากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาลเบือ ้ งต้น
มาตรการด้านความปลอดภ ัยทํางาน ระบบ
มอก.18001 หรือ OHSAS หรือ ISO

แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 149 แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 150

อืน
่ ๆ ขั้นตอนการเลื่อนระดับเป็ นสามัญ วิศ วกร
ผู้ได้ รับใบอนุญาตฯ
ประเภทภาคีไม่ น้อยกว่ า 3 ปี
แนวทางการเพิม ่ พูนความรูค ้ วามสามารถ การ ยื่นคําขอเลื่อนประเภท
เป็นสมาชก ิ ของสมาคมต่าง ๆ การพ ัฒนา
ความรู ้ (CPD) และการถ่ายทอดความรู ้ สอบ ผ่ าน ตรวจสอบ ไม่ ผ่าน
สั มภาษณ์ ผลงานและปริมาณ
ปัญหาอุปสรรคในการทํางานและการแก้ไข งาน
(ต ัวอย่าง) ≥ 70 ขึน้ ไป ปฏิเสธ
(สอบผ่ าน)
วิธก
ี ารทดสอบระบบก่อนทํางาน คณะ
ความรูเ้ กีย
่ วก ับกฎหมายและจรรยาบรรณ คณะอนุกรรมการ กรรมการ
ออกใบ
คะแนน 70% สภาวิศวกร อนุญาต
ความรู ้ ความเข้าใจเกีย ่ วก ับมาตรฐานการ
ติดตงทางด้
ั้ านไฟฟ้าฯ
-ฝึ กอบรมเฉพาะด้ าน ไม่ ผ่าน
-ทํารายงานทางวิชาการ
-สอบข้ อเขียน
ผ่ าน
แนะนําภาพรวมของการสอบสัมภาษณ์ 151 วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า...กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ 152

38
12/05/61

ประว ัติ นายกิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท

 การศึกษา
• ป. ตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (KMUTT)
• ป. โท การจ ัดการภาคร ัฐและเอกชน (NIDA)
• Graduate Level programs in Power Engineering in Electrical Power
Distribution ;Pennsylvania State University
 สถานทีท
่ ํางาน ผู ้อํานวยการไฟฟ้ าเขตสมุทรปราการ การไฟฟ้ านครหลวง
 ประสบการณ์ทํางาน
• คณะอนุกรรมการและผูช ้ ํานาญพิเศษในการทดสอบความรูค ้ วามชํานาญผูป
้ ระกอบ
วิชาชีพ ระด ับภาคีพเิ ศษ สาม ัญวิศวกร และวุฒวิ ศ
ิ วกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ของสภา
วิศวกร(2547-ปัจจุบ ัน)
• คณะกรรมการสาขาไฟฟ้าและคณะอนุกรรมการร่างมาตรฐาน ของ ว.ส.ท.( ตงแต่ ั้ ปี

ด ้วยความปรารถนาดี •
2537- ถึงปัจจุบ ัน)
วิทยากรบรรยายเรือ ่ ง “มาตรฐานการติดตงทางไฟฟ
ออกแบบระบบไฟฟ้า” ของ ว.ส.ท (ตงแต่ ั้
ั้ ้ าสําหร ับประเทศไทยและการ
ปี 2544-ปัจจุบ ัน)
กิตติพงษ์ วีระโพธิป
์ ระสิทธิ์ • ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถ ัมภ์
คณะอนุกรรมการฯ สามัญ-วุฒวิ ศ ิ วกร (วสท.) ประจําปี พ.ศ. 2557 - 2559

(ระบบจ่ายไฟฟ้าในประเทศไทยและระบบไฟฟ้าอาคารชุด; กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิ ทธิ์ สภาวิศวกร 12-05-61 ) 154

39

You might also like