You are on page 1of 133

การทดสอบสมรรถนะของ

เครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
(Load Test)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี

าวศิ
วฟก.818,ACPE 01242/TH
เลขาธิการ สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย
กรรมการผู้จัดการ
สภ
บริษัท นอร์ธพลัส จากัด
Agenda
• มาตรฐานอ้างอิง (Reference Standard)


• แบบของการใช้งาน พิกัดกาลัง และ ระดับสมรรถนะ

วก
(Modes of operation, power rating and performance class)
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)

าวศิ
• การติดตั้งทางไฟฟ้า (Electrical Installation)
สภ
• การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Load Test)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 2



วก
มาตรฐานอ้างอิง
าวศิ
(Reference Standard)
สภ
3 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 3
มาตรฐานอ้างอิง


วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 4

วก
แบบของการใช้งาน พิกัดกาลัง และ
ระดับสมรรถนะ
(Modes of operation, power
าวศิ
rating and performance class)
สภ
5 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 5
5
ก.2 แบบของการใช้งาน (Modes of operation)
• แบบใช้งานต่อเนื่องที่โหลดเปลีย่ นแปลง
(Continuous operation at varying


load)

วก
เช่น เกาะ หรือบริเวณที่ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ ยัง
มาไม่ถึง
 แบบใช้งานต่อเนื่องทีโ่ หลดคงที่

าวศิ
(Continuous operation at constant load)
เช่น ใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสาหรับจ่ายกระแสไฟฟ้า
สภ
แบบโหลดคงที่ (Base load) สาหรับโรงไฟฟ้าพลังงาน
ความร้อนร่วม (Combined heat), หรือโรงไฟฟ้า
(Power plant)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 6
ก.2 แบบของการใช้งาน (Modes of operation)
6

• แบบใช้งานภายในเวลาที่กาหนดที่โหลด • แบบใช้งานภายในเวลาที่กาหนดที่โหลดคงที่
เปลี่ยนแปลง (Limited time operation at


(Limited time operation at constant load)
varying load)

วก
เช่น ใช้สาหรับงานการจัดการลดทอนโหลดสูงสุด
เช่น ใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอาคาร กรณีไฟฟ้าปกติ (Peak shaving load management)
หรือไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ ดับ หรือขัดข้อง

าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 7
8
ก.3 มาตรฐานสภาวะบรรยากาศของการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


▪ ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (Mean sea level) ไม่เกิน 1,000 Ft

วก
หรือ 300 m ทั้งนี้ เป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต
▪ อุณหภูมิบรรยากาศ ไม่เกิน 35 องศาเซลเซียส
▪ ความชื้นสัมพัทธ์ ไม่เกิน 60 เปอร์เซนต์

าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 8
ก.4 พิกัดกาลัง (Power Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ค่าพิกัดกาลัง ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


• เป็นกาลังสุทธิที่จ่ายให้กับโหลดโดยวัดที่ขั้วต่อด้านออกของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า โดยไม่

วก
รวมกาลังที่จ่ายให้โหลดภายในของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเอง
• กาหนดเป็น kVA ที่ความถี่พิกัด (Rated Frequency) หรือช่วงความถี่พิกัด (Rated
Frequency Range) และค่าตัวประกอบกาลัง (Cos ø ) มีค่าเป็น 0.8 lagging เว้น

าวศิ
แต่มีกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
• ภายใต้ เ งื่ อ นไขการใช้ ง านประกอบกั บ รอบการบ ารุ ง รั ก ษารวมทั้ ง ขั้ น ตอนในการ
สภ
ดาเนินการที่กาหนดโดยผู้ผลิตซึ่งได้เห็นชอบร่วมกัน
*** ISO 8528-1 (2018)***
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 9
ก.49 พิกัดกาลัง (Power Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
*** วสท. 112002-59*** *** ISO 8528-1 (2018)***


▪ พิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง (Continuous power o พิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง (Continuous Power)

วก
(COP) หรือ Base load power) : COP
▪ พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime power, PRP) o พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime Power) : PRP
➢ แบบไม่จากัดเวลา (Unlimited Running o พิ กั ด ก าลั ง แบบจ ากั ด เวลาใช้ ง าน (Limited–
Time Prime Power , ULTP) Time Running Power) : LTP

าวศิ
➢ แบบจากัดเวลา (Limited – Time running o พิ กั ด ก า ลั ง ส า ร อ ง ฉุ ก เ ฉิ น (Emergency
power : LTP) Standby Power) : ESP
สภ
▪ พิกัดกาลังสารองฉุกเฉิน (Emergency standby
power : ESP) o พิ กั ด ก าลั ง ดาตาเซน เตอร์ (Data Centre
Power ) : DCP

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 10


ก.4
10
พิ ก ด
ั ก าลั ง (Rating) ของเครื อ
่ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า
พิ กั ด ก าลั ง แบบต่ อ เนื่ อ ง (Continuous


power (COP) หรือ Base load power)

วก
จ่ายให้กั บโหลดได้อย่า งต่อ เนื่องจนถึ ง 100 เปอร์เ ซ็นต์
ของพิกัดกาลังแบบต่อเนื่องโดยไม่จากัดเวลาได้ตลอดเวลา
ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานประกอบกับรอบการบารุงรักษา
รวมทั้งขั้นตอนในการดาเนินการที่กาหนดโดยผู้ผลิตซึ่งได้

าวศิ
เห็ น ชอบร่ ว มกั น ยกเว้ น ช่ ว งเวลาที่ ต้ อ งใช้ ใ นการซ่ อ ม
บารุงรักษา
พิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบนี้เหมาะสาหรับการ
สภ
ใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ขนานเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 11


ก.4 พิ ก ด
ั ก าลั ง (Rating) ของเครื อ
่ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า
11
พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime power, PRP)
พิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสูงสุด ซึ่งสามารถจ่ายให้


โหลดได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาในกรณีที่ไฟฟ้าหลักขัดข้อง

วก
ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานประกอบกับรอบการบารุงรักษา
รวมทั้งขั้นตอนในการดาเนินการที่กาหนดโดยผู้ผลิตซึ่งได้
เห็นชอบร่วมกัน
แบบไม่จากัดเวลา (Unlimited Running Time Prime Power

าวศิ
, ULTP)
➢จ่ายให้ โ หลดได้อย่างต่อเนื่ องโดยไม่จากั ดเวลาสาหรั บ
โหลดประเภทไม่คงที่ (Variable Load Applications)
สภ
➢ค่าเฉลี่ยของโหลดแฟคเตอร์ไม่เกิน 70 % ของพิกัดกาลัง
**ไม่อนุญาตให้ใช้เกินกาลังพิกัด**
***วสท. 112002-59***
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 12
ก.4 พิกัดกาลัง (Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
12
พิกัดกาลังพร้อมใช้ (Prime power, PRP)
พิกัดกาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสูงสุด ซึ่งสามารถจ่ายให้


โหลดได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดเวลาในกรณี ที่ ไ ฟฟ้ า หลั ก

วก
ขัด ข้ อง ภายใต้ เ งื่ อ นไขการใช้ ง านประกอบกั บ รอบการ
บารุงรักษารวมทั้งขั้นตอนในการดาเนินการที่กาหนดโดย
ผู้ผลิตซึ่งได้เห็นชอบร่วมกัน
➢จ่ายให้โหลดได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่จากัดเวลาสาหรับ

าวศิ
โหลดประเภทไม่คงที่ (Variable Load Applications)
➢ค่าเฉลี่ยของโหลดแฟคเตอร์ไม่เกิน 70 เปอร์เซ็นต์ ของ
พิกัดกาลัง
สภ
➢อนุญาตให้ใช้เกินกาลังพิกัดได้ไม่เกิน 10% รวมไม่เกิน
1 ชม.ในรอบ 12 ชม.
*** ISO 8528-1 (2018)***
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 13
ก.4 พิกัดกาลัง (Rating) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
13

พิกัดกาลังแบบจากัดเวลา (Limited –
Time running power : LTP)


วก
คื อ พิ กั ด ก าลั ง ของเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ที่ จ่ า ยสู ง สุ ด
(Maximum) คือ 100 เปอร์เซ็นต์ ของพิกัดกาลังพร้อม
ใช้ภายในเวลาที่กาหนด ซึ่งพิกัดกาลังของเครี่องกาเนิด
ไฟฟ้า ชนิดนี้ สามารถใช้ง านได้ไ ม่เ กินปีล ะ 500 ชั่ วโมง
ภายใต้เงื่อนไขการใช้งานประกอบกับรอบการบารุงรักษา

าวศิ
รวมทั้งขั้นตอนในการดาเนินการที่กาหนดโดยผู้ผลิตซึ่งได้
เห็นชอบร่วมกัน
สภ
➢ถ้าต้องการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดนานกว่านี้ให้
เลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดพิกัดกาลังแบบต่อเนื่อง
(Continuous power หรือชนิด Base load power)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 14


ก.4
15
พิ ก ด
ั ก าลั ง (Rating) ของเครื อ
่ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า
พิกัดกาลังสารองฉุกเฉิน (Emergency


standby power : ESP)

วก
▪จ่ายให้เพื่อทดแทนกาลังไฟฟ้าหลักในกรณีไฟฟ้าหลักดับ
หรือขัดข้อง
▪ไม่สามารถจ่ายกาลังไฟฟ้าได้เกินกว่าพิกัดสูงสุด

าวศิ
▪จ่ายให้โหลดประเภทไม่คงที่ (Variable Load
Applications)
สภ
▪เฉลี่ยโหลดแฟคเตอร์ไม่เกิน 70 % ของพิกัดกาลัง
▪ใช้งานได้ปีละไม่เกิน 200 ชั่วโมง
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 15
ก.4
16
พิ ก ด
ั ก าลั ง (Rating) ของเครื อ
่ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า
พิกัดกาลังดาตาเซนเตอร์ (Data Center Power : DCP)


▪ ใช้งานได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่จากัดเวลา

วก
▪ ไม่สามารถใช้งานเกินกว่าพิกัดสูงสุด
▪ จ่ายให้โหลดประเภทไม่คงที่ (Variable Load Applications)
▪ ผู้ผลิตต้องรับผิดชอบจัดเตรียมขนาดพิกัดกาลังให้รองรับโหลดได้อย่างมีเสถียรภาพ

าวศิ
▪ อาจนาไปเป็นแหล่งจ่ายพลังงานสารองกรณีที่แหล่งจ่ายไฟหลักมีความน่าเชื่อถือเพียงพอ
แต่ ไ ม่ อ นุ ญ าตใหใช้ เ ป็ น แหล่ ง จ่ า ยพลั ง งานคู่ ข นานไปกั บ แหล่ ง จ่ า ยไฟหลั ก เป็ น ระยะ
สภ
เวลานาน
*** ISO 8528-1 (2018)***
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 16
ค่าพิกัดกาลังต่างๆ ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
าวศิ
สภ
DCP

Cr. Power topic #6240 | Technical information from Cummins, Inc., Understanding ISO 8528-1 Generator Set Ratings, White
Paper by Munir Kaderbhai, Sales Application Engineer
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 17
ก.517 ระดับสมรรถนะ (Performance class)


• ระดับสมรรถนะ G1 (Class G1)

วก
• ระดับสมรรถนะ G2 (Class G2)
• ระดับสมรรถนะ G3 (Class G3)
• ระดับสมรรถนะ G4 (Class G4)

าวศิ
สภ
Cr.Cummin Power Generation
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 18
ก.5 ระดับสมรรถนะ (Performance class)
18

• ระดับสมรรถนะ G1 (Class G1)


เป็นระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดธรรมดาทั่ว ๆ ไป ซึ่งไม่

วก
อ่อนไหวต่อค่าผันผวนของแรงดันไฟฟ้า (Voltage) และความถี่ (Frequency)
• ระดับสมรรถนะ G2 (Class G2)
เป็น ระดับสมรรถนะของเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดธรรมดาทั่วไป ซึ่งอ่อนไหวต่อ

าวศิ
ค่าแรงดันไฟฟ้าและความถี่เปลี่ยนแปลงชั่วขณะแต่ยังอยู่ในค่าที่ยอมรับได้ (Temporary but
acceptable deviations of voltage and frequency)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 19
ก.5 ระดับสมรรถนะ (Performance class)
19

• ระดับสมรรถนะ G3 (Class G3)


วก
เป็น ระดับสมรรถนะของเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า ที่ใช้กับโหลดซึ่งอ่อนไหวและต้องการรักษา
ระดับ (The stability and level) ของความถี,่ แรงดันไฟฟ้าและรูปคลื่น (Waveform
characteristics) ของระบบไฟฟ้าให้คงทีต่ ลอดเวลา
• ระดับสมรรถนะ G4 (Class G4)

าวศิ
เป็นระดับสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้กับโหลดซึ่งต้องการรักษาระดับของความถี่,
แรงดันไฟฟ้าและรูปคลืน่ เป็นพิเศษ (Exceptionally severe)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 20
20
ตารางแสดงตัวอย่าง ระดับสมรรถนะ ต่างๆ


Class G1 Class G2 Class G3 Class G4

วก
• ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง • ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง • โหลดไม่เชิงเส้น • Data-processing
• โหลดพื้นฐานอื่น ๆ • ปั๊ม • ระบบสื่อสาร equipment
• พัดลม • Thyristor- • ระบบคอมพิวเตอร์
• ระบบรอก controlled loads

าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 21
ตารางที่ ก.1แสดงค่าต่างๆของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าระดับสมรรถนะG1, G2, G3 และ G4
21
Load Level 1 Performance class G1 G2 G3 G4
Frequency droop < 8% < 5% < 3% AMC


Steady – state frequency band < 2.5% < 1.5% < 0.5% AMC

วก
Maximum frequency dip < -15% < -10% < -7% AMC
Maximum frequency rise < +18% < +12% < +10% AMC
Frequency recovery time < 10 sec. < 5 sec. < 3 sec. AMC

าวศิ
Steady state voltage deviation < 5% < 2.5% < 1% AMC

Maximum voltage dip < -15%


สภ <-25% < -20% AMC
Maximum voltage rise < +35% < +25% < +20% AMC Data Center

Voltage recovery time < 10 sec. < 6 sec. < 4 sec. AMC
หมายเหตุ AMC = โดยความตกลงร่วมกันระหว่างผู้ใช้งานและผู้ผลิต (By agreement between manufacturer and customer)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 22

วก
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่น
เครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation
าวศิ
and Installation Requirements
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 23
ห้องเครื2 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• ความต้องการทั่วไป (General Requirements)

วก
• ตาแหน่งติดตั้ง (Location)
• การป้องกันเสียงและอุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือน (Sound Proof and
Vibration Isolator)
• ระบบระบายอากาศ (Ventilation System)

าวศิ
• ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)
สภ
• ระบบแบตเตอรี่ (Battery System)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 24



วก
ความต้องการทั่วไป
าวศิ
(General Requirements)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 25
ห้องเครื
3 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


วก
• ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องติดตั้ง
ภายในห้องซึ่งแยกต่างหากออกจากระบบ
อื่นๆ และมีการระบายอากาศได้ดี

าวศิ
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องทนไฟได้ไม่
น้อยกว่า 2 ชั่วโมง
สภ
รูปแสดงการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 26
ห้องเครื
11 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

วก
• ให้มีระยะห่าง ระหว่างฐานแท่น
(Foundation) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และผนังห้องไม่ต่ากว่า 1 เมตร
• ด้านท้ายเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมี

าวศิ
พื้นที่ว่างสาหรับปฏิบัติงานไม่ต่ากว่า
1.5 เมตร
สภ
• ไม่มีฝ้าเพดาน ภายในห้องเครื่อง ท้ายเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 27
ห้องเครื
20 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• ฐานแท่ น เครื่ อ งจะต้ อ งมี ข นาดใหญ่ ก ว่ า แท่ น

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid base) 150 มม. หรือ
6 นิ้ ว ทุ ก ด้ า นเพื่ อ ให้ ส ปริ ง หรื อ ยางรองแท่ น
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถติดตั้งบนฐานแท่น
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้โดยไม่ตกจากแท่น

าวศิ
• ฐานแท่นเครื่องจะต้องยกสูงจากพื้น อย่างน้อย
สภ
150 มม. หรื อ 6 นิ้ ว เพื่ อ สะดวกในการซ่ อ ม
บารุงรักษาชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 28


ห้องเครื
13 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• ไม่อนุญาตให้เก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ

วก
ยกเว้น ถังน้้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำภำยในห้องเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำ
• ไม่อนุญาตให้ใช้วัสดุไวไฟเป็นส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

าวศิ
• ต้องมีแสงสว่างเพียงพอสาหรับการทางานอย่างปลอดภัยโดยมีความส่องสว่างขั้นต่าโดย
เฉลี่ยที่ระดับพื้นผิวการทางาน 200 ลักซ์
สภ
• วงจรไฟฟ้าสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างดังกล่าวต้องจ่ายจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอน
ถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 29
ห้องเครื
15 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


วก
• ต้องมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างสารองฉุกเฉิน
• ซึ่งมีแหล่งจ่ายไฟจากแบตเตอรี่แยกต่างหากจากวงจรจ่ายไฟปกติ

าวศิ
• โดยมีระยะเวลาการส่องสว่าง ไม่น้อยกว่า 90 นาที
• ที่ระดับพื้นผิวการทางานต้องไม่น้อยกว่า 32.3 ลักซ์ (3 ฟุต-แคนเดิ้ล) เว้นแต่
สภ
กาหนดเป็นอย่างอื่นโดยมาตรฐานหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องฉบับล่าสุด

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 30


ห้องเครื
16
่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


วก
▪ การออกแบบ ติดตั้งท่อ-ทางเดินสายไฟ ดวงโคมไฟฟ้า ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
ฉุกเฉินให้พิจารณาผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึ้นจากการแผ่ความร้อนในขณะการทางานของเครือ่ ง
กาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน
▪ ต้องจัดเตรียมเต้ารับไฟฟ้า 1 เฟส พร้อมสายดินอย่างน้อย 2 จุด สาหรับใช้ในการซ่อมบารุง

าวศิ
และการบารุงรักษา อุปกรณ์
สภ
o วงจรไฟฟ้าสาหรับเต้ารับนี้ จะต้องแยกอิสระจากวงจรไฟฟ้าอื่น
o ต้องจ่ายไฟจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 31


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
18

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• จัดเตรียมวงจรย่อยไว้สาหรับอุปกรณ์ประกอบที่มีความจาเป็นทัง้ หมดสาหรับการทางานของ

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน วงจรย่อยนี้จะต้องจ่ายไฟจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่าย
แหล่งจ่ายไฟ หรือ ขั้วต่อไฟฟ้าของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• อุปกรณ์ประกอบดังกล่าวได้แก่

าวศิ
- เครื่องสูบน้ามันเชือ้ เพลิง
- เครื่องสูบสารหล่อเย็นของระบบ remote radiator
สภ
- ระบบระบายอากาศขับด้วยมอเตอร์
• ต้องจัดเตรียมวงจรย่อยจากระบบจ่ายไฟฟ้าปกติ ไว้สาหรับชุดอัดประจุแบตเตอรี่ และชุดความ
ร้อนของสารหล่อเย็น
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 32
ห้องเครื
19 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• ต้องจัดเตรียมระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ฉบับล่าสุด

วก
• การติดตั้งระบบดับเพลิงภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยของ วสท. ฉบับล่าสุดและ ไม่อนุญาต ให้ใช้ระบบหรือสาร
ดับเพลิงดังต่อไปนี้

าวศิ
o ระบบดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือฮาลอน ถ้าไอดี (Combustion air) ของเครื่องต้น
กาลัง (Prime mover) ไม่ได้ถูกนาเข้ามาโดยตรงจากภายนอกอาคาร
สภ
o ผงเคมีแห้งระบบอัตโนมัติ
ยกเว้น ได้รับการรับรองจากบริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้าว่าผงเคมีแห้งที่ใช้จะไม่เป็นอันตรายต่อเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า ไม่มีผลกระทบต่อการทางาน หรือทาให้ความสามารถผลิตกาลังไฟฟ้าลดลง
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 33

วก
ตาแหน่งติดตั้ง
าวศิ
(Location)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 34
ห้องเครื
29 ่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง

(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)


• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในตาแหน่งที่สะดวกต่อการขนย้ายชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้าหรือออกจากห้อง

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณอากาศที่ใช้ในการระบายความร้อนและการสันดาปเพียงพอ และอยู่ใน
ตาแหน่งที่อากาศดี (Fresh air) สามารถไหลเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้สะดวก
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในที่ปลอดภัยจากน้าท่วมสาเหตุเกิดจาก น้าดับเพลิง น้าเสียอื่น ๆ

าวศิ
• ไม่อนุญาตให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ตู้ไฟฟ้า ตู้ควบคุมและอุปกรณ์ประกอบอื่น สาหรับโหลดระดับ 1 (Level 1) ติดตั้ง
อยู่ในห้องเดียวกันกับระบบไฟฟ้าอื่นที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินมากกว่า 150 โวลท์ และมีพิกัดกระแสมากกว่า
สภ
หรือเท่ากับ 1,000 แอมป์

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 35



วก
ระบบระบายอากาศ
(Ventilation System)
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 36
Installation STANDARD
4
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ตาแหน่งช่องอากาศเข้า ตาแหน่งช่องอากาศออก


•อยู่ด้านหลังเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ▪ อยู่ด้านหน้าชุดหม้อน้าระบายความร้อน

วก
•ตรงข้าม (ห้ามอยู่บนผนังเดียวกัน) กับ ▪ ตรงข้าม (ห้ามอยู่บนผนังเดียวกัน) กับ
o ชุดหม้อน้าระบายความร้อน o ช่องอากาศเข้า
o หรือช่องอากาศออก ▪ ท่อนาอากาศออกจากรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator
•ต้องห่างจากปลายท่อไอเสีย (Exhaust Outlet) discharge duct) จะต้องเป็นชนิด Self – supporting

าวศิ
ไม่น้อยกว่า 5 เมตร ▪ ติดตั้งเพื่อระบายลมร้อนออกนอกอาคาร (Downwind side)
•ไม่มีสิ่งกีดขวาง
▪ ไม่มีสิ่งกีดขวาง
•ความเร็วสูงสุดไม่เกิน 500 – 700 ฟุตต่อนาที
สภ
(150- 220 เมตรต่อนาที) ▪ ความเร็วสูงสุดไม่เกิน 750 – 1,050 ฟุตต่อนาที
•ตาแหน่งต่าที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ (225- 315 เมตรต่อนาที)
▪ ตาแหน่งสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 37

ท่อนาอากาศออกจากรัง

วก
ผึ้งระบายความร้อน
(Radiator discharge
duct) จะต้องเป็นชนิด

าวศิ Self – supporting


สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 38
Installation STANDARD
3
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
ความเร็วลมเข้าเฉลี่ยสูงสุดไม่
เกิน 500 – 700 ฟุต ต่อ
นาที (150 – 220 เมตรต่อ

าวศิ
นาที) สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 39
Installation STANDARD
6
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 40
Installation STANDARD
7
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
รูปแสดงการติดตั้งจานวน
มากกว่า 1 ชุดและตาแหน่ง

าวศิ
ของช่องอากาศเข้า
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 41
Installation STANDARD
8
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
าวศิ
สภ
รูปแสดงตาแหน่งช่องอากาศเข้า-ออกที่เหมาะสม และไม่เหมาะสม
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 42
Installation STANDARD
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
43

• ขณะที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากาลังเดินเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าเต็มที่ ปริมาณอากาศที่ไหลผ่านห้องเครื่อง


กาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณเพียงพอที่จะรักษาอุณหภูมิสูงสุดภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไม่ให้สูงเกิน

วก
ค่าอุณหภูมิสูงสุด 40 °C (ทั้งนี้ให้วัดอุณหภูมิที่ทางเข้าเครื่องกรองอากาศ)
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้ โหลดระดับ 1 อากาศสาหรับระบายความร้อนห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและ
อากาศสาหรับใช้ในการสันดาปต้นกาลัง จะต้องนามาจากภายนอกอาคารโดยตรง กรณีใช้ระบบส่ง
อากาศจากภายนอกอาคารจะต้องส่งผ่านระบบที่สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง

าวศิ
• ช่องลมออก (Radiator air discharge) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 จะต้องส่งผ่าน
ระบบที่สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
สภ
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 ไม่อนุญาตให้ใช้ Fire damper, Shutters หรือ Self –
closing devices อื่นๆ ที่ช่องลมเข้า – ออก หรือระบบท่อสาหรับดูดหรือจ่ายอากาศเข้า -ออกห้อง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 43
การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง


• ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน เพื่อการช่วยชีวิต

วก
• ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
• ระบบลิฟท์
ระดับ 1 •

เครื่องสูบน้าดับเพลิง
กระบวนการที่หยุดแล้ว เป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อ

าวศิ
ชีวิต และสุขอนามัย
• ระบบระบายอากาศและระบบระบายควันไฟ
สภ
• ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 1

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 44


การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง


• ระบบปรับอากาศ

วก
• ระบบสื่อสาร
• ระบบระบายอากาศและระบบระบายควันไฟ
ระดับ 2 • ระบบบาบัดน้าเสีย

าวศิ
• ระบบแสงสว่าง
• ระบบการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม
สภ
• ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 2

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 45


INSTALLATION STANDARD
60
ระบบระบายอากาศ (VENTILATION SYSTEM) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


• การออกแบบระบบระบายอากาศจะต้องออกแบบให้ความดันภายในห้องเป็นลบเล็กน้อย และ

วก
เมื่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทางาน ประตูทุกบาน จะต้องปิดเพื่อให้อัตราการไหลของอากาศเป็นไป
ตามที่ได้ออกแบบไว้
• ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ที่มีการเผาไหม้ เช่น หม้อไอน้า (Boiler) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพราะ

าวศิ
มีผลกระทบกับประสิทธิภาพของการระบายอากาศภายในห้องเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 46
INSTALLATION STANDARD
ระบบระบายอากาศ (VENTILATION SYSTEM) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
61


วก
าวศิ
สภ
Air Inlet with sound
AIR INLET LOUVER WITH SCREEN attenuator
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 47
INSTALLATION STANDARD
63
ระบบระบายอากาศ (VENTILATION SYSTEM) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
าวศิ
สภ
Air Outlet Louver DAMPER
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 48
INSTALLATION STANDARD
65
ระบบระบายอากาศ (VENTILATION SYSTEM) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า


วก
าวศิ
สภ
Gravity Shutter
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 49

วก
ระบบน้ามันเชื้อเพลิง
(Fuel System)
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 50
10
ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)


▪ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองระดับที่ 1 (level 1) ให้สารองน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินเครื่อง

วก
กาเนิดไฟฟ้าเต็มกาลัง ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (class) 6 (6 ชั่วโมง)
▪ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองระดับที่ 2 (level 2) ให้สารองน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าเต็มกาลัง ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (class) 4 (4 ชั่วโมง)

าวศิ
▪ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสารอง สาหรับโรงพยาบาล ให้สารองน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินเครื่อง
สภ
กาเนิดไฟฟ้าเต็มกาลัง ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (class) 48 (48 ชั่วโมง)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 51


10
ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)


▪ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองสาหรับสนามบิน ให้สารองน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินเครื่องกาเนิด

วก
ไฟฟ้าเต็มกาลัง ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (class) 72-96 (72-96 ชั่วโมง)
▪ ระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองสาหรับดาตาเซนเตอร์ ให้สารองน้ามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินเครื่อง

าวศิ
กาเนิดไฟฟ้าเต็มกาลัง ไม่น้อยกว่า ระดับชั้น (class) 8-96 (8-96 ชั่วโมง)
▪ น้ามันดีเซลที่ไม่เคลื่อนไหวอาจก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของสิ่งสกปรกจึงให้ทาการตรวจสอบการเพิ่มขึ้น
สภ
ของสิ่งสกปรกในน้ามันดีเซลอย่างน้อยทุกๆ 3 เดือน ทั้งนี้หากเป็นน้ามันเชื้อเพลิงชนิดไบโอดีเซล จะต้อง
ติดตั้งระบบทาความสะอาดน้ามันดีเซล (oil polisher) ด้วย
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 52
11 ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)
ชนิดของถังน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel tank) มี 4 ชนิดดังนี้ :


1. ถังน้ามันประจาเครือ่ ง (Fuel day tank)

วก
▪ มีความจุไม่เกิน 2,500 ลิตร
▪ อย่างน้อยต้องมีความจุสามารถจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ไม่ต่ากว่า 4 ชั่วโมง
เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดเต็มที่ (Full load)
2. ถังน้ามันเชื้อเพลิงชนิดติดตั้งภายในห้องแยก (Enclosed Fuel tank) ต่างหากจากห้องเครื่องกาเนิด

าวศิ
ไฟฟ้า แบ่งออกเป็นขนาดความจุ ต่างๆดังนี้
▪ ความจุรวม 2,501- 5,000 ลิตร จะต้องติดตั้งในห้องแยกต่างหากที่มีพื้น ผนัง ประตู และ เพดานห้องที่
สภ
มีอัตราการทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 2 ชม.
▪ ความจุรวม 5,001- 15,000 ลิตร จะต้องติดตัง้ ในห้องแยกต่างหากที่มีพื้น ผนัง ประตู และ เพดานห้อง
ที่มีอัตราการทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 3 ชม.
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 53
36


วก
าวศิ
สภ
แบบถังน้ามันประจาเครือ่ ง (Fuel day tank)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 54
39


วก
BUND WALL
ปริมาตร 5,500 ลิตร

าวศิ
สภ
ถังนา้ มันสารอง 5,000 ลิตร
อยู่บนแท่ นสูง 50 ซม.

แบบแสดงถังน้ามันเชื้อเพลิงชนิดติดตั้งในห้องแยก
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 55
12 ระบบน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel System)
ชนิดของถังน้ามันเชื้อเพลิง (Fuel tank) มี 4 ชนิดดังนี้ :


วก
3. ถังน้ามันเชื้อเพลิงชนิดติดตั้งมาจากบริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Integral fuel tank)
▪ ชนิดติดตั้งบนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Mounted on the engine)
▪ ชนิดติดตั้งภายใต้แท่นเครื่อง (Under a sub base)
ความจุของถังน้ามันเชื้อเพลิงจะต้องไม่เกิน 2,500 ลิตร ถือเป็นส่วนประกอบของเครื่องกาเนิด

าวศิ
ไฟฟ้า
4. ถังน้ามันเชื้อเพลิงสารอง (Main fuel tank หรือ Fuel storage tank) สาหรับจ่ายน้ามัน
สภ
เชื้อเพลิงให้เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าหรือถังน้ามันประจาเครื่อง (Fuel day tank) ถ้ามีความจุ
รวมเกิน 15,000 ลิตร จะต้องติดตั้งภายนอกอาคาร โดยติดตั้งใต้พื้นดิน หรือบนพื้นดินตามที่
กาหนดในกฎกระทรวงสถานที่เก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิงฉบับล่าสุด
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 56
43


วก
าวศิ
สภ
รูปแสดงถังน้ามันเชื้อเพลิงติดตั้งมาจากบริษัทผู้ผลิต
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 57
45


วก
าวศิ
สภ
แบบแสดงถังน้ามันเชื้อเพลิงสารองชนิดติดตั้งเหนือพื้นดิน
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 58
47


วก
าวศิ
สภ
แบบแสดงถังน้ามันเชื้อเพลิงสารองชนิดติดตั้งใต้ดิน
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 59
ไม่อนุญาตให้นาท่อต่างๆ เหล่านี้มาใช้เป็นท่อน้ามันเชื้อเพลิง


• ท่อเหล็กหล่อและท่ออลูมิเนียม (cast iron and aluminum pipe) เนื่องจากวัสดุทั้งสองมี

วก
คุณสมบัติเป็นรูพรุน (porous) ซึ่งน้ามันเชื้อเพลิงสามารถรัว่ ออกมาได้

• ท่อเหล็กอาบสังกะสี (galvanized fuel pipe line) เนื่องจากอาจทาให้เครื่องสูบน้ามัน


เชื้อเพลิงและไส้กรองน้ามันเชื้อเพลิงอุดตันได้

าวศิ
• ท่อทองแดง (copper fuel pipe line) เนื่องจากในระยะยาวอาจทาให้หัวฉีดอุดตัน (clog
สภ
fuel injectors) อีกประการหนึ่ง ท่อทองแดงจะมีความหนาน้อยกว่าและเกิดการแตกหัก
เสียหายง่ายกว่าท่อเหล็กดา

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 60


เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง
ต้องเป็นชนิดหอยโข่ง (centrifugal pump) หรือชนิดอัตราการ


ไหลคงที่ (positive displacement pump) ที่เหมาะสม

วก
สามารถใช้กับน้ามันดีเซลได้ดีเนื่องจากน้ามันมีความหนืดและ
อย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติดังนี้ :

• ต้องมี safety relief valve ติดตั้งอยู่ด้วย

าวศิ
• ตัวซีล (seal) เป็นแบบ mechanical seal
• ต้องสามารถสูบน้ามันเชื้อเพลิงเข้าเต็มความจุของ ถัง
สภ
น้ามันประจาเครื่อง (Fuel Day Tank) ได้ภายในเวลา
ไม่เกิน 2 ชั่วโมง
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 61

วก
ระบบแบตเตอรี่
(Battery System)
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 62
15 ระบบแบตเตอรี่ (Battery System)
แบตเตอรี่จะต้องเป็นชนิดไม่ต้องบารุงรักษา (Maintenance Free) และต้องเหมาะสมกับอุณหภูมิใช้


งานในสภาวะแวดล้อมปกติในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้ ทั้งนี้ ต้องมีขนาด Cold Cranking Amp.

วก
(CCA) ตามข้อกาหนดของบริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

าวศิ
** NFPA 110, Standard for Emergency and Standby Power Systems Handbook 2013**
สภ
CCA มาจากคาว่า Cold Cranking Amps คือ ค่ากระแสไฟฟ้าสูงสุดที่แบตเตอรี่ จะสามารถจ่ายได้ ภายใต้
อุณหภูมิ – 17.8 ˚C (0 ˚F) ต่อเนื่อง 30 วินาที และ แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ไม่ต่ากว่า 1.2 V ต่อแผง

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 63


SAE J537 (BCI ) ; CCA


มาตรฐานการทดสอบค่า CCA ที่นิยมใช้กันมากที่สุด

วก
คือ SAE J537 (BCI ) CCA มีข้อกาหนดเบื้องต้น
ดังนี้คือ
- นาแบตเตอรี่ที่ชาร์จเต็มที่แล้ว เก็บรักษาไว้ที่
อุณหภูมิ – 17.8 ˚C นานอย่างน้อย 12 ชม. 7.7V

าวศิ
- คายประจุไฟฟ้า ด้วยกระแสสูงสุดคงที่ นาน
30 วินาที และ แรงดันไฟฟ้าไม่ต่ากว่า 7.2V
สภ
จากกราฟ เป็นแบตเตอรี่ขนาด 150Ah (N150) คายประจุไฟฟ้า
ที่ 900A คงที่ นาน 30 วินาที แรงดันไฟฟ้าไม่ต่ากว่า 7.2V
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 64
ตารางแสดงประเภทและวิวัฒนาการของแบตเตอรี่ ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
แบตเตอรี่ ที่ชาร์จได้


ชนิดแห้ง ชนิดเปียก (ตะกั่วกรด)

วก
ถ่านอัลคาไลด์ สาหรับสตาร์ทเครื่อง

นิเกล แคดเมียม ชนิดเติมน้ำ (Conventional)

นิเกลเมทมัลไฮไดล์ ชนิดบ้ำรุงรักษำน้อย (Low Maintenance)

าวศิ
ลิเทียมโฟลิเมอร์
สภ ชนิดไม่ต้องบ้ำรุงรักษำ (Maintenance free)

น้า (Flooded)
เจล (Gel)
ใยแก้วดูดน้ากรด (AGM)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 65


ชนิดเติมน้า (Conventional)


▪ เป็นแบตเตอรี่ ตะกั่วกรด ชนิดที่เราคุ้นเคยมานานกว่า 50 ปี

วก
▪ ต้องเติมน้ากรด แล้วชาร์จก่อนการใช้งาน หรือ ต้องทิ้งไว้
มากกว่า 6 ชม. ก่อนการใช้งาน กรณีไม่ชาร์จ
▪ สูญเสียน้าค่อนข้างเร็วระหว่างการชาร์จ
▪ น้ากรดรั่วกัดกร่อนบริเวณติดตั้ง

าวศิ
▪ ความต้านทานไฟฟ้าในแผ่นธาตุสงู มากกว่า 5 mOhms
สภ
▪ มีความเสี่ยงในการใช้งาน เพราะต้องระวังน้ากรดแห้ง และ
แบตระเบิด หากต่อกับเครื่องชาร์จตลอดเวลา

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 66


ชนิดบารุงรักษาน้อย
(Low Maintenance or Hybrid Battery)
• เป็นแบตเตอรี่ที่พัฒนาให้ชาร์จและเติมน้ากรดจากโรงงานผลิต เพื่อ


ประโยชน์ในความสะดวกในการขาย

วก
• แผ่นธาตุผลิตด้วยกระบวนการหล่อโดยลดปริมาณการใช้แร่พลวง
ลงเหลือประมาณ 0.5-0.7% แล้วเติมธาตุแคลเซียม และแร่ดีบุก
เข้าไปในแผ่นธาตุบวก หรือ แผ่นธาตุลบ (แผ่นใดแผ่นหนึ่ง หรือทั้ง

าวศิ
สองแผ่น)
• แบตเตอรี่มีอัตราการสูญเสียไอน้ากรดน้อยลงอย่างมาก แต่ยังไม่
สภ
อาจจะปิดสนิทได้

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 67


แบตเตอรี่ Maintenance Free
(Seal Lead Acid Battery ; SLA)
• เป็นแบตเตอรี่ ที่พัฒนาเพื่อให้ได้คุณสมบัติสูงสุด โดยไม่ต้องกังวลเรื่องการรั่ว


ของน้ากรด และ ไม่ต้องคอยเติมน้ากลั่น

วก
• แผ่นธาตุผลิตจากกระบวนการรีด หรือ การหล่อแบบต่อเนื่อง โดยไม่มีการเติม
แร่พลวง แต่จะมีการใช้แร่ชนิดอื่น เช่น ดีบุก , แคลเซียม, เงิน และ อื่น ๆ
• แผ่นธาตุมีความต้านทานไฟฟ้าต่า และ มีความหนาแน่นสูง ทาให้ได้พลังงาน
ไฟฟ้าสูง

าวศิ
• มีอายุการใช้งานยาวนาน
• มีทั้งชนิดน้ากรด อยู่ในสภาพของเหลว , เจล และ แบบใยแก้ว (ถูกดูดซึมเข้า
สภ
ภายใน)
• แผ่นธาตุความต้านทานไฟฟ้าต่า 3-4 mOhms
• สะดวกในการใช้งาน ไม่ต้องเติมน้ากลั่นตลอดอายุ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 68
แบตเตอรี่ใยแก้วดูดซับน้ากรด
(Absorb Glass Matt ; AGM)


วก
• เป็นวิวัฒนาการ การผลิตแบตเตอรี่ที่ใช้เป็นใยแก้วดูดซับน้ากรด
หมดกังวลเรื่องการรั่วของน้ากรด และ ไม่ต้องคอยเติมน้ากลั่น
• เป็นแบตเตอรี่แห้ง 100% จึงสามารถหมุนวางได้ถึง 180 องศา

าวศิ
• แผ่นธาตุมีความต้านทานไฟฟ้าต่า กว่า 3 mOhms และ มี
ความหนาแน่นสูง ทาให้ได้พลังงานไฟฟ้าสูง
• มีอายุการใช้งานยาวนาน 3-5 ปีโดยไม่มีน้ากรดรั่วไหลออกมาก
สภ
• ปลอดภัยจากการระเบิด เพราะไม่มีน้ากรดภายในแบตเตอรี่

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 69



วก
การติดตั้งทางไฟฟ้า
าวศิ
(Electrical Installation)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 70
การติดตั้งทางไฟฟ้า (Electrical Installation)


• การจัดระดับชั้นของโหลดระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง (Load Classification)

วก
• อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติและสวิชต่อตรง (Automatic Transfer
Switch,ATS and By Pass Switch)

าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 71

วก
การจัดระดับชั้นของโหลดระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง
(Load Classification)
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 72
การจัดระดับชั้นของระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง


วก
• การจัดระดับความสาคัญการจ่ายโหลดของระบบจ่ายไฟฟ้าสารอง (Level)
• การจัดประเภทของระบบตามเวลาการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Type)
• การจัดระดับชั้น (Class) ของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองให้โหลดเป็นระยะเวลาต่าสุดโดย
ไม่ต้องเติมเชื้อเพลิงหรืออัดประจุซา้ มีหน่วยชั่วโมง

าวศิ
สภ
73 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 73
อุปกรณ์เครื่องวัดที่ติดตั้งที่แผงควบคุมของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
สารอง จะต้องมีรายการอย่างน้อยดังนี้


• AC Voltmeter หรือ Phase Selector Switch

วก
• AC Ammeter หรือ Phase Selector Switch
• Frequency meter
• ชุดปรับแรงดันไฟฟ้าโดยให้สามารถปรับได้ 5%

าวศิ
• ให้จัดเตรียมชุดอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ(Surge
สภ
Suppressor) สาหรับป้องกันแผงควบคุมของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง

74 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 74


การจัดประเภทของระบบตามเวลาการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ


ประเภทของระบบ เวลาในการเปลี่ยนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ

วก
(Type) (Power Restoration)
ประเภท U จ่ายไฟต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุด ( UPS )
ประเภท 10 10 วินาที

าวศิ
ประเภท 60 60 วินาที
ประเภท 120 120 วินาที
สภ
ประเภท M เปลี่ยนถ่ายด้วยมือหรือแบบไม่อัตโนมัติ-ไม่มีกาหนดเวลา

75 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 75


การจัดระดับชั้น (Class) ของระบบการจ่ายไฟฟ้าสารองให้โหลดเป็น
ระยะเวลาต่าสุดโดยไม่ต้องเติมเชื้อเพลิงหรืออัดประจุซ้า


ระดับชั้น (Class) เวลาน้อยที่สุด

วก
ระดับชั้น 0.083 0.083 ชั่วโมง (5 นาที)
ระดับชั้น 0.25 0.25 ชั่วโมง ( 15 นาที )
ระดับชั้น 2 2 ชั่วโมง

าวศิ
ระดับชั้น 6 6 ชั่วโมง
ระดับชั้น 48 48 ชั่วโมง
สภ
ระยะเวลาอื่นที่กาหนดเป็นชั่วโมงตามความต้องการ
ระดับชั้น X
โดยการใช้งาน,ข้อกาหนดอื่นหรือโดยผู้ใช้งาน
76 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 76

วก
าวศิ
อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติและสวิชต่อตรง
สภ
(Automatic Transfer Switch,ATS and By Pass Switch)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 77
Codes & Standards
Devices arranged for Source Switching, Devices arranged for Source Switching,


but not EN/IEC rated as ATSE EN/IEC rated as ATSE

วก
าวศิ
Contactors & Switch Circuit Power
Motor Starters Disconnector Breakers Contactors
สภ
IEC 60947-4 IEC 60947-3 IEC 60947-2 IEC 60947-6-1
UL 508 UL 363 UL 489 UL 1008

Devices may be arranged to function as an ATSE, but not be


rated as ATSE by a Recognized body
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 78
Importance of Electrical Standards
Standards Establish The Criteria For The Suitability Of A Device For The Intended Use


วก
o Circuit Breakers interrupt overload and fault currents. They were not
intended to be used as a repetitive switching device.
o Contactors were not intended to remain closed under high fault conditions or
to make on faults.

าวศิ
o Switch Disconnector were not intended to transfer loads from Live to Live.
สภ
ATS are designed to perform repetitive switching from Live to Live and
closed on high fault currents!

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 79


Transfer Switch Legal Definitions
• EN/IEC 60947-6-1: A device for transferring of one or more load


circuits from one supply to another. A self acting equipment

วก
containing the transfer switching device(s) & other necessary
devices for monitoring supply circuits and for transferring one or
more load circuits from one supply to another.
Class PC: สามารถทนกระแส
สู ง ได้ แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก ออกแบบให้
ตัดวงจร

าวศิ
สภ
Class CB: สามารถทนกระแสสูงได้
มี ชุ ด ป้ อ งกั น กระแสเกิ น และถู ก
ออกแบบให้ตัดเมื่อเกิดการลัดวงจร
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 80
Selective Coordination of ATS Short-time
Rated CB
IEC Class ‘B’

IEC CB IEC CB IEC CB Std (Non-Current

IEC 60947-2 Annexe IEC 60947-2 Annexe


Accordance with
Limiting, CB ~1.5

Selectivity in
Category ‘B’ Category ‘B’


Category ‘A’
cycles @ Isc)

Selectivity in Accordance with


Adequate to
CB ATS using

IEC 60947-2 Annexe A


protect

วก
difference between
Attempt selectivity
Std Cat A Std (3 cycle Std (Series-rated)

by >=2 x Size
contactors (~1.5 Cycle) Rated) ATS

Accordance with
CB’s
ATS

Selectivity in
Breakers

A
Fast (Current Std. CB Fast (Current
Limiting, ~0.75 IEC Category ‘A’ Limiting, ~0.75
Fast (Current cycle @ Avail (~ 1.5 cycles @ cycle @ Avail Isc)
Limiting, ~0.75 Isc) Avail Isc) Breakers or Fuses
Breakers or

าวศิ
cycle @ Avail
Isc) Fuses
Breakers or
Fuses
สภ
Contactor ATS CB ATS PC-Type ATS
Selective Coordination of Selective Coordination of Selective Coordination of 2
2 fast trip CB’s 3 levels of CB’s levels of CB’s
VERY DIFFICULT DIFFICULT STRAIGHT FORWARD

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 81



ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ
อัตโนมัติชนิด 3 ขั้ว การต่อระบบสายดินจะต่อที่เมน

วก
ไฟฟ้าเข้าอาคารเพียงจุดเดียว
โหลด 3 เฟส 4 สาย

าวศิ
สภ
ระบบ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ
อัตโนมัติชนิด 4 ขั้ว การต่อระบบสายดินจะต่อที่เมน
ไฟฟ้าเข้าอาคารที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง โหลด 3 เฟส 4 สาย
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 82
Bypass
Opened Transition & Closed Transition Switch
WITHDRAWABLE
TWO PATHS FROM ATS


SOURCE TO LOAD

วก
MECHANICAL
INTERLOCKS

าวศิ
FIXED MOUNT MTS

• Load Level 1-2 ways Bypass


สภ
(to normal & to emer)
• Load Level 2-1 way Bypass
(to normal and/or to emer)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 83

วก
การทดสอบสมรรถนะของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
าวศิ
(Load Test)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 84
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
1
(Load Test)


การทดสอบเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า จะต้ อ งท าการทดสอบ

วก
ภายหลั ง การติด ตั้ ง แล้ ว เสร็ จสมบูร ณ์ ณ.สถานที่ติ ด ตั้ ง
เพื่อให้ทราบสมรรถนะ (Performance) ที่แท้จริงของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า แบ่งออกเป็น
1. การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่ง

าวศิ
มอบงาน (On site acceptance test)
2. การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขณะ
สภ
ใช้งาน (Operational Test)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 85



วก
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

าวศิเพื่อส่งมอบงาน
สภ
(On site acceptance test)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 86
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)


• สาหรับอาคารทั่วไป

วก
• สาหรับอาคารสนามบิน
• สาหรับสถานพยาบาล

าวศิ• สาหรับดาตาเซนเตอร์
สภ
87 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 87
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)


วก
• การทดสอบสามารถทาได้ที่สถานที่ติดตั้งหรือที่อื่น ตามที่ตกลงกันระหว่างผู้ใช้งานกับ
ผู้ผลิต
• ทดสอบทั้งด้านสมรรถนะในการจ่ายไฟฟ้า และ ฟังก์ชั่นการทางาน
• โหลดต่างๆ ในอาคารอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือเป็นโหลดทั้งหมดในการทดสอบ

าวศิ
• กรณีที่ โหลดอาคารมีไม่เพียงพอตามกาหนด ให้จัดหาโหลดเทียม (Load Bank) มา
เสริมจนครบ
สภ
• กรณีที่สถานที่ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่มีบรรยากาศแวดล้อมแตกต่างจากมาตรฐานหรือ
ผู้ผลิตกาหนด และทาให้พิกัดกาลังลดลง ให้ทดสอบที่พิกัดกาลังที่ลดลงแล้ว
88 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 88
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)


วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 89
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)


วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 90

วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 91

วก
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบ
งานสาหรับอาคารทั่วไป/สนามบิน/สถานพยาบาล

าวศิ
(On site acceptance test for General
สภ
building/Aerodrome/Health Care)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 92
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
2
(On site acceptance test)


การทดสอบจะต้องทาในขัน้ ตอนสุดท้ายของการส่งมอบงาน มีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้

วก
การทดสอบ Load Test
ให้ทาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง รวมทั้งต้องบันทึกค่าต่าง ๆ ไว้ด้วยโดยการ
ทดสอบจะต้องทาเป็นขั้นตอนดังนี้

าวศิ
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 30 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลา 30 นาที
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลา 30 นาที
สภ
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 100% ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw) เป็นเวลา 60 นาที
การบันทึกข้อมูลต้องบันทึกข้อมูลทุกๆ 15 นาที จนกว่าจะครบ 2 ชั่วโมง
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 93
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)
3


การทดสอบ Function Test

วก
ให้ทาภายหลัง Load test เสร็จเรียบร้อยมีรายละเอียดและขั้นตอนดังนี้
• ให้ทาการดับไฟฟ้าหลักเสมือนไฟฟ้าหลักดับหรือขัดข้อง
• บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้รับคาสั่งสตาร์ท (Time Delay On Start)

าวศิ
• บันทึกช่วงเวลาตั้งแต่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเริ่มสตาร์ทจนสตาร์ทติด (The Cranking Time Until
The Prime Mover Starts and Runs)
สภ
• บันทึกช่วงเวลาตั้งแต่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสตาร์ทติดจนถึงความเร็วรอบใช้งาน (The Time Taken
to Reach Operating Speed)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 94


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)
3


การทดสอบ Function Test (ต่อ)

วก
• บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าใช้ในการเข้าสู่สภาวะคงที่และสวิทซ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ
ถ่ายจากตาแหน่งรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก (Normal Source) ไปรับกระแสไฟฟ้า
จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Stand by Generator Source)

าวศิ
• ระยะเวลาการสับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟจาก แหล่งจ่ายไฟหลัก ไปยังแหล่งจ่ายไฟสารอง เป็นดังนี้
o อาคารทั่วไปไม่เกิน 15 วินาที
สภ
o อาคารสนามบิน/สถานพยาบาล/อาคารดาตาเซนเตอร์ ไม่เกิน 10 วินาที

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 95



วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 96
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)
4


การทดสอบ Function Test (ต่อ)

วก
• บันทึกอัตราการประจุแบตเตอรี่ (The Battery Charge Rate) หรือแรงดันแบตเตอรี่ ระยะแรก
ทุกๆ 5 นาทีของช่วงเวลา 15 นาที และต่อไปทุกๆ 15 นาที
• เมื่อกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก กลับมาตามปกติให้บันทึกช่วงเวลาที่ สวิทซ์สับเปลี่ยน

าวศิ
แหล่งจ่ายไฟฟ้า (ATS) จากตาแหน่งรับกระแสไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามาเป็นรับกระแสไฟฟ้า
จากแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักสวิทซ์แต่ละตัวจะตั้งเวลาไว้ต่าที่สุด 5 นาที
สภ
• บันทึกช่วงเวลาที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองระบายความร้อน (Cool down) และดับเองโดย
อัตโนมัติ (Shutdown)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 97


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)
4


ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองติดตั้งแบบขนาน (Paralleled) หลาย ๆ ชุด

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองแต่ละชุดจะต้องทดสอบสมรรถนะแยกแต่ละชุด ตามขนาดของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าสารองชุดนั้น ๆ

าวศิ ระบบป้องกันต่าง ๆ
สภ
จะต้องถูกทดสอบตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 98


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
(On site acceptance test)
5


การทดสอบแบบจ่ายโหลดครั้งเดียว (Single Step Load Test)

วก
• อาคารทั่วไป ให้จ่ายโหลด 60% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Name plate Kw) ให้เครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า (Single Step Load) ทันที
• อาคารสนามบินและสถานพยาบาล ให้จ่ายโหลด 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Name

าวศิ
plate Kw) ให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Single Step Load) ทันที
บันทึกค่า แรงดันไฟฟ้าและความถี่กระเพื่อม (Voltage and Frequency Dip) และ เวลา
สภ
เข้าสู่สภาวะใช้งาน (Recovery Time)

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 99



วก
าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 100

วก
าวศิ
สภ
ISO 8528-5 :2013

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 101


Generator 500 kVA Load Test


วก
าวศิ
สภ

วก
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่ง
มอบงานสาหรับดาตาเซนเตอร์

าวศิ
(On site acceptance test for Datacenter)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 103
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
สาหรับดาตาเซนเตอร์
(On site acceptance test for Datacenter)


ขอบเขตในการทดสอบ (Scope)

วก
การทดสอบสมรรถนะตามขัน้ ตอนในหมวดนี้อย่างน้อยจะต้องดาเนินการตามรายการดังต่อไปนี้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเดี่ยว เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเดินขนานกัน
• ทดสอบ 4 ชม.ต่อเนื่อง • วัด Load Sharing

าวศิ
• วัดค่า THD (Total Harmonic Distortion) ด้านขา • วัด Voltage Regulation
ออก
• วัด Voltage Regulation • การตอบสนองกรณีเกิดความผิดพร่องในเครื่องกาเนิด
สภ
ไฟฟ้า และการเพิ่มโหลดทันที (DG Fault off and
• การตอบสนองในการเพิ่มโหลดทันที (Step Load restore transient)
Transient response)
• การตอบสนอง 100% Block Load
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 104
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงานสาหรับดาตาเซนเตอร์
(On site acceptance test for Datacenter)


ความต้องการในการทดสอบ (Requirements)

วก
• ระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องได้รับการปรับแต่งระบบ • เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องสามารถต่อขนานและแบ่งจ่าย
ให้ส อดคล้ อ งตามคาแนะน าของผู้ผลิต และต้องเป็นไป โหลด (Load Sharing) เมื่อโหลดที่จ่ายโดยเครื่องกาเนิด
ตามข้อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ไฟฟ้าอยู่ในช่วง 25-100% ของโหลดในระบบ (System
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแต่ละชุด (ชุดเดียว) จะต้องสามารถ Load) โดยการจ่ายกาลังของแต่ละเครื่องต้องต่างกันไม่เกิน
รองรับ 100% Block Load ได้และกลับคืนสู่สภาวะ 5% ของกาลังที่จ่ายโดยแต่ละเครื่องในขณะนั้น

าวศิ
ปกติ (Recovery Time) ทั้งแรงดันและความถี่ไฟฟ้า • ต้องจัดเตรียมโหลดเทียมที่มีขนาดเต็มพิกัดกาลังของระบบ
ภายใน 15 วินาที ที่จะทาการทดสอบ
สภ
• อุปกรณ์สวิทซ์เกียร์ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องได้รับ • ไม่อนุญาตให้มีกิจกรรมอื่นนอกเหนือจากการทดสอบนี้ทั้ง
การปรับแต่งระบบให้สอดคล้องตามคาแนะนาของผู้ผลิต ทางตรงและทางอ้อม ในพื้นที่ที่ทาการทดสอบระบบ
และต้องเป็นไปตามข้อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

105 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 105


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน
สาหรับดาตาเซนเตอร์
(On site acceptance test for Datacenter)


Emergency Generator System Emergency Generator System

วก
• Load Test or Heat Run Test Parallel Testing
• Infrared Scan • Steady State Tests
• Steady State Tests • Transient Response Test

• Block Load Test


าวศิ
• Transient Response Test • Generator Fault Testing
สภ
ในขณะทาการทดสอบ หากมีสัญญานเกิดเหตุฉุกเฉินแจ้งมาจาก ATS ชุดใดชุดหนึ่ง โหลดเทียมจะต้องหยุดทางาน
อุปกรณ์ตัดวงจรของโหลดเทียมต้องเปิดวงจร และระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องกลับมาสู่หมวดการทางานอัตโนมัติ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 106

วก
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน

าวศิ
(Emergency Generator System)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 107
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
16 (On site acceptance test for Datacenter)
การทดสอบการจ่ายโหลด (Load test หรือ Heat run)


ให้ทาการทดสอบอย่างต่อเนื่องดังนี้ :-

วก
1) เดินเครื่องจ่ายโหลด 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง
2) หากมีการลดทอนกาลังพิกัดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า เนื่องจากเงื่อนไขของหน่วยงานติดตั้ง ให้ทดสอบเต็ม
กาลังพิกัดกิโลวัตต์ที่ลดทอนแล้ว

าวศิ
การบันทึกข้อมูล
 บันทึกข้อมูลต่างๆครั้งแรกและทุกๆ 15 นาที
สภ
 โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ให้บันทึกทุกๆ นาที
 อัตราส่วนการประจุแบตเตอรี่หรือแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ให้บันทึกระยะแรกทุกๆ 5 นาทีของช่วงเวลา 15 นาทีแรก
และต่อไปทุกๆ 15 นาที
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 108
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
16 (On site acceptance test for Datacenter)
อินฟราเรดสแกน (Infrared Scan)


วก
1) ที่เครื่องยนต์ต้นกาลังเมื่อจ่ายโหลดเต็มพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Full Load) แล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
2) ที่ฝาสูบ (Cylinder Head) ที่จุดเดียวกันของแต่ละหัว ค่าที่ได้ต้องต่างกันไม่เกิน 2.5˚ C (4.5˚F)
3) ทีห่ ัวเทอร์โบทุกตัว อุณหภูมิที่ได้จะต้องสม่าเสมอกัน
4) ที่ขั้วต่อสายเมนไฟฟ้า (Terminal Connection) อุปกรณ์ตัดวงจร (Circuit Breaker,CB) ระหว่างเครื่อง

าวศิ
กาเนิดไฟฟ้ากับโหลดเทียม เมื่อจ่ายโหลดเต็มพิกัดอย่างน้อย 15 นาที และทาการบันทึกค่า ซึ่งอุณหภูมิที่ขั้วต่อ
สาย (Terminal Connection) จะต้องไม่เกิน 75˚ C (167˚F)
สภ
5) ที่ Bearing Housing และทาการบันทึกค่า ซึ่งอุณหภูมิที่ Bearing Housing จะต้องไม่เกิน 50˚ C (122˚ F)
6) ทาซ้าขั้นตอนทั้งหมดอีกครั้งหลังจากทาการทดสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไปแล้ว 3 ชั่วโมง หากเกิดเหตุการที่ไม่
ปกติขึ้นจะต้องทาการบันทึกและแจ้งต่อวิศวกรที่รับผิดชอบ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 109
อินฟราเรดสแกน (Infrared Scan)
Cylinder Head
ต่างกัน ≤2.5˚ C (4.5˚ F)


วก
Turbo Head Terminal Connection
Bearing Housing

าวศิ
อุณหภูมิสม่าเสมอทุกหัว ≤75˚ C (167˚ F)
≤50˚ C (122˚ F)
สภ
110 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 110
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
17 (On site acceptance test for Datacenter)
การทดสอบความเสถียร (Steady state test)


วก
▪ ทาการสตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ใส่โหลดเต็มพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (100% rated kW load)
▪ ลดโหลดลงเหลือ 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (50% rated kW load)

าวศิ
▪ ปลดโหลดทั้งหมดออก
บันทึกข้อมูล แรงดันไฟฟ้าขาออก (output voltage) กระแสขาออก ความถี่ และฮาร์โมนิคที่เกิดขึ้นใน
สภ
ขณะที่จ่ายโหลดและไร้โหลดนั้น

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 111


การทดสอบความเสถียร (Steady state test)


Start Gen จนได้รอบ/V/F

วก
G บันทึกค่า Out-put
• แรงดับันไฟฟ้
นทึกาค่ขาออก
า Out-put
•• กระแสขาออก
แรงดับันไฟฟ้
นทึกาค่ขาออก
า Out-put
••• ความถี แรงดั่ นไฟฟ้าขาออก
กระแสขาออก

าวศิ
••• ฮาร์ ความถีโมนิค่
กระแสขาออก
ที•่เ•กิดขึฮาร์
้นความถี
ในขณะจ่
โมนิค่ ายโหลดเต็มพิกัดนั้น
Load 100%
สภ
Load
Load50%
0% ที•่เกิดขึฮาร์้นในขณะจ่
โมนิค ายโหลด 50%นั้น
ที่เกิดขึ้นในขณะไร้โหลดนั้น

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 112


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
18 (On site acceptance test for Datacenter)
การทดสอบการตอบสนองชั่วคราว (Transient response test)


วก
• ใส่โหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ในครั้งเดียว (0-50% rated kW load in one step)
ในขณะที่ทางานในสภาวะไร้โหลด
• ใส่โหลดอีก 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ที่เหลือในครั้งเดียว (50% to 100% rated kW load in
one step) ในขณะที่มีโหลดอยู่ 50%

าวศิ
• ปลดโหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ในครั้งเดียว (100% to 50% rated kW load in one
step) ในขณะที่มีโหลดอยู่ 100%
สภ
• ปลดโหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ที่เหลือในครั้งเดียว (50% to 0% rated kW load in
one step) ในขณะที่มีโหลดอยู่ 50%
บันทึกข้อมูลแรงดันไฟฟ้าขาออก (output voltage) กระแสขาออกและความถี่ด้วยมาตรวัดกาลังไฟฟ้า (Power
Meter) ทาการบันทึกและอธิบายเหตุการณ์การตอบสนองชั่วคราวในภาวะต่างๆ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 113
การทดสอบการตอบสนองชั่วคราว (Transient response test)


บับันนทึทึกและอธิ
ก และอธิ บบายเหตุ
ายเหตุ การณ์
ก การตอบสนอง
ารณ์ การตอบสนอง
Start Gen จนได้รอบ/V/F ชั ว
่ บั
คราวน
บั ทึ
น ก
ทึ และอธิ
0-50%
ก และอธิบ ายเหตุ
(0
บ to ก
50%
ายเหตุ ารณ์
ก การตอบสนอง
Transient)
ารณ์ การตอบสนอง

วก
G ชั่วชัคราว
• • แรงดั ว
่ คราว
ชั
แรงดั ว
่ น
50-100%
100-50%
ไฟฟ้
คราว
นนไฟฟ้า ขาออก
50-0%
าขาออก
(50 to
(100
(50
100%
to
to 50%
0%
Transient)
Transient)
Transient)

• • กระแสขาออก แรงดั
• กระแสขาออกแรงดันไฟฟ้าขาออก
ไฟฟ้ าขาออก
• • • •ความถี กระแสขาออก
ความถี ่ ่
กระแสขาออก
ทีที่เกิ•่เดกิ•ขึด้นขึความถี
ในขณะเพิ
ความถี ่ ่ ่มโหลดนั้น

าวศิ
ทีที่เกิ่เดกิ้นขึด้นในขณะเพิ ่มโหลดนั้น้น
ในขณะลดโหลดนั
ขึ้นในขณะลดโหลดนั้น
Add
Add Load
Load50%
50%
Reduce Load 50%
สภ
Reduce Load
(0-50%) 50%
(50-100%)
(100-50%)
(50-0%)
114 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 114
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
19 (On site acceptance test for Datacenter)
Block Load Test


วก
การทดสอบนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบเครื่องยนต์ต้นกาลังของชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถ
จ าหน่ า ยแรงดั น ขาออกและความถี่ ใ ห้ เ ข้ า สู่ ค่ า พิ กั ด มาตรฐานที่ ต้ อ งการได้ ภ ายในระยะเวลา
(Recovery Time) 15 วินาที

าวศิ
▪ ใส่โหลด 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ในครั้งเดียว ไม่อนุญาตให้ใส่โหลดเพื่อการทดสอบนี้เกิน
100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์
สภ
▪ กรณีชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีพิกัดกาลังกิโลวัตต์ 2,000 kW ขึ้นไปอนุญาตให้ลดลงมาเหลือใส่
โหลด 95% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ในครั้งเดียวได้

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 115


Block Load Test


Start Gen จนได้รอบ/V/F

วก
G สามารถจ่าย
• แรงดันไฟฟ้า
• ความถี่
ที่เกิดขึ้นในขณะจ่ายโหลดเต็มพิกัดนั้น

าวศิ
ให้เข้าสู่ค่าพิกัดมาตรฐานที่ต้องการได้
Gen ≥2000 ภายในระยะเวลา (Recovery Time)
Load 100%kW
สภ
15 วินาที
Load 95%

116 นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 116


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อส่งมอบงาน-ดาตาเซนเตอร์
20 (On site acceptance test for Datacenter)
การจัดวางระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสาหรับดาตาเซนเตอร์


▪ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานวสท. 022010-59 ฉบับล่าสุด

วก
สิ่งอานวยความสะดวกในการทดสอบ
▪ ต้องจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวกพร้อมพื้นที่เพื่ออานวยการทดสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Load
Test) ให้สอดคล้องเหมาะสมกับประเภทของดาตาเซนเตอร์

าวศิ
โหลดเทียม (Load Bank)
สภ
▪ ต้องจัดเตรียมโหลดเทียม (Load Bank) อย่างน้อย 1 ชุด ไว้สาหรับทดสอบสมรรถนะของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า (Load Test) ของดาตาเซนเตอร์ ประเภท 3 และ 4 โดยขนาดโหลดเทียมต้องไม่น้อยกว่าพิกัด
กาลังของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชุดใหญ่ที่สุด
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 117

วก
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน

าวศิ
เดินเครื่องขนานกัน
สภ
(Emergency Generator System Parallel Testing)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 118
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเดินเครื่องขนานกัน
(Emergency Generator System Parallel Testing)


• เพื่อทดสอบเฉพาะระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน เดินเครื่องขนานกันตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป เพื่อ

วก
ร่วมกันจ่ายกาลังไฟฟ้าให้โหลด
• โหลดเต็มพิกัดในการทดสอบนี้จะเป็น 2,000 kW
• ทาการบันทึกค่าต่างๆ ในการทดสอบและเปรียบเทียบกับข้อกาหนดของผู้ผลิต ผลการทดสอบ

าวศิ
จะถูกนาไปเป็นฐานข้อมูลสาหรับการทดสอบในอนาคต
• ในขณะท าการทดสอบ หากมี สั ญ ญานเกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น แจ้ ง มาจาก อุ ป กรณ์ สั บ เปลี่ ย น
สภ
แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch,ATS) ชุดใดชุดหนึ่ง โหลดเทียมจะต้อง
หยุดทางาน อุปกรณ์ตัดวงจรของโหลดเทียมต้องเปิดวงจร และระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้อง
กลับมาสู่หมวดการทางานอัตโนมัติ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 119
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเดินเครือ่ งขนานกัน
17 (Emergency Generator System Parallel Testing)
การทดสอบความเสถียร (Steady state test)


▪ สตาร์ทเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเตรียมเดินขนานกันในระบบอ่านค่า แรงดันไฟฟ้า กระแส ความถี่และฮาร์โมนิก ในขณะที่
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าทางานในสภาวะไร้โหลด บันทึกค่าเป็นค่าที่ “0% Load”

วก
▪ เดินเครื่องขนานกันเข้าระบบในขณะที่การเดินขนานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในสภาวะไร้โหลด ให้บันทึกข้อมูล กระแส
ขาออกของแต่ละชุด เพื่อตรวจสอบการแบ่งจ่ายโหลดที่ถูกต้องแม่นยา
▪ ใส่โหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลด ทาการอ่านและบันทึกค่า แรงดันไฟฟ้าขาออก กระแสขาออก ความถี่และ

าวศิ
ฮาร์โมนิกขาออก ที่เกิดขึ้นในขณะจ่ายโหลดที่ 50% ของพิกัดนั้น บันทึกค่าเป็นค่าที่ “50% Load”
▪ ใส่โหลด 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลด ทาการอ่านและบันทึก ค่า แรงดันไฟฟ้าขาออก กระแสขาออก ความถี่
สภ
และฮาร์โมนิกขาออก ที่เกิดขึ้นในขณะจ่ายโหลดที่ 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดนั้น บันทึกค่าเป็นค่าที่ “100%
Load”
▪ ในขณะที่ ก ารเดิ นขนานของเครื่ อ งก าเนิด ไฟฟ้า ในสภาวะ“50% Load” และ“100% Load”นี้ ให้ บันทึ ก ข้อ มู ล
กระแสขาออกของแต่ละชุด เพื่อตรวจสอบการแบ่งจ่ายโหลดที่ถูกต้องแม่นยา
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 120
การทดสอบความเสถียร (Steady state test)
บันบัทึนกทึค่กาค่าOut-put
Out-put


บันาทึขาออก
• แรงดันไฟฟ้ กค่า Out-put
DG 1 DG 2 DG 3 • แรงดันไฟฟ้าขาออก

วก
• • กระแสขาออก แรงดันไฟฟ้าขาออก
• กระแสขาออกรวมและแยกแต่ละชุด
• • ความถี กระแสขาออกรวมและแยกแต่
่ ละชุด
• ความถี่
CB 1 CB 2 CB 3
• • ฮาร์ความถี โมนิค ่
• ฮาร์โมนิค
ที่เกิ•ดขึ้นฮาร์ โมนิค โหลดนั้นบันทึกค่า
ในขณะไร้
ที่เกิดขึ้นในขณะไร้โหลดนั้นบันทึกค่าเป็น

าวศิ
เป็นทีค่่เากิทีด่ ขึ“0%
้นในขณะไร้
Load”โหลดนั้นบันทึกค่าเป็น
ค่าที่ “50% Load”
ค่าที่ “100% Load”
StartGen
ขนาน Genเข้าระบบ
สภ
50%
100%Load
Load
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 121
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเดินเครื่องขนานกัน
18 (Emergency Generator System Parallel Testing)
การทดสอบการตอบสนองชั่วคราว (Transient response test)


• ใส่โหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดในครั้งเดียว (0-50% rated kW load in one step) ในขณะที่ทางานใน

วก
สภาวะไร้โหลด บันทึกเป็น 0-50% Transient
• ใส่โหลดอีก 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดที่เหลือในครั้งเดียว (50% to 100% rated kW load in one step)
ในขณะที่มีโหลดอยู่ 50% บันทึกเป็น 50-100% Transient
• ปลดโหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดในครั้งเดียว (100% to 50% rated kW load in one step) ในขณะ

าวศิ
ที่มีโหลดอยู่ 100% บันทึกเป็น 100-50% Transient
• ปลดโหลด 50% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดที่เหลือในครั้งเดียว (50% to 0% rated kW load in one step)
ในขณะที่มีโหลดอยู่ 50% บันทึกเป็น 50-0% Transient
สภ
• ใส่โหลด 100% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์โหลดในครั้งเดียว (0-100% rated kW load in one step) ในขณะที่ทางาน
ในสภาวะไร้โหลด บันทึกเป็น 0-100% Transient
บันทึกข้อมูลแรงดันไฟฟ้าขาออก (output voltage) กระแสขาออกและความถี่ด้วยมาตรวัดกาลังไฟฟ้า (Power
Meter) ทาการบันทึกและอธิบายเหตุการณ์การตอบสนองชั่วคราวในภาวะต่างๆ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 122
การทดสอบการตอบสนองชั่วคราว (Transient response test)


บับันนทึทึกและอธิก และอธิ บบายเหตุ
ายเหตุการณ์
ก ารณ์การตอบสนอง
การตอบสนอง
DG 1 DG 2 DG 3 ชั ว
่ บั
คราวน
บั ทึ
น ก และอธิ
0-50%
ทึ ก และอธิ บ ายเหตุ
(0
บ to ก
50%
ายเหตุ ารณ์
ก การตอบสนอง
Transient)
ารณ์ การตอบสนอง

วก
ชั่วชัคราว ว
่ คราว 50-100%
บั น ทึ ก และอธิ
100-50% (50
บ to
ายเหตุ
(100 100%
toก ารณ์
50% กTransient)
ารตอบสนอง
Transient)
• • แรงดั ชั
แรงดั ว
่ น ไฟฟ้
คราว
นนไฟฟ้ า ขาออก
50-0%
าขาออก (50 to 0% Transient)
CB 2 CB 3
• ชั่วคราว
แรงดั 0-100%
ไฟฟ้ า ขาออก (0 to 100% Transient)
CB 1
• • กระแสขาออก
• กระแสขาออก แรงดั นนไฟฟ้ าขาออก
• • แรงดั
กระแสขาออก ไฟฟ้ าขาออก
• • •ความถี ่ ่
กระแสขาออก

ความถี กระแสขาออก
ทีที่เกิ•่เดกิ•ขึด้นขึความถี
ในขณะเพิ
ความถี ่ ่ ่มโหลดนั้น

าวศิ
ทีที่เกิ•่เดกิ้นขึด้นในขณะเพิ
ความถี ่ ่มโหลดนั้น้น
ในขณะลดโหลดนั
ที่เกิขึด้นขึ้นในขณะลดโหลดนั
ในขณะเพิ่มโหลดนั ้น ้น
StartGen
ขนาน Genเข้าระบบ
สภ
Add
Add
Reduce
Reduce
Add Load
Load 50%
50%
Load
Load
Load 50%
50%
100%
50% Load
(0-50%)
(50-100%)
(100-50%)
(50-0%)
(0-100%) นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 123
การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเดินเครื่องขนานกัน
18 (Emergency Generator System Parallel Testing)

การทดสอบความผิดพร่องของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator Fault Testing)


วก
1. ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือวัดและบันทึกค่ากาลังไฟฟ้า 3 เฟส เพื่อวัดค่าแรงดันไฟฟ้าขาออก กระแสไฟฟ้าขาออกที่บัส
ต่อขนานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator Parallel Bus) ปรับตั้งค่ามิเตอร์ให้ทาการบันทึกค่าทุกๆ 15 นาที
2. สร้ างผังข้อมูลในเครื่องบันทึกของเครื่องมือวัดเป็นข้อมูลหน้างาน (Site Information) และระบุชื่อเป็น “DG
Fault Off” และสร้างผังข้อมูลของชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแต่ละชุด (Location Information) ระบุชื่อของแต่ละ
ชุดตามลาดับ

าวศิ
3. เดินขนานเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทั้งหมดเข้าด้วยกัน
4. ใส่โหลด 100% เข้าระบบ
สภ
5. เชื่อมต่อชุดเครื่องมือวัดเข้าในผังข้อมูลหน้างาน (Site Information) ที่สร้างไว้แล้วคือ “DG Fault Off” และผัง
ข้อมูลของชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแต่ละชุด (Location Information) กาหนดให้เป็น “Fault Off and Restore
DG1” และเริ่มต้นการบันทึก

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 124


การทดสอบระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินเดินเครื่องขนานกัน
18 (Emergency Generator System Parallel Testing)


การทดสอบความผิดพร่องของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator Fault Testing)

วก
6. เปิดวงจรของ CB ด้านขาออกของ DG 1 เพื่อปลด ออกจากระบบ ทาการบันทึก ค่าตก/เกินชั่วขณะ
(Transient) ด้วยกราฟรูปคลื่น และระบุเหตุการณ์ในกราฟนั้นตามลาดับ
7. ต่อ DG 1 เข้าสู่ระบบอีกครั้ง ทาการบันทึกค่าตก/เกินชั่วขณะ (Transient) ด้วยกราฟรูปคลื่น และ

าวศิ
ระบุเหตุการณ์ในกราฟนั้นตามลาดับ
8. หยุดการบันทึกและทาการดึงข้อมูล (Download Data)
สภ
9. ท าซ้ าจาก 5-8 ส าหรั บ DG 2 และ DG 3 โดยก าหนด Location Info เป็ น “Fault off and
Restore DG 2” สาหรับ DG 2 และ “Fault off and Restore DG 3” สาหรับ DG 3

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 125


เดินเครื่องขนาน

DG 1 DG 2 DG 3
บันทึกค่า


บันทึกค่า บันทึกค่า

วก
CB 1 CB 2 CB 3

เปิดวงจร เปิดวงจร เปิดวงจร Power 3 Ph.บันทึกค่า


ปิดวงจร ปิดวงจร
meter ทุกๆ 15 นาที
ปิดวงจร

าวศิ
บันทึกค่า บันทึกค่า บันทึกค่า
บันทึกค่า
สภ
100% Load ใส่โหลดเข้าไปในระบบ
การทดสอบความผิดพร่องของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator Fault Testing)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 126

วก
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิด
ไฟฟ้าขณะใช้งาน
าวศิ
(Operational Test)
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 127
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
6
(Load Test)
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขณะใช้งาน (Operational Test)


• การทดสอบประจาสัปดาห์

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ จะต้องมีการตรวจสอบทุกสัปดาห์ ต้องทาการกระตุ้น (Exercise)
โดยไม่จ่ายโหลดเป็นเวลา 10 นาที และจะต้องมีการจดบันทึกการตรวจเช็คค่าต่าง ๆ และการ กระตุ้น (Exercise)
ด้วย

าวศิ
• การทดสอบประจาเดือน
ต้องทาการทดสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ๆ ละ 30 นาที โดยการทดสอบจะต้องเลือกวิธีทดสอบข้อหนึ่งข้อใด
ดังนี้
สภ
• การทดสอบด้ ว ยการจ่ า ยโหลดอย่ า งน้ อ ยจะต้ อ งให้ อุ ณ หภู มิ ข องก๊ า ซไอเสี ย มี อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง ค่ า ต่ าสุ ด ตาม
คาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต หรือ
• จะต้องจ่ายโหลดอย่างน้อย 30% ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating)
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 128

วก
Engine Slobbering

าวศิ
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 129
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
7
(Load Test)
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขณะใช้งาน (Operational Test)


• การทดสอบประจาปี

วก
กรณีไม่สามารถทาการทดสอบสมรรถนะประจาเดือนได้ ให้ทาการทดสอบสมรรถนะเดือนละ 1 ครั้ง โดยให้จ่าย
โหลดเท่าที่จะจ่ายได้และให้ทาการทดสอบสมรรถนะอีกปีละ 1 ครั้งโดยต้องจ่ายโหลดดังนี้
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
• จ่ายโหลด 75% ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 60 นาที

าวศิ
รวมระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบทั้งสิ้น 1.5 ชั่วโมงต่อเนื่อง (1.5 Continuous hours)
สภ
การทดสอบประจาสัปดาห์ ประจาเดือน และประจาปีให้บันทึกค่าแรงดันน้ามันหล่อลื่น อุณหภูมิน้าระบายความ
ร้อน แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า กาลังไฟฟ้า ความถี่ครั้งแรก และทุกๆ 15 นาที ส่วนอัตราการประจุแบตเตอรี่
หรือแรงดันแบตเตอรี่ ให้บันทึกระยะแรกทุก ๆ 5 นาทีของช่วงเวลา 15 นาที และต่อไปทุก ๆ 15 นาที

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 130


การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
8
(Load Test)
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขณะใช้งาน (Operational Test)


• การทดสอบประจา 3 ปี

วก
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าซึ่งจ่ายกระแสไฟฟ้าให้โหลดระดับ 1/สถานพยาบาล/สนามบิน และ ดาตาเซนเตอร์
จะต้องทาการทดสอบสมรรถนะต่อเนื่องเป็นเวลาตามระดับชั้น (Class) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่กาหนดทุกๆ 36
เดือน กรณีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอยู่ในระดับชั้น (Class) ที่สูงกว่า 4 ชั่วโมง ให้ทาการทดสอบสมรรถนะต่อเนื่องเป็น

าวศิ
เวลา 4 ชั่วโมงเท่านั้น โดยการจ่ายโหลดดังนี.้ -
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 30 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
สภ
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 50 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 30 นาที
• จ่ายโหลดไม่น้อยกว่า 75 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 60 นาที
• จ่ายโหลด 100 % ของพิกัดกาลัง (Name plate Kw Rating) เป็นเวลา 120 นาที
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 131
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
9
(Load Test)
การทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขณะใช้งาน (Operational Test)


วก
ในการจ่ายโหลด 100 % ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์ (Name plate Kw) โหลดต่าง ๆ ของอาคารอาจจะ
เป็นส่วนหนึ่งของโหลดหรือเป็นโหลดทั้งหมด ที่ใช้ทดสอบก็ได้ ในกรณีที่โหลดต่าง ๆ ของอาคารไม่
เพียงพอ จะต้องหาโหลดเทียม (Load bank) มาเพิ่มเพื่อให้โหลดครบ 100 % ของพิกัดกาลังกิโลวัตต์
(Name plate Kw) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

าวศิ
กรณีที่สถานที่ติดตั้งอยู่ในตาแหน่งที่มีบรรยากาศแวดล้อมแตกต่างจากมาตรฐานกาหนด และทาให้
พิกัดกาลังลดลง ให้ทดสอบที่พกิ ัดกาลังที่ลดลงแล้ว
สภ
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 132

วก
าวศิ
สภ
End
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย 133

You might also like