You are on page 1of 6

ผลกระทบจากการต่ อเชื่อมของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กต่ อคุณภาพไฟฟ้า

Impact of Small Power Producer on Power Quality


สุ ธีรวัฒน์ นงนุช มณฑล ลีลาจินดาไกรฤกษ์ ศุลี บรรจงจิตร
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

บทคัดย่อ
ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุ นให้เอกชนเข้ามามีบทบาทและร่ วมลงทุนในการผลิตไฟฟ้ าและจําหน่ายไฟฟ้ าใน
รู ปแบบของผูผ้ ลิตไฟฟ้ ารายเล็ก (SPP) ซึ่ งส่ วนใหญ่มกั ต่อเชื่อมเข้ากับระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคในระบบ 22 kV ผล
จากการต่อเชื่อมเข้าระบบไฟฟ้ าของ SPP มีส่วนทําให้ปัญหาคุณภาพไฟฟ้ ากําลัง (Power Quality) ในระบบไฟฟ้ ามีแนวโน้มที่จะ
เปลี่ยนแปลงไปทั้งในทิศทางที่ดีข้ ึนและแย่ลงกว่าเดิม สําหรับการศึกษาในบทความฉบับนี้ จะมุ่งเน้นศึกษาผลกระทบทางด้าน
คุณภาพไฟฟ้ ากําลัง เฉพาะ ปั ญหา Voltage Sag และ ปั ญหา Voltage Swell ในพื้นที่ซ่ ึ งมีการติดตั้ง Neutral Grounding Resistor
(NGR) ในระบบ 22 kV เพื่อให้ทราบถึงเงื่อนไขและองค์ประกอบต่างๆที่ทาํ ให้ผลกระทบดังกล่าวข้างต้นมีระดับความรุ นแรงจน
ส่ งผลทําให้อุปกรณ์ ต่างๆในระบบไฟฟ้ าทํางานผิดพลาด โดยอาศัยการจําลองระบบไฟฟ้ าในพื้นที่ ตวั อย่างด้วยโปรแกรม
วิเคราะห์ทางวิศวกรรมไฟฟ้ า

Abstract
The Policy of the Royal Thai Government has supported to purchase electrical power from Small Power
Producer (SPP) using renewable energy as fuel and co-generation. This policy can affect to the addition of
Small Power Producer (SPP) on 22 kV of PEA’s systems. SPP can affect the performance of power quality
(both positively and negatively) in various ways. This paper studes con the impact of Small Power Producer
(SPP) on power quality and focuses on voltage sag and voltage swell in area of 22 kV Neutral Grounding
Resistor (NGR) system. The studies have been performed considering both techniques and effects by using
simulation of Digsilent Power Factory.

1.บทนํา
ระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าส่ ว นภู มิ ภ าคในพื้ น ที่ นิ ค ม ให้ เ หลื อ อยู่ ใ นระบบไม่ ต่ ํา กว่ า ร้ อ ยละ 80 ผลจากการ
อุตสาหกรรมบางแห่ งมีการติดตั้ง NGR ที่หม้อแปลงไฟฟ้ า ดําเนิ นงานดังกล่าวสามารถแก้ไขปั ญหาและสร้ างความพึง
ระบบ 115/22 kV ขนาด 30/40/50 MVA แบบ Dyn1 เพื่อลด พอใจให้กบั ผูใ้ ช้ไฟได้ในระดับหนึ่ ง แต่เนื่ องจากปั จจุบนั
ระดับความรุ นแรงของ Voltage Sag ที่เกิดจากความผิดพร่ อง รัฐบาลได้สนับสนุนให้ SPP ต่อเชื่อมเพื่อจ่ายไฟโดยตรง
แบบ Single Line to Ground Fault เพื่อควบคุมแรงดันไฟฟ้ า เข้ า กั บ ร ะ บ บไ ฟ ฟ้ าข อ ง กา ร ไ ฟฟ้ า ส่ วน ภู มิ ภา ค ผ ล
26 วิศวสารลาดกระบัง ปที่ 25 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2551

จากการต่ อ เชื่ อ มดั ง กล่ า วส่ ง ผลทํา ให้ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หา พิกดั แรงดันไฟฟ้ าปกติโดยจะเกิดขึ้นนานตั้งแต่ 0.5 Cycle
Voltage Sag ด้วย NGR มีประสิ ทธิ ภาพลดลง บทความนี้ จะ จนถึง 1 นาที หากเกิดขึ้นนานกว่านี้ ถือว่าเป็ นปั ญหาคุณภาพ
นําเสนอผลการศึกษาผลกระทบจากการต่อเชื่อมของ SPP ทั้ง ไฟฟ้ าประเภทอื่น
ในกรณี ที่ SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบไม่เกิน 3 MW
และในกรณี ที่จ่ายเกิ น 3 MW ตามระเบี ยบว่าด้วยการ
เดิ น เครื่ อ งกํา เนิ ด ไฟฟ้ าขนานเข้า กับ ระบบไฟฟ้ าของการ
ไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค พ.ศ. 2546

2.ทฤษฏีพนื้ ฐาน
ระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าส่ วนภู มิ ภ าคเกื อ บ
ทั้งหมดเป็ นระบบเหนื อดิน (Overhead Line) จึงทําให้มี
โอกาสที่จะเกิดความผิดพร่ องได้ง่ายกลายเป็ นปั ญหาทางด้าน รู ปที่ 2 ส่ วนประกอบสมมาตรแบบ (SLG) Fault ที่เฟส a
คุ ณ ภ าพ ไ ฟฟ้ า แ ล ะจ า ก ข้ อ มู ลที่ ไ ด้ บ ั น ทึ ก ไ ว้ พ บ ว่ า ในการวิเคราะห์ความผิดพร่ องแบบ Single Line to
กระแสไฟฟ้ าขัดข้อ งส่ วนใหญ่ เกิ ดจากความผิดพร่ อ งแบบ Ground Fault จะต้องอาศัยหลักการของส่ วนประกอบ
Single Line to Ground Fault ซึ่ งสามารถทําให้แรงดันไฟฟ้ า สมมาตร (Symmetrical Component) เพื่อสร้างเฟสเซอร์ ที่ไม่
ในเฟสที่เกิดความผิดพร่ องมีค่าตํ่าลงเกิดเป็ นปั ญหา Voltage สมมาตรในการอธิ บายถึงระบบไฟฟ้ าในสภาวะที่ ไม่สมดุล
Sag ในขณะเดียวกันก็สามารถทําให้แรงดันไฟฟ้ าในเฟสที่ อัน ประกอบไปด้ ว ยส่ วนประกอบลํา ดั บ บวก (Positive
ไม่ได้เกิ ดความผิดพร่ องมี ค่าสู งขึ้ นเกิ ดเป็ นVoltage Swell Sequence) ส่ วนประกอบลําดับลบ (Negative Sequence) และ
หากระบบไฟฟ้ าถู ก ต่ อ เป็ นแบบ Ungrounded หรื อ ส่ วนประกอบลําดับศูนย์ (Zero Sequence)
Impedance Grounding ถ้ากําหนดให้แรงดันไฟฟ้ า E = 1 P.U. และจากหลักการ
ของ Voltage Divider สามารถคํานวณหาค่า แรงดันไฟฟ้ า
Event Magnitude ของส่ วนประกอบต่างๆได้ดงั สมการต่อไปนี้
Transient

Swell Over voltage


110% ZF1 + ZS2 + ZF2 + ZS0 + ZF0
Normal operating voltage V1 = (1)
90% (ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
80% Under voltage
ZS2
Notch / transient

Voltage sag V2 = (2)


(ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
ZS0
10% Sustained interruption V0 = (3)
Instantaneous Momentary Temporary (ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
0.5 cycle 30cycles 3 sec 1 min Event Duration
(0.01 sec ) (0.6 sec )

รูปที่ 1 มาตรฐาน Voltage Sag ตาม IEEE Std.1159-1995 [5] และจากสมการที่ (1), (2) และ (3) สามารถนํามา
คํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าเป็ น P.U.ในแต่ละเฟสขณะเกิ ด
มาตรฐาน IEEE Std.1159-1995 กําหนดให้ปัญหาคุณภาพ
ความผิดพร่ องได้ดงั สมการที่ (4), (5) และ (6)
ไฟฟ้ าซึ่ งจัดอยูใ่ นประเภทของ Voltage Sag นั้น มีขนาดของ
รู ปคลื่นแรงดันไฟฟ้ าลดลงอยูใ่ นช่วง 0.1 ถึง 0.9 P.U. ของ
Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 25, No. 2, June 2008 27

Va = V1 + V2 + V0 (4) Vc = a (13)
Vb = a 2 V1 + aV2 + V0 (5) เมื่อเกิดความผิดพร่ องแบบ Single Line to Ground Fault
Vc = aV1 + a 2 V2 + V0 (6) ที่เฟส a ในระบบไฟฟ้ าที่มีการต่อลงดินเป็ นแบบ Impedance
Grounding จะสามารถประเมินค่าแรงดันไฟฟ้ าเป็ น P.U.ใน
เมื่อเกิดความผิดพร่ องแบบ Single Line to Ground Fault แต่ละเฟส เมื่อค่า Z S1 = Z S2 และ Z F1 = Z F2 ได้ดงั นี้
ที่เฟส a สามารถคํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าเป็ น P.U.ในแต่ละ
เฟสได้ใหม่ดงั สมการที่ (7), (8) และ (9) ZS0 + 2 ZS1
Va = 1- (14)
(2 ZF1 + ZF0 ) + (2 ZS1 + ZS0 )

Va = 1-
ZS1 + ZS2 + ZS0
(7) Vb = a 2 -
ZS0 - 2 ZS1
(15)
(2 ZF1 + ZF0 ) + (2 ZS1 + ZS0 )
(ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
ZS0 - 2 ZS1
a 2 ZS1 + aZS2 + ZS0 Vc = a- (16)
Vb = a 2 - (8) (2 ZF1 + ZF0 ) + (2 ZS1 + ZS0 )
(ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
aZS1 + a 2 ZS2 + ZS0
Vc = a- (9) ซึ่ งจากสมการที่ (14), (15) และ (16) จะสังเกตว่า
(ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )
ส่ วนประกอบลําดับศูนย์เป็ นตัวแปรที่ สําคัญในการกําหนด
ขนาดของแรงดันไฟฟ้ าในแต่ละเฟสระหว่างที่เกิด Fault
สําหรับแรงดันไฟฟ้ าระหว่างเฟสที่ไม่เกิดความผิดพร่ อง
ตารางที่ 1 ค่ากระแสผิดพร่ อง Single Line to Ground ที่เฟส a
สามารถคํานวณหาค่าได้ดงั สมการที่ (10) ซึ่ งจะสังเกตได้วา่
สถานีไฟฟ้ าย่อยนวนคร1 สถานีไฟฟ้ าย่อยนวนคร 2
การเปลี่ ย นแปลงของแรงดัน ไฟฟ้ าระหว่า งเฟสที่ ไ ม่ เ กิ ด NGR Fault Fault ห่างจาก Fault สถานี Faultห่างจาก
ความผิ ด พร่ องจะขึ้ นอยู่ กั บ ค่ า ความแตกต่ า งระหว่ า ง (Ω) สถานีไฟฟ้ า สถานีไฟฟ้ า ไฟฟ้ า สถานีไฟฟ้ า
ส่ วนประกอบอิมพีแดนซ์ลาํ ดับบวก (Positive Sequence) กับ (A) 8 km (A) (A) 8 km (A)
ส่ วนประกอบอิมพีแดนซ์ลาํ ดับลบ (Negative Sequence) ซึ่ ง 0 1,156 1,122 5,963 1,116
5 2,342 960 2,327 955
ปกติจะมีค่าที่เท่ากัน 10 1,242 770 1,239 767
12.7 986 683 984 682
 ZS1- ZS2  15 838 620 837 619
Vb - Vc = (a 2 -a) 1-  (10)
 (ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + (ZS1 + ZS2 + ZS0 )  20 631 512 631 511
25 506 432 506 432

เมื่อเกิดความผิดพร่ องแบบ Single Line to Ground Fault


ที่ เ ฟส a ในระบบไฟฟ้ าที่ มี ก ารต่ อ ลงดิ น เป็ นแบบ Solid
Grounding จะสามารถประเมินค่าแรงดันไฟฟ้ าเป็ น P.U.ใน
แต่ละเฟสได้ดงั นี้

ZS1
Va = -
1
(11)
(ZF1 + ZF2 + ZF0 ) + ZS1
3
Vb = a 2 (12) รู ปที่ 3 NGR ขนาด 12.7 Ω ในระบบไฟฟ้ า
28 วิศวสารลาดกระบัง ปที่ 25 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2551

การจํา ลองเพื่ อ ศึ ก ษาผลกระทบจากการต่ อ เชื่ อ มของ 22 kV (TP1) มีค่าตํ่ากว่าร้อยละ 80 แต่จะทําให้เกิด Voltage


SPP ต่อปั ญหาคุณภาพไฟฟ้ าจะอ้างอิงรู ปแบบการต่อเชื่อม Swell ในเฟสที่ไม่เกิดความผิดพร่ อง Phase-Neutral (Vb ที่ 0
ของ SPP ในระบบ 22 kV ซึ่ งการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคระบุให้ km และ Vc ที่ 0 km, 20 km) ขนาดประมาณ 1.5 - 1.78 P.U.
SPP ที่จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบไม่เกิน 3 MW ต้องติดตั้ง ส่ วนค่าแรงดันไฟฟ้ าในระบบ 400 V(USER2) มีค่าใกล้เคียง
หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาดไม่เกิน 5 MVA แบบ Dyn11 แต่หาก 1 P.U. ทั้งแบบ Phase-Phase และ Phase-Neutral
SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบเกิน 3 MW ต้องติดตั้งหม้อ ตารางที่ 2 แรงดันไฟฟ้ ากรณี SPP ขนาดไม่เกิน 3 MW
แปลงไฟฟ้ าขนาดเกิน 5 MVA แบบ YNd1 ในการศึกษาจะ แรงดันไฟฟ้ า Bus 22 kV (TP1) Bus 400 V (USER2)
(P.U.) 0 km 20 km 0 km 20 km
ใช้สถานี ไฟฟ้ าย่อยโคกแย้ จังหวัดสระบุรีเป็ นพื้นที่ ตวั อย่าง
Va 0.00 0.64 0.96 0.97
โดยจะปรับเปลี่ยนตําแหน่งหรื อระยะทางที่เกิดความผิดพร่ อง Vb 1.66 1.03 1.00 1.00
แบบ Single Line to Ground Fault ที่เฟส a ในวงจรเดียวกับที่ Vc 1.78 1.50 1.03 0.99
SPP เชื่ อมต่ออยู่ที่ระยะทางต่างๆ ซึ่ งการปรั บเปลี่ยน Vab 0.96 0.97 0.96 0.98
ระยะทางนี้ จะทําให้จุดต่อเชื่อมของ SPP เปลี่ยนแปลงและอยู่ Vbc 1.00 1.00 1.03 1.01
Vca 1.03 0.99 0.99 0.97
ห่างจากสถานีไฟฟ้ าย่อยตามไปด้วย
การศึกษาจะใช้โปรแกรม DIgSILENT Power Factory ก) แรงดันไฟฟ้ า
สร้างแบบจําลองเพื่อศึกษาผลกระทบของ Voltage Sag และ Phase-Neutral
Voltage Swell ทั้งในระดับแรงดันไฟฟ้ า 22 kV และ 400 V ที่ Instantaneous Values
อยูใ่ นวงจรข้างเคียงตามรู ปที่ 3 ที่ Bus 22 kV (TP1)

(ข) แรงดันไฟฟ้ า
Phase-Phase
Instantaneous Values
ที่ Bus 22 kV (TP1)

(ค) แรงดันไฟฟ้ า
Phase-Neutral
Instantaneous Values
ที่ Bus 400V (USER2

รู ปที่ 4 แบบจําลองสถานีไฟฟ้ าที่ใช้ในการศึกษา


(ง) แรงดันไฟฟ้ า
Phase-Phase
3.ผลการจําลอง Instantaneous Values
3.1 กรณี SPP ขนาดไม่ เกิน 3 MW ที่ Bus 400 V(USER2)
ผลการจําลองกรณี SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบไม่
เกิน 3 MW (ตารางที่2) พบว่า Voltage Sag ที่เกิดขึ้นไม่ทาํ ให้ รูปที่ 5 แรงดันไฟฟ้ ากรณี SPP ขนาดไม่เกิน 3 MW
แรงดันไฟฟ้ าแบบ Phase – Phase (Vab Vbc Vca) ในระบบ
Ladkrabang Engineering Journal, Vol. 25, No. 2, June 2008 29

3.2 กรณี SPP ขนาดเกิน 3 MW


ผลการจําลองกรณี SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบเกิน ((ค) แรงดันไฟฟ้ า
3 MW พบว่า Voltage Sag ที่เกิดขึ้นมีผลทําให้แรงดันไฟฟ้ า Phase-Neutral
แบบ Phase-Phase (Vab Vca ที่ 0 km) ในระบบ 22 kV (TP1) Instantaneous Values
มีค่าตํ่ากว่าร้อยละ 80 หาก SPP ต่อเชื่อมอยูใ่ นระยะใกล้กบั ที่ Bus 400V (USER2

สถานี ไฟฟ้ าย่อย จึ งมี ผลทําให้แรงดันไฟฟ้ าในระบบ 400V


(USER2) Phase-Phase ( Vca ที่ 0 km ) และ Phase-Neutral (ง) แรงดันไฟฟ้ า
Phase-Phase
( Va Vc ที่ 0 km ) มีค่าตํ่ากว่าร้อยละ 80 ซึ่ งมีแนวโน้มที่จะ
Instantaneous Values
ทํา ให้ ก ารทํา งานของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ าต่ า งๆหยุด ชะงัก หรื อ
ที่ Bus 400 V(USER2)
ทํางานผิดพลาด ส่ วนระดับของ Voltage Swell ที่เกิดขึ้นนั้น
พบว่ามีค่าตํ่ากว่ากรณี ที่ SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบไม่
รูปที่ 6 แรงดันไฟฟ้ ากรณี SPP ขนาดเกิน 3 MW
เกิน 3 MW
3.3 กรณีที่ SPP (≥ 3MW) ติดตั้ง NGR
ตารางที่ 3 แรงดันไฟฟ้ ากรณี SPP ขนาดเกิน 3 MW
เนื่ องจาก SPP ที่มีขนาดเกิน 3 MW ถูกกําหนดให้จ่าย
แรงดันไฟฟ้ า Bus 22 kV (TP1) Bus 400 V (USER2)
(P.U.) 0 km 20 km 0 km 20 km พลัง งานไฟฟ้ าผ่า นหม้อ แปลงไฟฟ้ าแบบ YNd1 ดัง นั้น จึ ง
Va 0.00 0.71 0.67 0.86 สามารถติดตั้ง NGR เพิ่มเติมทางด้านระบบ 22 kV ได้ และ
Vb 1.16 0.96 1.00 1.00 จากผลการศึกษาเพิ่มเติมตามตารางที่ 4 โดยการจําลองให้
Vc 1.19 1.12 0.69 0.94 ระบบไฟฟ้ าของ SPP ติดตั้ง NGR ขนาด 5, 12.7 และ 20 Ω
Vab 0.67 0.86 0.90 0.93
Vbc 1.00 1.00 0.91 1.00
พบว่าทําให้การแก้ไขปั ญหา Voltage Sag ด้วย NGR มี
Vca 0.69 0.94 0.53 0.86 ประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้นและไม่ทาํ ให้ Voltage Swell มีค่าสู งเกิน
พิกดั การทํางานของกับดักฟ้ าผ่าขนาด 24 kV มีผลใกล้เคียง
กับกรณี SPP จ่ายพลังงานไฟฟ้ าเข้าระบบไม่เกิน 3 MW
ตารางที่ 4 แรงดันไฟฟ้ ากรณี ที่ SPP (≥ 3MW) ติดตั้ง NGR
(ก) แรงดันไฟฟ้ า แรงดัน ขนาด NGR (Ω)
Phase-Neutral ไฟฟ้ า Bus 22 kV (TP1) Bus 400 V (USER2)
Instantaneous Values (P.U.) 5 12.7 20 5 12.7 20
ที่ Bus 22 kV (TP1) Va 0.00 0.00 0.00 0.84 0.92 0.94
Vb 1.46 1.59 1.62 1.00 1.00 1.00
Vc 1.81 1.81 1.80 1.04 1.04 1.04
Vab 0.84 0.92 0.94 0.88 0.93 0.94
(ข) แรงดันไฟฟ้ า Vbc 1.00 1.00 1.00 1.07 1.05 1.05
Phase-Phase Vca 1.04 1.04 1.04 0.93 0.98 0.99
Instantaneous Values
ที่ Bus 22 kV (TP1) อย่างไรก็ตามการเลือกขนาด NGR ที่เหมาะสมสําหรับ
SPP นั้นจําเป็ นต้องพิจารณาเงื่อนไขเกี่ยวกับระบบป้ องกัน
ทางด้านกระแสด้วย เนื่องจากการติดตั้ง NGR จะทําให้ขนาด
30 วิศวสารลาดกระบัง ปที่ 25 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2551

ของกระแสผิดพร่ องแบบ Single Line to Ground Fault มี 5. สรุ ปผลการทดลอง


ขนาดที่ลดลง ซึ่ งหากกําหนดค่าการทํางานของระบบป้ องกัน ผลการศึกษาการต่อเชื่อม SPP ที่มีขนาดเกิน 3 MW เข้า
ไม่เหมาะสมจะทําให้ไม่สามารถตรวจจับความผิดพร่ องนั้น กับระบบไฟฟ้ าที่มีการติดตั้ง NGR ขนาด 12.7 Ω พบว่าทํา
ได้ ให้การแก้ไขปั ญหา Voltage Sag มีประสิ ทธิ ภาพที่ลดลง
4. การเลือกขนาดกับดักฟ้าผ่ า กล่าวคือ ทําให้แรงดันไฟฟ้ าแบบ Phase-Phase ในระบบ 22
ระบบไฟฟ้ าที่ติดตั้ง NGR ขนาด 12.7 Ω จะกําหนดให้ kV มีค่าตํ่ากว่าร้อยละ 80 และส่ งผลทําให้แรงดันไฟฟ้ าที่
ใช้กบั ดักฟ้ าผ่า (Arrester) ขนาด 24 kV ซึ่ งมีค่า Uc อยูท่ ี่ 19.5 400 V มีค่าเหลือตํ่ากว่าร้อยละ 80 ในบางเฟส ซึ่ งมีผลต่อการ
kV และจากรู ปที่ 7 กับดักฟ้ าผ่าจะทนแรงดันไฟฟ้ าขนาด ปลดวงจรออกของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า อาทิ เ ช่ น Magnetic
1.318 เท่าของ Uc หรื อ 25.7 kV ได้นาน 1 วินาที ซึ่ งจากผล Contactor, Adjustable Speed Drive, Air Circuit Breaker และ
การศึกษาพบว่าหาก SPP ที่ต่อเชื่อมเข้าระบบไฟฟ้ ามีขนาด ระบบควบคุมไฟฟ้ าต่างๆ เป็ นต้น แต่จากการศึกษาเพิ่มเติม
ไม่เกิน 3 MW ผลของ Voltage Swell ขนาด 1.5-1.78 P.U. โดยการนํา NGR ขนาด 5, 12.7 และ 20 Ω มาจําลองติดตั้ง
(22.61-19.05kV) ที่ เ กิ ด ขึ้ นจากความผิ ด พร่ อ งแบบ Single เข้ากับระบบไฟฟ้ าของ SPP ขนาดเกิ น 3 MW ทําให้
Line to Ground Fault จะไม่ส่งผลกระทบต่อกับดักฟ้ าผ่า และ แรงดันไฟฟ้ า ทั้ง Voltage Sag และ Voltage Swell มีค่าเข้า
ไม่มีผลทําให้แรงดันไฟฟ้ าแบบ Phase-Phase ในระบบ 22 kV ใกล้ 1 P.U.
มีค่าตํ่ากว่าร้อยละ 80
ตารางที่ 5 ข้อมูลทางเทคนิคของกับดักฟ้ าผ่า 6. เอกสารอ้างอิง
Continuous
Rated [1] ระเบี ย บการไฟฟ้ าส่ ว นภู มิ ภ าคว่า ด้ว ยการเดิ น เครื่ อ ง
Operating TOV Capability for
Type Voltage
Voltage(Uc) (Kv) 1 Sec (kV) กําเนิ ดไฟฟ้ าขนานกับระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าส่ วน
Ur (kV)
ภูมิภาค พ.ศ.2546
PAZ-P21-2 21 17.0 22.4 [2] The National Rural Electric Cooperative Association
PAZ-P24-2 24 19.5 25.7
(NRECA) “Application Guide for Distributed
Generation Interconnection: 2003 Update The NRECA
Guide to IEEE 1547” April 2003, www.nreca.org
[3] Vu Van Thong, Johan Driesen and Ronnie Belmans
“Overview and Comparisons of Existing DG
Interconnection Standards and Technical”, IEEE 2007
[4] EPRI “Power Quality Impacts of Distributed
Generation” Palo Alto, CA: 2000
[5] IEEE Recommended Practice for Monitoring Electric
Power Quality, IEEE Std. 1159-1995
[6] Math H. J. Bollen “Understanding Power Quality
รูปที่ 7 TOV Curve ของกับดักฟ้ าผ่าขนาด 5 kA
Problems”, New York 1960

You might also like