You are on page 1of 65

1.

การติดตั้งโปรแกรม Eagle

Eagle คือ โปรแกรมออกแบบวงจรไฟฟ้ า (Schermatic) และออกแบบวงจรพิมพ์ (Printed Circuit Board) ภายใน


โปรแกรมมีเครื่ อมือต่ างๆให้ เราเลือกใช้ มากมาย อีกทั้งยังระบุคุณสมบัติของอุปกรณ์ ได้ อย่ างละเอียด บ่ งบอก ขนาด เบอร์ เป็ นต้ น จึงมีความ
สะดวกสะบายในการออกแบบวงจรไฟฟ้ าเป็ นอย่างมาก สามารถทาไฟล์ เป็ นรู ปภาพออกไปตกแต่ งในโปรแกรม Potoshopได้ ด้วย
Eagle เป็ นของบริ ษัท Cadsoft ของประเทศเยอรมัน สามารถ ดาวน์ โหลดรุ่น Free ware ได้ ที่ www.cadsoft.de

กาติดตั้งโปรแกรม Eagle ก็เหมือนการติดตั้งหลายๆโปรแกรมนั้นแหละครั บ

1.ดับเบิล้ คลิกโปรแกรม Eagle โปรแกรมที่เราโหลดมาเลยครั บ


2.กด Setup แล้ วใช้ สูตร Nex ไปเรื่ อยๆ

3.ขั้นตอนนีห้ าเราใช้ ร่ ุนฟรี ให้ กด Don'license new ถ้าจะซื ้อตัวเต็มก็ติดต่ อทางบริ ษัทครั บ
2.ส่ วนประกอบโปรแกรม Eagle

ส่วนประกอบของโปรแกรมทัว่ ๆไปอย่างเช่น แถบหัวเรื่ อง ปุ่ มควมหน้าโปรแกรมหรื อเราใช้ยอ่ ขยายหน้าจอโปรแกรมนั้นเองและแถบเมนูเราจะ


ไม่พดู ถึงครับเพราะว่ามันก็เหมือนกับโปรแกรมทัว่ ๆไป
1.Libraries ตรงส่วนนี้นะครับเป็ นส่วนที่รวบรวมรายการอุปกรณ์ท้งั หมดที่อยูใ่ นโปรแกรม Eagle หากเราคลิกปุ่ ม+ ก็จะมีรายการ
อุปกรณ์มากมายมาให้เราเลือกมากมายจัดตามหมวดหมู่ นั้นเพราะเพื่อเพื่อความสะดวกในการค้นหาอุปกรณ์ Schermatic นั้นเอง ซึ่ ง
เครื่ องหมายสี เขียวๆที่เพื่อนเห็นจะแสดงภาวะการใช้งานไลบรารี น้ นั เองครับเพื่อนๆไลบรารี ตวั ไหนที่เป็ นวงกลมสี เทาแปลว่ายังไม่ได้ถูกให้
กาหนดใช้งานถ้าจะใช้งานก็คลิกขวาแล้วเลือกไปที่ Use แต่ถา้ จะเเลือกใช้ท้ งั หมดให้คลิกขวาไปที่ Libraries แล้วเลือก Use all

2.Design Rule
เป็ นส่ วนที่ใช้กาหนดค่าที่ใช้ในการออกแบบลายวงจรพิมพ์ดว้ ยการเดินสายทองแดงแบบอัตโนมัติ

3.User language programming


Eagle สนับสนุนภาษาโปแกรมที่ใช้ในภาษา C เพื่อนๆสามารถเข้าไปดูในคาสัง่ นี้ได้

4.Scrip
สร้าง Scrip ไฟล์รายการได้ในรายการนี้ ครับ

5.CAM Jobs
โปรแกรม Eagle สามารถเก็บไฟล์เป็ นแบบ CAM เพื่อใช้ในการผลิต

6.Project
เป็ นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์ Project ของเรานั้นเอง
3.เลเยอร์ ต่างๆใน โปรแกรม Eagle

เขียนโดย kinggo ที่ 10:29 | วันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2553


การออกแบบวงจรไฟฟ้ าด้วยโปรแกรม Eagle คือ การเอาอุปกรณ์มาวางใน Schematic หลังจากนั้นก็ทาการเชื่ อมอุปรณ์ดว้ ย
สายสัญญาณ วงจรในไฟล์เอกสารนั้น Schematic จะถูกกาหนดด้วน เลเยอร์ ต่างๆ 6 เลเยอร์และสามารถกาหนดใช้ได้ดงั นี้

Nets:สายสัญญาณที่ใช้เชื่อมอุปกรณ์
Busses:การรวมสายสัญญาณหลายๆเส้นไว้ใน 1 เดียว
Pins:ใช้แสดงจุดเชื่อมต่อของอุปกรณ์
Symbol:รู ปร่ างสัญญาลักษณ์ของอุปกรณ์
Name:ชื่อ(อันนี้รู้ๆกันอยู่ อิอิ)
Values:ใช้แสดงค่าอุปกรณ์
Eagle ได้บรรจุอุปกรณ์มากมาย โดยภายในไลบาลีจะมีลายละเอียดต่างๆบอกเราเอาไว้ดว้ ย เช่น สัญญาลักษณ์ ขนาดฟุตปริ้ นเป็ นต้น
4.การสร้ างไฟล์ เอกสาร Schematic และส่ วนประกอบ

1.การสร้างไฟล์เอกสาร Schematic สามารถทาได้ง่ายๆโดยไปที่ File->New->Schematic

2.ส่วนประกอบของฟล์เอกสาร Schematic ซึ่งจะประ


กอปไปด้วยเมนูและคาสัง่ ต่างๆดังนี้
-แถบชื่อเรื่อง มีหน้าที่แสดงตาแหน่งและชื่อเอกสาร
-แถบเมนู เป็ นที่รวมคาสัง่ ทั้งหมดที่เราจะใช้
-ปุ่ มควบคุม ทาหน้าที่ยอ่ ขยายปิ ดเปิ ดเอกสาร
-แถบเครื่องมือ เป็ นแถบแสดงคาสัง่ ต่างๆ
-จุดแกน X-Y เป็ นตัวบ่งบอกพิกดั
-พืน้ ที่ทางาน เป็ นพื้นที่เราใช้ในการออกแบบวงจร

5.เครื่ องมือใน Schematic ของโปรแกรม Eagle


การใช้โปรแกรม Eagleในการออกแบบลายวงจรไฟฟ้ าและลายวงจรพิมพ์น้ นั ใน Schematic จะมีเครื่ องมือที่เราเลือกใช้ต่างๆ
มากมายหลายอย่างเพื่อความสะดวกสะบายของเรา เรามาดูกนั เลยดีกว่า เครื่ องมือแต่ละชนิ ดในรู ปแบบของปุ่ มต่างๆมีหน้าที่อะไรกันบ้าง
ตรงแถบเมนู(อยู่ด้านบน ดังรู ป) ตรงแทปเมนูเรียงจากซ้ ายไปขวา
open:ใช้เปิ ดเอกสารงาน
Save:ใช้บนั ทึกงาน
Print:ใช้พิมพ์งานออกทางปริ้ นเตอร์
CAM:ใช้แปลงไฟล์ให้อยูใ่ นรู ป CAM
Borad:ใช้สร้างแผ่นวงจรพิมพ์
Sheet:จานวนหน้าของไฟล์เอกสาร
Fit:ใช้ดูภาพอุปกรณ์
In:ใช้ขยายพื้นที่ทางาน
Out:ใช้ยอ่ พื้นที่ทางาน
Undo:ย้อนกลับ(สามารถกด Ctrl+Zแทนได้)
Redo:ย้อนไปข้างหน้า
Help:ส่วนช่วยเหลือ

แทปเครื่องมือ(อยู่ทางซ้ ายมือของโปรแกรม)เรียงจากบนลงล่ างโดยดูจากซ้ ายไปขวา

info:ใช้ดูรายละเอียดของอุปกรณ์
Display:ใช้ในการกาหนดเลเยอร์ของ Schematic
Move:ใช้เคลื่อนย้ายอุปกรณ์
Mirror:สลับแกนอุปกรณ์
Group:ใช้คลุมอุปกรณ์ท้งั กลุ่มหรื อที่เฉพราะต้องการ
Cut:ใช้ตดั ส่วนที่ตอ้ งการคัดลอกหลังจากใช้เคื่องมือ Group
Delete:ใช้ลบอุปกรณ์ที่เราไม่ตอ้ งการ
Pinswap:ใช้สบั สัญญาณของขาอุปกรณ์
Name:ใช้กาหนดชื่อ
Smash:ใช้กาหนดชื่อและค่าอุปกรณ์เพื่อเคลื่อนย้าย
Split:ใช้เพิ่มหรื อเคลื่นย้ายสัญญาณ
Wire:ใช้เดินสายสัญญาณ
Circle:ใช้สร้างวงกลม
Rectangle:ใช้สร้างสี่ เหลี่ยมทึบ
Bus:ใช้สร้างสายสัญญาณBus
Junction:ใช้เป็ นจุดเชื่อมต่อของสายสัญญาณ
ERC:ใช้ตรวจสอบความผิดพลาดของวงจรที่เราได้สร้างขึ้น
Show:ใช้แสดงวัตถุให้เด่นและแสดงรายละเอียดทางด้านซ้ายมือ
Mark:ใช้แสดงเครื่ องหมายในตาแหน่งR0,PO
Copy:เห็นชื่อก็รู้เลยว่าใช้ copy อุปกรณ์แน่นอน
Rotate:ใช้หมุนอุปกรณ์(หมุนได้ทีละ90องศา)
Change:ใช้ในเปลี่ยนแปลงค่าการต่างๆ
Paste:ใช้วางส่วนที่เรา Cut ออกมาวาง
Add:ใช้เข้าสู่การค้นหาอุปกรณ์
Gateswap:ใช้สลับตาแหน่งอุปกรณ์
Value:ใช้กาหนดค่าอุปกรณ์
Miter:ใช้ทาให้สายสัญญาณไม่เป็ นมุมฉาก
Invoke:ใช้ดูอุปกรณ์ที่มี Part
Taxt:ใช้พิมพ์ขอ้ ความ
Arc:ใช้สร้างเส้นโค้งของรัศมีของวงกลม
Polygon:ใช้สร้างรู ปแบบโพลีกอ้ น
Net:ใช้เชื่อม Bus เพื่อแยกสัญญาณ
Lable:ใช้แสดงชื่อ Net บนสายสัญญาณ

นี่คือ เครื่ องมือหรื อปุ่ มอุปกรณ์ต่างๆที่เราจะต้องใช้งานแต่ผมเชื่ อว่าเพื่อนๆหลายคนคงจะจาไม่ได้ท้ งั หมดว่ามีอะไรบ้าง แต่เมื่อถึงเวลาลงมือใช้


งานเพื่อนๆจะสามารถจาได้เองโดนอัตโนมัติจากการย้าทาบ่อยๆ เดี๋ยวครั้งหน้าเราจะมากาหนดกริ ดกันครับ
6.การกาหนดกริ ดของโปรแกรม Eagle

เราจะเห็นว่าพื้นที่ทางานของโปรแกรม Eagle นั้นจะเป็ นพื้นที่วา่ งๆใช่ไหมครับ เราควรปรับให้เป็ นตารางเพื่อให้ง่ายในการออกแบบวงจร


พูดง่ายๆทาให้ดูง่ายขึ้นนั้นเอง สามาทาได้ดงั นี้ ครับ
1.คลิกที่ View แล้วเลือกไปที่ Grid ที่กรอบ Display เลือกไปที่ On เพื่อเปิ ดการใช้งานกริ ด
2.ที่ Style ตรงนี้จะเป็ นรู ปแบบของกริ ดครับมีท้งั แบบ Dots(แบบจุด)และแบบ Lines(แบบตาราง)
3.ที่ช่อง Size เราสามารถกาหนดขนาดของกริ ดและหน่วยของกริ ดได้ตรงช่งองนี้เลยครับแล้วกดปุ่ ม OK
4.หลังจากนั้นก็จะปรากฏตารางบนพื้นที่ทางานแล้วครับ ถ้าเราไม่ชอบหรื อไม่พอใจต้องการกลับไปค่าเริ่ มต้นก็คลิกที่ปุ่ม Default
การย่ อขยายพืน้ ที่ทางานของโปรแกรม Eagle

การย่อขยายพื้นที่ทางานทาได้ง่ายๆมากครับ โดยใชื้เครื่ องมือIn(ขยายพื้นที่ทางาน)และOut(ย่อพื้นที่ทางาน) นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้ปุ่ม


วงล้อตรงกลางในการใช้ยอ่ ขยายพื้นที่ทางานได้อีกด้วย

8.การค้ นหาอุปกรณ์ ในโปรแกรม Eagle

เขียนโดย kinggo ที่ 12:35 | วันจันทร์ ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553


แน่นอนเลยครับเพื่อนๆว่าการที่จะออกแบบวงจรไฟฟ้ าเราต้องเอาอุปกรณ์ไฟฟ้ ามาออกแบบ แต่วา่ อุปกรณ์ที่วา่ มันอยูต่ รไงไหนในโปรแกรม
Eagle ล่ะ ง่ายๆครับเราสามรถค้นหาอุปกรณ์ที่ว่าได้ดงั นี้
1.ให้เลือกไปที่เมนู Edit Add หรื อคลิกปุ่ ม Add
เพื่อเรี ยกใช้ไบนารี ก็จะมีอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็ นหมวดๆมาให้เราเลือกใช้มากมายหากเราต้องการใช้
อุปกรณ์ชนิดไหนก็คลิกเครื่ องหมาย + ที่หน้าที่ชนิดอุปกรณ์ที่เราต้องการครับ
2.อีกวิธีหนึ่งก็คือ การค้นหาอุปกรณ์แบบอัตโนมัติ ก็สามมารถทาได้ดงั นี้ครับ ยกตัวอย่างเช่นเราจะใช้อุปกรณ์ไมโครคอลโทรลเลอร์ AVR
ก้พิมพ์ AVR ไปตรงๆที่ปมุ่ Search เลยครับ แล้ว OK หรื อกด Enter ก็ได้ครับ ก็จะแสดงอุปกรณ์ AVR ขึ้นมาให้เราเลือกใช้
หากจะกลับมาแสดงอุปกรณ์เหมือนเดิมก็ลบข้อความในช่อง Search ออกแล้วกด Enter

9.การวางอุปกรณ์

เราสามารถนาเอาอุปกรณ์ที่เราต้องการมาวางไว้บนพื้นที่ทางานได้ดงั นี้
1.ดับเบิลคลิ๊กอุปกรณ์ที่เราต้องการ
2.แล้วอุปกรณ์จะติดมา คลิกเม้าส์ซา้ ยเพื่อวาง และเราสามารถวางอุปกรณ์ตวั เดิมนี้ได้เรื่ อยๆ

3.หากจะยกเลิกวางอุปกรณ์ตวั นี้ให้กดปุ่ ม Stop


10.การหมุนอุปกรณ์ และการสลับแกนอุปกรณ์ ใน Eagle

ในการออกแบบวงจร Schermatic ของโปรแกรม Eagel สามารถหมุนอุปกรณ์และสลับแกนอุปกรณ์ได้ดงั นี้


1.การหมุนอุปกรณ์สามารถทาได้โดยคลิกที่ปมุ่ หรื อขณะที่อุปกรณ์ลอยติดอยูก่ บั เมาส์ให้เราคลิ๊กขวา
2.การสลับแกนอุปกรณ์สามารถทาได้โดยคลิกที่ปมุ่ หรื อขณะที่อุปกรณ์ลอยติดอยูก่ บั เม้าส์ให้เรากดปุ่ มล้อเลื่อนที่เมาส์

11.การเคลือ
่ นย้ ายอุปกรณ์
เมื่อเราวางอุปกรณ์บนพื่นที่ทางานเสร็ จแล้วต้องการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ก็สามารถทาได้ดงั นี้
-การเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ตัวเดียว

คลิกที่ปมุ่ แล้วนาไปคลิกที่อุปกรณ์ที่เราต้องการเคลื่อนย้าย อุปกรณ์จะลอยติดมากับเมาส์เราก็จะสามาถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ได้ตามที่


ต้องการ

-การคลือ่ นย้ ายอุปกรณ์ท้งั กลุ่มคลิกปุ่ ม แล้วคลุมอุปกรณ์ที่เราต้องการ แล้วคลิก แล้วไปคลิกขวาที่อุปกรณ์ที่เราคลุมไว้ อุปกรณ์จะ


ลอยติดมากับเมาส์เราก็จะสามาถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ได้ตามที่ตอ้ งการ

12.การลบอุปกรณ์

เมื่อเราไม่ตอ้ งการอุปกรณ์บางตัวในพื้นที่ทางานเราก็สามารถลบได้ดงั นี้


-การลบอุปกร์ ตัวเดียว

คลิกที่ปมุ่ แล้วนามาคลิกอุปกรณ์ที่ตอ้ งการลบ


-การลบอุปกรณ์ท้งั กลุ่ม

ให้เอาเมาส์ไปคลิกที่ปมุ่ แล้วเอามาคลุมอุปกรณ์ที่ตอ้ งการลบแล้วก็ไปคลิกที่ปมุ่ แล้วเอามาคลิกขวาบนพื้นที่ทางานอุปกรณ์ที่คลุมก็


จะหายไป

13.การเชื่ อมต่ อวงจรด้ วย Wire

คราวนี้เราจะมาเรี ยนรู้การใช้โปรแกรม Eagle ด้วยวิธีการเชื่ อมต่อวงจรด้วยสาย Wire กันครับ


การใช้สาย Wire ก็คือ การเดินสายสัญญาณไฟฟ้ าไปเชื่ อมต่อกับขาอุปกรณ์ชนิ ดขาต่อขาครับ แล้วมันก็จะถูกเปลี่ยนเป็ นลายวงจรพิมพ์ การ
เชื่อมสายสัญญาณสามารถทาได้ดงั นี้
ตัวอย่างผมจะใช้วงจร Fixed Bias Circuit หรื อวงจรไบอัสแบบคงที่ นั้นเอง โดยมีอุปกรณ์ดงั นี้
1.R-US-0207/10 (ตัวต้นทาน) จานวน 2 ตัว
2.C-EU025-025x050 (ตัวเก็บประจุ) จานวน 2 ตัว
3.BC547 (ทรานซิสเตอร์ NPN) จานวน 1 ตัว
เอามาเรี ยงกันดังรู ป
่ คลิกเมนู Draw->Wire หรื อคลิกที่ปมด้
ขั้นตอนที1 ุ่ านซ้ายหรื อบนที่มีปมเครื ุ่ ่ องหมาย Wire อยู่

่ นามาคลิกที่ตวั ต้านทาน R1 ลากมายังขาคอลเล็คเตอร์แล้วกด Stop เพื่อหยุดการเดินสายหรื อเมื่อลากมาถึงขาคอลเล็คเตอร์


ขั้นตอนที2
แล้วดับเบิลคลิกทิ้งไป
่ เพื่อนๆลองเดินสายสัญญาณตามภาพให้ครบเลยนะครับ เดี๋ยวเราจะนาเอาวงจรนี้ ไปใช้ต่อไป
ขั้นตอนที3

ข้ อสังเกต
ขณะที่เราใช้คาสัง่ Wire ด้านบนก็จะปรากฏแถบเครื่ องมือขึ้นมาเพื่อให้เรากาหนดรู ปแบบของสายสัญญาณได้ หรื อขณะที่เราใช้การ Wire
สายเราก็สามารถคลิกขวาเพื่อเปลี่ยนรู ปแบบการเดินสายได้เลยครับ ลองๆปรับกันดูครับไม่ยาก

14.การสร้ างจุดเชื่ อมต่ อ

คราวนี้เราจะนาวงจรที่สร้างไว้คราวก่อนมาใช้ครับ เมื่อเราทาการ Wire สายเรี ยบร้อยแล้ว สายสัญญาณที่ความจริ งเชื่ อมต่อกันจะไม่มี


จุดเชื่อมต่อ ซึ่งจะถือว่าจุดที่เชื่อมต่อกันนั้นไม่ได้เชื่ อมต่อถึงกันหรื อเป็ นคนละสายนั้นเอง เพราะฉนั้นเราจึงควรเสร้ างจุดเชื่ อมต่อให้มนั ครับ โดย

เลือกไปที่ Draw->Junction หรื อคลิกที่ แล้วนามาคลิกสร้างจุดที่เชื่ อมต่อถึงกันดังภาพ


15.วิธีต่อไฟเลีย
้ งและกราวด์ ให้ วงจร
ตอนนี้จะเป็ นการต่อไฟเลี้ยงและกราวด์ให้กบั วงจรนะครับ สามารถททาได้ดงั นี้ ครับ
1.เลือกไปที่ Add 2.เลือกไปที่ Supply จะมี Supply1และSupply2 อันนี้เลือกใช้ตามความเหมาะสมเลยครับ
3.ผมใช้ Supply2 แล้วกัน แล้วเลือกไปที่ V+ เอามาต่อที่ขา C ของคอลเล็คเตอร์พร้อมต่อตัวต้านทาน R (จากบทความก่อน)ไปอีก
1 ตัว

4.แล้วไปเลือก V- มาต่อที่ขา E อีก 1ตัว มันจะขึ้น

ให้กดYes ไปก่อน
5.ต่อ GND เพื่อสร้างกราวด์ ให้กบั วงจรที่ C2 พร้อมเพิ่มตัว R ขึ้นมาอีก1ตัว แค่น้ ีก็เรี ยบร้อย(ตามภาพ)

16.การตรวจสอบความผิดพลาดของวงจรในโปรแกรม Eagle

เมื่อเราสร้างวงจรตามที่เราต้องการได้แล้ว แต่ยงั ไม่แน่ใจว่าวงจรที่เราได้สร้างนั้นถูกต้องหรื อผิดพลาดอะไรรึ เปล่า โปรแกรม Eagle ก็


สามารถช่วยเราได้ เราสามารถทาการตรวจสอบวงจรที่เราสร้างขึ้นมาได้ดงั นี้
ให้คลิกที่ Tools->Erc หรื อคลิกที่ปมุ่ ก็ได้ หลังจากนั้นโปรแกรมจะแจ้งผลให้เรารู ้ หากมีความผิดพลาดหรื อเกิดการ Error ขึ้น
โปรแกรมจะบอกจุดที่ วงจร Error ให้เราทาการแก้ไข แต่หากไม่ความผิดพลาดผิดพลาดหรื อไม่ Error จะไม่ปรากฏข้อความไดๆขึ้นมา
เลย

ปล.ใครที่สร้างวงจรตามผมตั้งแต่ตน้ ลองตรวจสอบดูมี Error นะจะบอกให้ลองแก้ดูตามที่โปรแกรมแนะนาดูครับ

17.การกาหนดค่ าให้ อุปกรณ์

ในการเขียน Schermatic ในโปแกรม Eagle นั้นเราสามารถกาหนดค่าของอุปกรณ์ได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้

1.ให้เลือกไปที่ปมุ่

2.นามาคลิกอุปกรณ์ที่เราต้องการกาหนดค่า
3.ใส่ค่าอุปกรณ์ในช่อง New Value for R3
18.วิธีย้ายตาแหน่ งค่ าอุปกรณ์ ใน Eagle

ถ้าเพื่อนๆเห็นว่าค่าอุปกรณ์มนั อjยูในมุมที่ไม่สวยงามเพื่อนๆสามารถจัดการหมุนย้ายค่าตาแหน่งได้ใหม่ดงั นี้


1.เลือกไปที่ปมุ่

แล้วนามาคลิกที่ตวั อุปกรณ์ที่เราต้องการย้ายค่าตาแหน่งให้เป็ น+

2.แล้วคลิกที่ปมุ่

แล้วนาไปคลิกค่าอุปกรณ์ที่เราเลือกให้เป็ น+ ข้างต้นนั้นสามารถหมุนค่าอุปกรณ์โดยการคลิกขวา

19.การคัดลอกอุปกรณ์

เราสามารถคัดลอกอุปประกรณ์ได้สองแบบ แบบตัวเดียวและแบบทั้งกลุ่ม

-การคัดลอกอุปกรณ์ตัวเดียวสามารถทาได้ดงั นี้
คลิกที่ปมุ่

แล้วนามาคลิกอุปกรณ์ที่เราต้องการ ตัวอุปกรณ์จะลอยติดมาแล้วนาไปวางบริ เวรที่เราต้องการวาง ลาดับอุปกร์จะเรี ยงเองโดยอัตโนมัติ

-การคัดลอกอุปกร์ ท้งั กลุ่มสามารถทาได้ดงั นี้


1.คลิกที่ปมุ่
แล้วนามาคลุมทั้งวงจร
2.คลิกที่ปมุ่

แล้วนามาคลิกที่กลางวงจร

3.คลิกที่อุปกรณ์

แล้วอุปกรณ์ท้งั หมดก็จะแสดงแล้วนาไปวางบนพื้นที่ทางานจะได้วงจรที่เหมือนเดิมทั้งหมด และยังสามารถ

คลิกขวาเพื่อหมุนวงจรก่อนว่างได้ดว้ ย

การออกแบบลายวงจรพิมพ์ด้วย Eagle แบบหน้ าเดียว


หลังจากเราได้เรี ยนรู้การใช้งานโปรแกรม Eagle เบื้องต้นแล้ว คราวนี้ เราจะมาออกแบบลายวงจรพิมพ์กนั ทีละขั้นตอน กันเลยครับ ให้เตรี ยม
วงจรที่เราต้องการออกแบบไว้เลยครับ เดียวเราจะมาออกแบบ
1.ให้เราเตรี ยมวงจรที่เราต้องการจะใช้ก่อนครับ
2.ให้เลือกไปที่ Board แล้วจะมีหน้าต่างขึ้นมาให้กด Yes ตามรู ป

3.ก็จะได้หน้าตาดังที่เห็นดังรู ปด้านล่าง

4.ให้ลากอุปกรณ์ที่เราต้องการเข้ามาไว้ในกรอบ 4เหลี่ยม โดยเลือกไปที่เมนู แล้วนามาเลือกอุปกรณ์ที่ตอ้ งการจะลากเข้าไป


5.ทาการจัดกรอบให้มีขนาดที่เหมาะสมกับวงจรของเราโดยคลิ๊กที่มุมของสี่ เหลี่มแล้วลากเข้ามาเพื่อลดขนาด
6.เลือกไปที่ Tool-> Drc...

7.ที่แท็บ Clearance เพื่อเข้าไปกาหนดระยะห่างของลายทองแดงกับลายทองแดง (ในที่น้ ีผมกาหนดให้ Wire=0.5mm)


8.ที่แท็บ Size เพื่อกาหนดขนาดของลายทองแดง(ในที่น้ ีกาหนด Minimum Width=1mm) เสร็ จแล้วกด Select

9.เลือกไปที่ Tool-> Auto เพื่อเดินลายทองแดงอัตโนมัติ ที่ช่อง 1 Top เลือกเป็ น N/A เพื่อเดินลายทิงแดงด้านบนด้านเดียว แล้วกด
OK ลายทองแดงก็จะเดินให้อตั โนมัติ
3
การทาภาพ มิติ จากโปรแกรม EAGLE (EAGLE
3D)
By Frodo@TEE
Software Eagle เป็ น Software สาหรับงานออกแบบ Schematic และ PCB
Routing มีจุดเด่น คือ

- ใช้งานง่าย ตาม Concept ชื่อ Software


(Easily Applicable Graphical Layout Editor)
- ใช้ได้หลากหลาย OS ( Windows®, Linux® and Mac® )
- Download ได้ฟรี ใช้งานได้ Full Function (จากัดขนาดของ PCB ที่ 64 x 64 inch )
- มีกลุม่ สงั คม Online ทั่วโลก (แจกวงจรซงึ่ จะใช ้ Eagle ทา Schematic และ PCB
) ชว่ ยลดเวลาออกแบบ

บทความนี้เป็ นการสอนทาภาพ 3 มิติ จากโปรแกรม EAGLE เป็ นเนื้อหาเพิ่มเติม เสริ มให้กบั คอร์สอบรม
Course “เรี ยนรู ้การออกแบบ PCB และการออกแบบ Hardware ด้วยโปรแกรม Eagle ขั้นพื้นฐาน
(WORKSHOP)” บทความนี้สามารถทาตามและเห็นผลได้เลยครับ
ขั้นตอนการทา EAGLE 3D
1. ลงโปรแกรม EAGLE ให้เสร็ จสมบูรณ์ (จะเป็ นแบบซื้อมาหรื อแบบฟรี ก็ได้)

2. ลง Java Runtime Environment โดยสามารถ download ได้จากเว็บ


http://www.java.com/en/download/manual.jsp จะได้ไฟล์ที่มีไอคอนแบบในรู ป หรื อใช้ไฟล์
ที่อยูใ่ น CD ทาการติดตั้งเหมือนกับโปรแกรมทัว่ ๆไป

3. copy โฟลเดอร์ Eagle3D จาก CD ไปใส่ในโฟลเดอร์ของโปรแกรม EAGLE (ปรกติจะอยูท่ ี่


C:\Program Files\EAGLE-x.x.x)

4. ลงโปรแกรม POV-Ray เสร็ จแล้วเปิ ดโปรแกรมขึ้นมา จะได้โปรแกรมหน้าตาดังรู ป


5. คลิกที่เมนู Tools -> Edit master POVRAY.INI (ปกติจะเป็ น notepad)

6. copy ข้อความต่อไปนี้ (ทั้ง 3 บรรทัด)

Library_Path="C:\Program Files\EAGLE-
5.6.0\Eagle3D\eagle3d\povray"
Library_Path="C:\Program Files\POV-Ray for Windows v3.62\include"
Library_Path="C:\Windows\Fonts"

แล้วไป paste ไว้ที่ดา้ นล่างสุดไฟล์ ตรงที่เป็ นตัวสี แดงหมายถึงให้ใช้เป็ น Path ที่อยูข่ องโปรแกรม EAGLE
และ POV-Ray ที่เราลงไว้จริ งๆในเครื่ อง จากนั้นให้ save ไฟล์น้ ีและปิ ดไป
7. ไปที่โปรแกรม EAGLE เปิ ดไฟล์ที่ตอ้ งการนามาทาภาพ 3 มิติ พิมพ์ run หรื อคลิกที่ปุ่มในวงกลมสี แดงตามรู ป

8. เลือกไปที่โฟลเดอร์ C:\Program Files\EAGLE-x.x.x\Eagle3D\eagle3d\ulp


9. เลือกไฟล์ 3d41.ulp แล้วกด open
10. จะมีหน้าต่างเล็กๆขึ้นมาให้เลือกภาษา ให้เลือกเป็ นภาษาอังกฤษ แล้วกด OK จากนั้นจะให้เลือกที่เก็บไฟล์ .pov
ซึ่งเป็ นไฟล์ที่ใช้สร้างภาพ 3 มิติ ให้เลือกที่ไหนก็ได้ครับ เสร็จแล้วกด OK

11. จะได้หน้าต่างขึ้นมาดังรู ป

12. ตรงแถบกลางๆ ให้คลิกที่ปุ่ม Set to Board-Path แล้วคลิก create POV-File ที่ดา้ นล่าง
โปรแกรมอาจจะแจ้ง error ขึ้นมา ให้ตอบ OK ไป เสร็ จแล้วอาจมีหน้าต่างขึ้นดังรู ป
เป็ นการถามว่า จะให้มีโลโก้สกรี นบนตัวICในภาพ 3 มิติหรื อไม่ ถ้าอยากให้มี จะใช้โลโก้ของเจ้าไหน ในรู ปตัวอย่างเป็ น
ICในบอร์ดที่ชื่อ IC1 เบอร์ 16F84 มีโลโก้ให้เลือก 4 อันคือ ATMEL, FTDI, PHILIPS, และ
ST ถ้าเราต้องการให้มีโลโก้ของ FTDI ก็เลือกแล้วกด OK แต่ถา้ ไม่ตอ้ งการให้มีโลโก้ก็กด No logo แต่ถา้ ไม่
ต้องการให้มีโลโก้บนICตัวไหนเลยให้กด All without logo แต่จากการทดลอง ไม่มีโลโก้อะไรขึ้นเลยครับ ไม่วา่
จะเลือกอันไหนก็ตาม

13. จากนั้นอาจจะมีหน้าต่างขึ้นมาถามอีกว่าจะให้ICตัวนี้มี socket ใส่ดว้ ยหรื อไม่ ก็เลือกตามที่ตอ้ งการ

14. ถ้าสาเร็ จจะขึ้นดังรู ป


15. เมื่อไปดูที่โฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ PCB ไว้ จะมีไฟล์ใหม่เกิดขึ้น 2 ไฟล์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล pov กับ mpd นี่
คือไฟล์ที่โปรแกรม POV-Ray จะใช้

16. เปิ ดไฟล์ที่เป็ นนามสกุล pov โปรแกรม POV-Ray จะถูกเปิ ดขึ้นมา ให้กดที่ปุ่ม Run

17. อาจมีหน้าต่างดังรู ปขึ้นมา ให้กด OK

18. โปรแกรมจะสร้างรู ปภาพขึ้นมา จากรู ปตัวอย่างจะเห็นว่า มีอุปกรณ์ 3 ตัวที่ยงั ไม่ใช่รูปที่ถูกต้อง


จะต้องทาการแก้ไขในโค้ดของ POV-Ray ให้เลื่อนหน้าจอลงมาเรื่ อยๆจนเจอโค้ดที่มีลกั ษณะคล้ายๆแบบนี้

#if(pcb_parts=on)//Parts
union{

#ifndef(pack_C1) #declare global_pack_C1=yes; object


{CAP_SMD_CHIP_1206(DarkWood)translate<0,0,0>
rotate<0,0.000000,0>rotate<0,-270.000000,0> rotate<0,0,0>
translate<12.700000,0.000000,21.590000>translate<0,0.035000,0>
}#end //SMD Capacitor 1206 C1 30p C1206

#ifndef(pack_C2) #declare global_pack_C2=yes; object


{CAP_SMD_CHIP_1206(DarkWood)translate<0,0,0>
rotate<0,0.000000,0>rotate<0,-270.000000,0> rotate<0,0,0>
translate<31.115000,0.000000,21.590000>translate<0,0.035000,0>
}#end //SMD Capacitor 1206 C2 30p C1206
ตรงนี้คือส่วนที่กาหนดว่าจะใช้รูปไหนจาก Library มาใส่เป็ นอุปกรณ์ตวั ไหนในรู ป 3 มิติรูปนี้ สาหรับ Library ที่
เก็บรู ปภาพของอุปกรณ์จะอยูใ่ นโฟลเดอร์ C:\Program Files\EAGLE-
x.x.x\Eagle3D\library_images_1_05

ซึ่งถ้าเข้าไปดูจะพบรู ปอุปกรณ์มากมาย ตัว library3D นี้เกิดจากความวิริยะ อุตสาหะของผูส้ ร้างอย่างแท้จริ ง ที่ตอ้ งวาด


รู ป object ของอุปกรณ์ต่างๆ ทีละรู ป ทีละรู ป จนมีอุปกรณ์ค่อนข้างครอบคลุมกับงานง่ายๆ ทีน้ ีเราก็ตอ้ งมานัง่ หากันล่ะ
ครับ หาว่ารู ปไหนที่จะใช้แทนตัวที่ยงั ผิดอยูไ่ ด้บา้ ง เมื่อเจอภาพที่ตอ้ งการแล้วก็จาชื่อไฟล์น้ นั ๆ แล้วไปแก้ไขในโค้ด

ผมจะอธิบายความหมายของโค้ดกลุ่มนี้แต่ละส่วนนะครับ ยกตัวอย่างเช่น

#ifndef(pack_IC1) #declare global_pack_IC1=yes; object


{IC_DIS_DIP18("PIC16F84AP","ATMEL",)translate<0,0,0>
rotate<0,0.000000,0>rotate<0,0.000000,0>
rotate<0,0,0>translate<24.765000,0.000000,13.335000>translate<0,3.
000000,0> }#end //DIP18 IC1 PIC16F84AP DIL18

#ifndef(pack_IC1) #declare global_pack_IC1=yes;


ส่วนนี้คือการประกาศว่ามีอุปกรณ์ชื่อ IC1 อยูใ่ นวงจรด้วย

object {IC_DIS_DIP18("PIC16F84AP","ATMEL",)translate<0,0,0>
rotate<0,0.000000,0>rotate<0,0.000000,0> rotate<0,0,0>
ส่วนนี้เป็ นการกาหนดว่าจะใช้รูปโมเดลไหนใน Library มาแสดงเป็ นตัว IC1 ในตัวอย่างนี้เรี ยกใช้รูปที่ชื่อว่า
IC_DIS_DIP18 ซึ่งถ้าไปดูที่รูปจริ งใน Library จะเป็ นรู ปนี้ครับ

ซึ่งเป็ นIC 18 ขา แบบ DIP


("PIC16F84AP","ATMEL",) วงเล็บที่ตามมาข้างหลังชื่อโมเดลคือข้อความที่จะแสดงบนตัว IC1 ดังรู ป

จะเห็นได้วา่ มีแต่ PIC16F84AP ไม่มี ATMEL ซึ่งผมก็ไม่ทราบว่าทาไมมันถึงไม่ข้ ึน แต่ถา้ ลองเอาข้อความอัน


หลังออกไป POV-Ray จะรันไม่ได้และฟ้ อง error ที่เป็ นแบบนี้ผมคิดว่าน่าจะเป็ น format ของการกาหนดค่า
ให้โมเดลแบบICที่จะต้องมีขอ้ ความ 2 อันเสมอ แต่อุปกรณ์อื่นๆ จะใช้ขอ้ ความแค่อนั เดียว เช่น ไดโอด ผมกาหนดค่าเป็ น
(“1N4148”,) จะได้ผลดังรู ป

ต่อจากนั้นคือ translate<0,0,0>rotate<0,0.000000,0>rotate<0,0.000000,0>
rotate<0,0,0>
จะเห็นว่ามี 2 ส่วนคือ translate และ rotate ส่วน translate นั้นจะเป็ นค่าตาแหน่งจุดศูนย์กลางของวัตถุ
เทียบกับจุดศูนย์กลางของตาแหน่งตัวอุปกรณ์ในรู ปแบบtranslate<x,z,y>

ส่วน rotate นั้นจะมี 3 ชุด ใช้กาหนดมุมของวัตถุในรู ปแบบการหมุนรอบแกน XYZ จากการทดลอง rotate ทั้ง
3 ชุดนี้ทาหน้าที่ร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ถ้าผมเขียน
rotate<50,0.000000,0>rotate<0,50.000000,0> rotate<0,0,50> จะให้ผล
เหมือนกับ rotate<50,50.000000,50>rotate<0,0.000000,0> rotate<0,0,0>

และถ้าผมเขียนเป็ น rotate<50,0.000000,0>rotate<20,0.000000,0>
rotate<10,0,0> จะทาให้วตั ถุหมุนรอบแกน X = 50+20+10 = 80 หน่วย เช่นกัน ถ้าผมเขียน
rotate<50,0.000000,0>rotate<-20,0.000000,0> rotate<-10,0,0> จะทาให้วตั ถุ
หมุนรอบแกน X = 50-20-10 = 20 หน่วย

ดังนั้นถ้าผมเขียนว่า
translate<0,10,0>rotate<50,0.000000,0>rotate<25,0.000000,0>
rotate<0,0,30> จะได้รูปเป็ นแบบนี้
ส่วนสุดท้าย
คือ translate<24.765000,0.000000,13.335000>translate<0,3.000000,0>
}#end
ส่วนนี้เป็ นการรับค่ามาจากไฟล์ PCB ของ EAGLE ค่าของ translate ชุดแรกคือตาแหน่งพิกดั ของ IC1 ใน
ไฟล์ PCB เพื่อใช้อา้ งอิงกับตาแหน่งของวัตถุในภาพ 3 มิติ ก็ไม่ตอ้ งไปยุง่ กับมันครับ ส่วน translate ตัวสุดท้าย
คือ การยกตัววัตถุซ่ ึงในที่น้ ีคือICขึ้นมา 3 หน่วย ที่ตอ้ งยกเพราะตอนรันสคริ ปท์ ULP ผมเลือกให้ใส่ socket กับ
IC ดังนั้นวัตถุที่เป็ น IC จะต้องยกขึ้นมาให้เลย socket เพื่อให้สมจริ ง ส่วนท้ายสุดที่มีเครื่ องหมาย // อยูข่ า้ งหน้าเป็ น
เพียง comment บอกรายละเอียดของอุปกรณ์ครับ

ทาไมถึงต้องรู ้วธิ ีการกาหนดค่าพวกนี้ดว้ ย เพราะบางครั้งจุดศูนย์กลางของอุปกรณ์ใน PCB กับจุดศูนย์กลางของวัตถุใน


ภาพ 3 มิติอาจไม่ตรงกันครับ รวมถึงองศาในการหมุนด้วย บางครั้งเวลาแปลงเป็ นภาพ 3 มิติแล้วอาจพบว่าตาแหน่งหรื อ
มุมของวัตถุผิดไปจากที่ควรจะเป็ น ดังนั้นเราต้องมาแก้ไขให้ถูกต้องด้วยการแก้โค้ดตรงนี้ แต่ POV-Ray ไม่มี
เครื่ องมือวัดระยะทาง ต้องใช้วธิ ีกะแล้วค่อยๆแก้ค่าเอาครับ ไม่มีวธิ ีอื่น

จากรู ปบอร์ดตัวอย่างตอนแรกที่ตวั เก็บประจุหายไป 2 ตัว คริ สตัลหายไปอีก 1 ตัว (หายไปได้ยงั ไงผมก็ไม่ทราบ


เหมือนกัน!?!) ผมจะต้องหาตัวมาใส่ในตาแหน่งนั้นให้ได้ ผมเริ่ มจากการ copy โค้ดยาวๆที่ผมเพิ่งอธิบายไปเมื่อกี้และ
ไปวางแทรกต่อจากบรรทัดสุดท้ายของโค้ดกลุ่มนั้น แก้ชื่ออุปกรณ์ เป็ น C4, C5 เป็ นต้น เสร็จแล้วผมต้องไปหารู ปใน
Library ว่าอันไหนพอจะใช้ได้ หาเจอแล้วผมก็ copy ชื่อไฟล์รูปนั้นมาใส่แทนชื่อเดิมแล้วก็ไปดูพิกดั ตาแหน่งของ
อุปกรณ์ตวั นั้นในไฟล์ PCB มาใส่ในส่วนที่ใช้อา้ งอิงตาแหน่ง ลองกด Run ดู ถ้าตาแหน่งยังไม่ใช่แบบที่ตอ้ งการก็
ลองแก้ค่าตาแหน่งต่างๆแล้วกด Run อีกครั้ง ถ้ายังไม่ใช่อีกก็แก้ไปเรื่ อยๆจนกว่าจะพอใจ ทาแบบนี้จนครบหมดทุกตัวก็
จะได้รูป 3 มิติของวงจรที่สมบูรณ์

หากสังเกตหน้าจอตอนที่รันสคริ ปท์ 3d41.ulp จะพบว่ามีหลาย tab ให้เลือก tab พวกนั้นเป็ นหน้าจอสาหรับใช้


ปรับตาแหน่งของบอร์ด มุมกล้อง และตาแหน่งของแสงเงาต่างๆ ดูที่ tab ที่สองก่อนเลยครับ
ค่าในนี้เป็ นพวกการกาหนดลักษณะของบอร์ด เช่น ความหน้าของ PCB ขนาดของรู เป็ นต้น แต่ที่น่าสนใจคือบรรทัด
สุดท้ายครับ เป็ นการหมุนบอร์ดให้อยูใ่ นมุมที่ดูสวยงามมากขึ้น ถ้าลองปรับค่าช่องแรกเป็ น 45 จะได้ผลเป็ นแบบนี้ครับ
(โปรดสังเกตว่าตัวเลขในช่องพวกนี้เป็ นตัวเลขไทย ถ้าจะพิมพ์ค่าลงไปอย่าลืมเปลี่ยนภาษาและป้ อนค่าที่เป็ นเลขไทยลงไป
นะครับ)
จะเห็นว่าบอร์ดหมุนขึ้นตามแนวแกน X 45 องศา ถ้าผมใส่ค่าเป็ น -45 จะได้เป็ น

เช่นเดียวกัน การกาหนดค่าในอีก 2 ช่องที่เหลือคือการหมุนตามแกน Y และ Z ผมแก้ค่าเป็ น -5, -45, -20 จะได้ดงั


รู ป
คราวนี้เราก็จะสามารถจัดให้บอร์ดอยูใ่ นมุมที่สวยงามได้ตามต้องการแล้วTab ต่อมาคือ Camera ใช้ปรับมุมกล้อง
ครับ
อันนี้ถา้ ใครมีความรู ้ดา้ นคอมพิวเตอร์กราฟฟิ คคงจะพอเข้าใจ แต่ผมไม่มีความรู ้เลยต้องลองปรับมัว่ ๆเอาครับ ลองปรับค่า
ต่างๆดูได้ ตัวอย่างนี้เป็ นผลจากการปรับ Camera position Y เป็ น -10
Tab ถัดมาอีก 2 อันคือ Light โปรแกรมนี้มีแหล่งกาเนิดแสงถึง 4 ดวงเลยทีเดียว แต่ผมไม่รู้วา่ ดวงไหนอยูต่ รงไหน
บ้าง เอาเป็ นว่าลองปรับดูแล้วกันครับ
ถ้าได้ลองทาจริ งแล้วจะพบว่าการปรับค่าเหล่านี้เป็ นขั้นตอนค่อนข้างกินเวลาและต้องทาซ้ าหลายรอบ การปรับค่าจาก
หน้าต่างนี้เป็ นสิ่ งที่ค่อนข้างหน้าเบื่อเลยดีเดียว จริ งๆแล้วค่าพวกนี้อยูใ่ นโค้ด POV-Ray หมดแล้วครับ มันอยูต่ รงตัว
แปรพวกนี้ครับ
ลองไล่หาบรรทัดที่มีตวั แปรพวกนี้ ลองแก้ค่า และกด Run ดู ตามความเห็นของผม การแก้ค่าจากตรงนี้สะดวกกว่าไปแก้
ค่าจากในหน้า PCB ครับ

ยังมีอีกอย่าง คือการตั้งค่าความละเอียดในการ render ภาพครับ ลองมองไปที่ดา้ นซ้ายบนของโปรแกรม POV-


Ray จะเห็นช่องให้เลือกความละเอียดของภาพอยูค่ รับ

การเลือกความละเอียดน้อยลงจะทาให้การ render ภาพเร็ วขึ้น แต่ภาพที่ได้ก็จะเล็กลงครับ การปรับความละเอียดน้อยๆ


คงเหมาะกับช่วงทดลองปรับแก้คา่ ต่างๆมากกว่าเพราะทาให้ไม่ตอ้ งรอนาน ส่วนคาว่า No AA และ AA 0.3 คือการ
เลือกว่าจะทาให้ภาพคมมากขึ้นหรื อไม่ ซึ่ง AA มาจาก Anti Aliasing นัน่ เอง หากเลือก AA 0.3 ภาพที่ได้จะมี
ความสวยคมมากขึ้น แต่ตอ้ งแลกกับเวลาในการ render ภาพที่นานขึ้นด้วย ชอบใจแบบไหนก็เลือกได้ตามอัธยาศัยเลย
ครับ

ขอขอบคุณวิทยากรทีใ่ ห้ ความรู้ เพือ่ นามาทาบทความนีค้ รับ

Course “เรียนรูก้ ารออกแบบ PCB และการออกแบบ Hardware


ด้วยโปรแกรม Eagle ขนพื ้ ฐาน (WORKSHOP)”
ั้ น
Tutorial(Various:Software) - การใช้ งานโปรแกรม Eagle
EAGLE 5.0 โปรแกรมออกแบบ PCB ที่มีความโดดเด่นคือขนาดของ โปรแกรมที่มีขนาดเล็กและมีการจัดการ Libraries ที่ดี ในบทความนี้จะเป็ นการใช้งานเบื้องต้นการออกแบบ PCB จาก Schematic ไปยัง Board PCB

ขั้นตอนในการสร้าง Schematic สาหรับวาดวงจรเมื่อเราเปิ ดโปรแกรม EAGLE ขึ้นมาจะได้หน้าต่างโปรแกรม Control Panel ดังภาพด้านล่างนี้


1. ให้คลิกเลือกที่ File>>New>>Schematic จะปรากฏหน้าต่างสาหรั บการสร้างวงจรขึ้นมาให้เรา SAVE ใน ที่ที่เราต้องการจัดเก็บ

2. ให้คลิกที่ปุ่ม Add บนแถบ Command buttons เพื่อเพิ่มอุปกรณ์เข้ามาวาดวงจร ที่หน้าต่าง Add จะมี


อุปกรณ์ให้เราเลือกใช้ในการวาด Schematic ถ้าหากว่าที่หน้าต่าง Add ไม่ปรากฏอุปกรณ์ข้ นึ มา ให้เรากลับไปที่หน้าต่าง Control Panel คลิกขวาที่ Libraries เลือก Use all จากนั้นกลับมาคลิกที่ปุ่ม Add ก็จะปรากฏอุปกรณ์ท้ งั หมดเข้ามาให้เราเลือกใช้
เราสามารถทาการค้นหาอุปกรณ์ได้โดยพิมพ์ชื่ออุปกรณ์ลงไปในช่อง Search ให้เราคลิกเลือกที่ช่อง Description ด้วยเพื่อ
เป็ นข้อกาหนดในการค้นหา จากนั้นกดปุ่ ม Enter ที่คียบ์ อร์ ด ก็จะปรากฏอุปกรณ์ที่เราค้นหาขึ้นมาให้
3. ให้คลิกที่ปุ่ม Add บนแถบ Command buttons เพื่อเลือก Frames ขนาดพื้นที่ในการวาดวงจรให้เลือกที่ DINA5_L จากนั้นคลิกปุ่ ม OK เราจะได้กรอบพื้นที่ของการทางานติดมาก ับเมาส์ของเรา ให้เรานาไปวางที่จุด 0.0.0.0 หรื อจุด Origin โดยเราจะสังเกตจากมาร์ ครู ปกากบาท
สี ดา ให้นาขอบ Frame ไปวางที่จุดมาร์ ค

หลังจากที่เราได้วาง Frame ที่จุด Origin แล้ว กรอบ Frame ก็ยงั จะติดอยู่ก ับเมาส์ให้เราคลิกที่ปุ่ม Stop บนเมนูบาร์เพื่อจบการทางานของคาสั่งนั้น ที่ปุ่ม Stop ก็จะเปลี่ยนจากสี แดงเป็ นไม่มีสี หลังจากนั้นให้คลิกปุ่ ม Fit บนเมนูบาร์ จะแสดงให้เห็นดังภาพด้านล่างนี้
ต่อไปให้เราคลิกที่ Gride จะแสดงไดอะล็อกบล็อก Gride ขึ้นมาให้เราเลือกค่าตามภาพด้านล่างแล้วคลิก OK ก็จะปรากฏ Gride เป็ น Dot ตามที่เราได้เลือกไว้ข้ นึ มาที่ Schematic ของเรา

คาสั่ง Zoom ในโปรแกรม EAGLE เราสามารถเลือกใช้ได้บนเมนูบาร์


Zoom to Fit ใช้ในการซูมพื้นที่ที่กาลังทางานอยู่ท้ งั หมด จะทาให้สามารถมองเห็นพื้นที่ทางานของวงจรทั้งหมด หรื อกด Hot key >> Alt+F2
Zoom in ใช้ในการขยายรู ปวงจร หรื อกด Hot key >> F3
Zoom out ใช้ในการย่อรู ปวงจร หรื อกด Hot key >> F4
Zoom Select ใช้ในการขยายรู ปวงจรบริ เวณที่เราต้องการขยาย โดยการคลิกที่ปุ่ม Zoom Select และนาเมาส์ไปคลิกซ้ายลากครอบบริ เวณที่เราต้องการขยายใหญ่ให้เห็นใหญ่ข้ นึ

***ถ้าหากว่าเมาส์ที่ผอู ้ ่านใช้มีลูกกลิง้ ที่เมาส์สามารถเลื่อนลูกกลิง้ ที่เมาส์เพื่อ Zoom in และ Zoom out ได้เลย***

4. ให้เลือกอุปกรณ์และสัญลักษณ์ท้ งั หมดเข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจรโดยคลิกที่ปุ่ม Add และพิมพ์ MAX232 ในช่อง Search และกด Enter ทีคียบ์ อร์ ดก็จะปรากฏสัญลักษณ์และฟุตปริ้ นดังภาพด้านล่างให้เราได้เลือกใช้ หรื อ ท่านผูอ้ ่านจะไม่ใช้วิธีการ Search จะเข้าไปเลือกเองโดยตรงก็
สามารถทาได้เพราะมีให้เลือกสัญลักษณ์และฟุตปริ้ นหลายแบบ
จากนั้นให้คลิก OK เราก็จะได้อุปกรณ์ติดมาก ับเมาส์ ถ้าเราต้องการ Rotate อุปกรณ์ให้คลิกขวาเพื่อ Rotate อุปกรณ์
คลิกซ้ายเพื่อวางอุปกรณ์ และคลิกที่ Stop เพื่อออกจากคาสั่ง ในทุกครั้งที่เราเลือกใช้คาสั่งบนแถบ Command buttons ที่ปุ่ม Stop ก็จะแสดงสี แดงขึ้นมา และถ้าหากเราต้องการออกจากคาสั่งใดใดให้คลิกที่ปุ่ม Stop ก็จะเปลี่ยนเป็ นไม่มีสี

คาสั่งที่มกั จะใช้บ่อยบ่อยในการวาด Schematic


คาสั่ง Move ใช้สาหรับเคลื่อนย้ายตัวอุปกรณ์ต่างๆ โดยเลือกที่คาสั่ง Move และคลิกซ้ายที่ตวั อุปกรณ์กส็ ามารถเคลื่อนย้ายเปลี่ยนตาแหน่งได้
คาสั่ง Copy ใช้สาหรับคัดลอกอุปกรณ์ตวั เดียวก ันที่เราต้องการเพิ่มในวงจร โดยเลือกที่คาสั่ง Copy และคลิกซ้ายที่ตวั
อุปกรณ์กจ็ ะได้อุปกรณ์ตวั นั้นเพิ่มเข้ามาอีกหนึ่งตัว
คาสั่ง Mirror มักใช้ในกรณี ที่การวาดวงจรไม่สะดวกเมื่อขาอุปกรณ์อยู่คนละด้าน โดยเลือกที่คาสั่ง Mirror และคลิก
ซ้ายที่ตวั อุปกรณ์
คาสั่ง Rotate ใช้สาหรับเปลี่ยนตาแหน่งการวางอุปกรณ์ โดยเลือกที่คาสั่ง Rotate และคลิกซ้ายที่ตวั อุปกรณ์
คาสั่ง Delete ใช้สาหรับลบอุปกรณ์หรื อวัตถุที่เราไม่ตอ้ งการ โดยเลือกที่คาสั่ง Delete และคลิกซ้ายที่วตั ถุที่เราต้องการลบ
ต่อไปให้เรานาอุปกรณ์ทุกตัวเข้ามาวางในพื้นที่ของการวาดวงจร ให้นาอุปกรณ์ F09HP เข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจร

ให้นาอุปกรณ์ MA04-1 เข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจร


ให้นาอุปกรณ์ CPOL เข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจร

ให้นาอุปกรณ์ GND เข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจร


ให้นาอุปกรณ์ VCC เข้ามาวางในพื้นที่การวาดวงจร

ถ้าหากว่าเราต้องการเปลี่ยนชื่อของตัวอุปกรณ์ให้เราคลิกเลือก NAME บนแถบ Command buttons โดยคลิกที่ตวั อุปกรณ์ที่เราต้องการเปลี่ยนชื่อก็จะแสดงไดอะล็อกบล็อกขึ้นมาให้เราเปลี่ยนชื่อ ต่อไปให้เราคลิกที่ Value บนแถบ Command buttons เพื่อใส่ ค่าของคาปาซิเตอร์ หรื อใส่ ค่า
ของอุปกรณ์ตวั อื่นๆได้ โดยคลิกที่ตวั อุปกรณ์ที่เราต้องการใส่ ค่าของอุปกรณ์ ก็จะแสดงไดอะล็อกบล็อกขึ้นมาให้เราใส่ ค่าของอุปกรณ์ลงไป
5. ให้เราเชื่อมโยงสัญญาณทางไฟฟ้ าจากขาอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกขาอุปกรณ์หนึ่งโดยเลือกที่ Net และคลิกซ้ายที่ขาอุปกรณ์ที่เป็ นจุดเริ่ มต้นแล้วไปคลิกที่ขาอุปกรณ์ที่เป็ นจุดสิ้ นสุ ดเราก็จะได้เส้นที่เป็ นตัวเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้ าขึ้นมา เมื่อเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วให้เราเลือก SAVE

ถ้าหากเราต้องการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ทุกตัวหรื อหลายตัวพร้อมกนั ให้เราคลิก Group แล้วลากเส้นล้อมรอบอุปกรณ์ที่เราต้องการเคลื่อนย้ายไปพร้อมก ัน โดยคลิกซ้ายแล้วลากเมื่อล้อมรอบตัวอุปกรณ์ทุกตัวแล้วให้ดบั เบิลคลิกซ้ายตัวอุปกรณ์กจ็ ะถูกทาไฮไลท์จากนั้นให้เราเลือกที่ Move และคลิกขวาที่อุปกรณ์
ตัวใดก็ได้ที่ถูกทาไฮไลท์เลือกที่ Move Group ตัวอุปกรณ์ท้ งั หมดที่ถูกทาไฮไลท์กจ็ ะติดมาก ับเมาส์เราสามารถเคลื่อนย้ายไปวางในตาแหน่ งที่เราต้องการได้ ตอนนี้ เราได้วงจรที่พร้อมจะ Design PCB แล้ว

***วงจรนี้เขียนขึ้นเพื่อใช้เป็ นตัวอย่างเท่านั้น***

ขั้นตอนในการออกแบบลายวงจร PCB Design


1. หลังจากที่เราวาดวงจรเสร็ จแล้วเราจะทาการส่ งผ่านข้อมูลจาก Schematic ไปยัง Board PCB ที่หน้าต่าง Schematic ให้คลิกที่ Board หรื อเลือกที่ File>>Switch to Board ก็จะปรากฏบล็อกไดอะแกรมถามให้เราสร้าง Board PCB ให้คลิก YES ก็จะปรากฏหน้าต่าง
Board ขึ้นมา มีชื่อเดียวก ันก ับ Schematic มีนามสกุลเป็ น .brd ให้เราเลือก SAVE
2. คลิกที่ Grid ตั้งค่าตามภาพด้านล่าง ใน Board ก็จะปรากฏ Grid ขึ้นมาให้ลอง Zoom ดู

3. คลิกที่ Wire เพื่อสร้าง Board outline ขนาดของบอร์ ด PCB ให้เลือก Layer 20 Dimension และลากขนาดของ Board
4. คลิกที่ Move เพื่อนาอุปกรณ์เข้ามาวางใน Board layout โดยคลิกที่ตวั อุปกรณ์กจ็ ะได้อุปกรณ์ติดมาก ับเมาส์ ถ้าเราต้องการ Rotate อุปกรณ์ให้คลิกขวาเพื่อ Rotate อุปกรณ์ คลิกซ้ายเพื่อวางอุปกรณ์
ต่อไปให้เราวางตาแหน่งรู เจาะสาหรับยึดบอร์ ดของเราโดยคลิกที่ Hole บนแถบ Command buttons และเลือกขนาดของ Drill จากนั้นให้คลิกซ้ายในบริ เวณบอร์ ดเพื่อวางตาแหน่ งของรู ยึดน็อต ดังภาพด้านล่างนี้
5. คลิกที่ Drc บนแถบ Command buttons เพื่อตั้งค่า Design Rules กฎการออกแบบ ซึ่งจะช่วยตรวจสอบความถูกต้องของการออกแบบ จะปรากฏหน้าต่าง Drc ขึ้นมา ให้คลิกที่แท็บ Layers ที่ช่อง Setup ให้ใส่ ค่า (1*16) เพื่อเลือก Layers ในการเดินลายวงจร ในบทความนี้
เราต้องการออกแบบ PCB แบบ PTH งานสองหน้า

คลิกที่แท็บ Clearance เพื่อตั้งค่าระยะห่างต่างๆ ของการเดินลายวงจร


1. ระยะห่างระหว่างเส้น Track ก ับ Track
2. ระยะห่างระหว่างเส้น Track ก ับ PAD
3. ระยะห่างระหว่าง PAD ก ับ PAD
4. ระยะห่างระหว่างเส้น Via ก ับ Track
5. ระยะห่างระหว่างเส้น Via ก ับ PAD
6. ระยะห่างระหว่างเส้น Via ก ับ Via
7. ระยะห่างระหว่าง Smd ก ับ Smd
8. ระยะห่างระหว่าง Smd ก ับ PAD
9. ระยะห่างระหว่าง Smd ก ับ Via

ให้ลองคลิกที่ช่องต่างๆก็จะแสดงภาพของการตั้งค่าระยะห่างขึ้นมาให้เราเห็น เมื่อตั้งค่าต่างๆเรี ยบร้อยแล้วให้คลิกที่ Select

6. การตั้งค่า Net Classes เพื่อตั้งค่าขนาดของ Net ในการเดินลายเส้นของแต่ละ Net โดยให้เรากลับไปที่หน้าต่าง Schematic และคลิกเลือกที่ Edit>>Net Classes จะปรากฏหน้าต่าง Net Classes ให้เราใส่ ชื่อของ Net ในช่อง Name และใส่ ขนาดของ Width จากนั้น
คลิก OK

ใน Schematic ให้เราเปลี่ยน Connection เส้นที่เป็ น VCC และ GND เป็ น Net Power และ Connection เส้นอื่นๆให้เป็ น Net DATA วิธีที่เราจะดูว่า Connection ตอนนี้เป็ น Net อะไรอยู่ให้เราคลิกที่ Info บนแถบ Command Bottom คลิกที่
Connection ใน Schematic ก็จะแสดงหน้าต่าง Properties แสดงรายละเอียดต่างๆขึ้นมา ในช่อง Net Class ให้เราเลือก Net ให้ถูกต้อง เมื่อเราเปลี่ยน Connection ทุกเส้นถูกต้องตาม Net Class เรี ยบร้อยแล้ว ให้เรากลับมาที่ Board PCB คลิกเลือกที่ Edit>>Net
Classes จะปรากฏหน้าต่าง Net Classes เหมือนก ับที่เราสร้างไว้ที่หน้าต่าง Schematic เป็ นเพราะว่าการทางานของ Schematic และ Board PCB จะสัมพันธ์ก ัน
7. การเดินลายเส้น Routing เราสามารถเดินลายเส้นด้วยมือ หรื อ ใช้คาสั่ง Auto เพื่อให้โปรแกรมเดินลายเส้นให้เรา การเดินลายเส้นด้วยมือ ให้เราคลิกที่ Route เลือก Layers และคลิกที่ขาอุปกรณ์และลากลายเส้นตาม Connection เราสามารถที่จะเลือกการหักมุมในการเดินลายเส้นเพื่อความ
สวยงามได้ ถ้าหากว่าต้องการลบลายเส้นให้คลิกที่ Ripup และคลิกที่เส้นที่ตอ้ งการลบเส้นนั้นก็จะหายไป
การเดินลายเส้นแบบ Auto ให้คลิกที่ Auto จะแสดงหน้าต่าง Autorouter Setup ที่ช่อง Routing Grid ให้เราใส่ ค่า Grid เพื่อความสวยงามในการเดินลายเส้น คลิก OK โปรแกรมก็จะทาการเดินลายเส้นให้เราจนครบทุก Connection ถ้าหากไม่สามารถเดินลายเส้นจนครบทุก
Connection ได้ ให้ลดขนาดของกริ ดลง ความสามารถของการเดินลายเส้นแบบ Auto ในโปรแกรม Eagle เหมาะก ับงานที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนักหรื อวงจรที่ไม่ซบั ซ้อนนักเนื่องจากความสามารถในการเดินลายเส้นถูกจากดั ด้วยขนาดของโปรแกรม เราจะสั งเกตเห็นได้ว่า เส้นที่เป็ น VCC หรื อ GND
จะมีขนาด 20 mil และเส้นอื่นจะมีขนาด 10 milตามขนาดใน Net Class ที่เรากาหนดไว้ หากต้องการลบลายเส้นที่เดินลายวงจรไปแล้วทั้งหมดให้เราพิมพ์คาว่า Ripup; ในช่อง Command line และ Enter โปรแกรมจะบอกว่าจะลบทั้งหมดให้คลิก YES ลายวงจรทั้งหมดก็จะถูกลบไป
เราสามารถคลิกที่ เพื่อใส่ ขอ้ ความลงบน Board ได้
8. การสร้าง Polygon Plane จะเป็ นรู ปหลายเหลี่ยมที่สร้างจากแผ่นทองแดง สามารถที่จะมีลกั ษณะโปร่ งหรื อระบายทึบก็ได้ เหมาะสาหรับนามาทาชิลด์ หรื อ กราวนด์ ขั้นตอนในการสร้าง Polygon Plane
1. ให้คลิกที่ Polygon
2. เลือก Layers ที่ตอ้ งการวาง Polygon
3. เลือกขนาดของ Witdh
4. เลือกลักษณะของ Polygon เป็ นแบบทึบ หรื อแบบ โปร่ ง
5. เลือกช่องว่าง Spacing สาหรับการเดิน Polygon
6. วาด Polygon ในพื้นที่ที่เราต้องการวางให้เป็ นพื้นที่ปิดเราจะได้เป็ นรู ปเส้นปะโปร่ งแสงขึ้นมา
7. คลิกที่ เพื่อแสดง Polygon ขึ้นมา

หากว่าเราต้องการวาง Polygon ให้ก ับ Net GND ให้พิมพ์ Polygon GND ในช่อง Command line และ Enter จากนั้นก็วาด Polygon ได้เลย เราจะสังเกตเห็นได้ว่า Net GND จะถูกจับเข้าก ับ Polygon
การสร้าง Logo บน PCB ด้วยโปรแกรมEagle 4.1
All Articles >> PCBs Designed >> - การสร้าง Logo บน PCB ด้วยโปรแกรมEagle 4.1
การสร้ าง Logo บน PCB ด้วยโปรแกรมEagle 4.1
โปรแกรมEagle มีฟังก์ชนั ที่ช่วยนาภาพ ที่เป็ น นามสกุ ล .BMP เข้ามาใน PCB Editor ในบทความนี้จะเป็ นกรนาไฟล์ภาพ มาทาเป็ น Logo บน PCB ครับ ซึ่งความพิเศษของ Function นี้คือสามารถเลือกสีได้ 256 สีเพือ่ Import เข้า และให้ความละอียดในการสร้ างสู ง มาเริ่มกันเลยครับ

เปิ ดโปรแกรม Eagle ขึ้นมา แล้วเปิ ดไฟล์ที่ต้องการ Import ไฟล์ภาพขึ้นมา


ในหน้าของ PCB ให้เลือก คลิกที่ ULP เปิ ด Function การ Import ภาพ bmp ครับ
คุ ณสมบัติ ของภาพ BMP จะต้องเป็ นแบบ 256 สีครับ ไม่เนนัน้ จะไม่สามารถ Import เข้ามาได้ครับ ให้ใช้โปรแกรมแต่งภาพแล้ว Save เป็ น 256 สีครับ โปรแกรมสามัญที่ใช้สาหรับ ระบบ Windows ทัว่ ๆไปก็ใช้ Paint ได้ครับเปิ ดไฟล์ภาพขึ้นมาแล้วเลือก save เป็ น bmp(256) ครับ
เมือ่ RUN ULP แล้วจะปรากฎหน้าต่างให้เลือกไฟล์ ให้เลือก imort-bmp.ulp
จากนันโปรแกรมจะให้
้ เลือกไฟล์ถาพที่ต้องการ Import ครับ

โรแกรมจะโชว์ สีที่ต้องการ Scan ในภาพเพือ่ ใช้สร้ างครับ เลือกคลิกที่ scan used colors ครับ
โปรแกรมจะแสกนสีที่ประกอบอยู ่ในถาพครับ สีไหนที่เราไม่ต้องการในการใช้สร้ าง ให้เลือกเครื่องหมายถู กออกครับ

เมือ่ เลือกสีที่ต้องการเรียบร้ อยแล้ว จะปรากฎหน้าต่างเพือ่ ให้ตงั้ ค่าของภาพที่ scan ใน Block ของ Scale factor for a pixel ให้เลือกเป็ น จเป็ นตัวกาหนดขนาดของลายเส้นทีใ่ ช้สร้ างครับ ใช้เป็ น 1 ก็ได้ตได้ไฟล์ที่มคี วามละเอียดสู งแต่ก็มขี นาดไฟล์ใหญ่ข้นึ ด้วย จากตัวอย่างจะเลือกขนาด =10 น่าจะเหมาะสมสหรับการผลิตจริงมากว่า
ครับ คุ ณภาพของภาพยังคงสมบู รณ์และไฟล์ก็มขี นาดไม่ใหญ่มากด้วครับ
เลือก Preview ภาพที่ show Bitmap
้ อก OK โปรแกรมจะทาการสร้ าง Script ไฟล์ข้นึ มาจากภาพที่ Scan ให้เลือก Run Script
จากนันเลื
เรียบร้ อยครับสาหรับการนาไฟล์ภาพเข้ามา จะเห็นว่าภาพที่ได้บน PCB ความคมชัดสู งครับ

ตาม Default ของโปรแกรม ภาพทีถ่ ู ก Import เข้ามาจะอยู ่ที่ Layer #200 ขึ้นไปครับ
ขยายภาพเพือ่ ดู ความละเอียดของ Pixel ที่นามาใช้สร้ าง PCB

้ ทาการ Move Logo ที่เราสร้ างขึ้นไปอยู ่ในตาแหน่งทีต่ ้องการครับ ในการ Export เพือ่ สร้ างร่ วมกับ Gerber ให้ทาการ Add Layer ที่ 200… ที่เป็ น Logo เข้าไปด้วยไฟล์ Gerber ที่ออกมา Logo ที
จากนันเราก็
เราสร้ างขึ้นด้วยครับ หรือ สร้ าง Library ก็ได้ครับ สาหรับผู ท้ ี่ต้องการนาไปใช้กบั Program อืน่ ๆ สามารถ Export ไฟล์จาก Eagle เป็ น Gerber แล้ว ใช้โปรแกรมอืน่ ๆทีส่ ามารถ Import Gerber ได้ Import เข้ามาใช้ได้เช่นกันครับ

You might also like