You are on page 1of 32

บทที่ 6

การออกแบบวงจรไฟฟาควบคุมระบบนิวแมติกส

บทนี้จะกลาวถึงการออกแบบวงจรไฟฟาควบคุมระบบนิวแมติกส จากรูปที่ 6.1 (ก) แสดง


วงจรนิวแมติกสที่ประกอบดวยกระบอกสูบสองทางและวาลวควบคุมทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยไฟฟาและ
จากรูปที่ 6.1 (ข) เรียกวา “วงจรไฟฟาควบคุม(current flow diagram)” ที่มีลักษณะการเขียนวงจร
ตามแนวตัง้ สวนการเขียนวงจรตามแนวนอนดังรูปที่ 6.1 (ค) เรียกวา “เลดเดอรไดอะแกรม (Ladder
diagram)” ซึ่งทั้งสองรูปแบบนี้มีความหมายเหมือนกัน แตวิธกี ารเขียนแบบหลังนัน้ นิยมใชในการ
ออกแบบระบบที่ควบคุมดวย PLC (Programmable Logic Control) ซึ่งจะกลาวในบทตอไป

(ก) วงจรนิวแมติกส (ข) วงจรซีเควนซ (ค) เลดเดอรไดอะแกรม


รูปที่ 6.1 แสดงการใชวงจรไฟฟาในการควบคุมอุปกรณนิวแมติกส

6.1 การออกแบบวงจรไฟฟาควบคุมพืน้ ฐาน


วงจรไฟฟาที่ใชในการควบคุมนั้นประกอบดวยสวิทซไฟฟาที่ตอกันในรูปแบบอนุกรมและ
ขนานมาผสมกัน เพื่อสรางเงื่อนไขในการควบคุมแบบตรรกะ ( And Or และ Not , Logic Condition)
ดังแสดงในรูปที่ 6.2 ถึง 6.6

รูปที่ 6.2 แสดงรูปแบบวงจรไฟฟาแบบอนุกรมที่ไดผลลัพธแบบเงื่อนไขและ (AND condition)

136
รูปที่ 6.3 แสดงรูปแบบวงจรไฟฟาแบบขนานที่ไดผลลัพธแบบเงื่อนไขหรือ (OR condition)

รูปที่ 6.4 แสดงรูปแบบวงจรไฟฟาที่ไดผลลัพธแบบเงื่อนไขปฏิเสธ (NOT condition)

รูปที่ 6.5 แสดงผลลัพธแบบเงื่อนไข NAND =>combining AND and NOT

รูปที่ 6.6 แสดงผลลัพธแบบเงื่อนไข NOR => combining OR and NOT

A combination system is switching system whose output at any moment is


determined exclusively by the values of the inputs. A logic control system has no memory
and does not consider any previous values of input signals in determining the output signal.

137
6.2 อุปกรณที่ใชในวงจรไฟฟาควบคุม
สวิทซไฟฟาเปนอุปกรณที่มหี นาสัมผัสภายในสําหรับควบคุมการจายกระแสไฟฟาใหกับ
อุปกรณไฟฟา ถาหนาสัมผัสเปด หมายถึง หนาสัมผัสไมสัมผัสกันกระแสไฟฟาไมสามารถไหลผานได
และหนาสัมผัสปด หมายถึง หนาสัมผัสมีกระแสไฟฟาไหลผานได โดยมีชุดควบคุมหนาสัมผัสใหเปด
และปดดวยกลไกลหรือกระแสไฟฟา การเลือกใชงานจําเปนตองคํานึงความทนกระแสและวิธีควบคุม
ที่เหมาะสมกับการใชงาน ซึง่ มีทงั้ หนาสัมผัสสองทาง หรือหนาสัมผัสสามทางดังรูปที่ 6.7 ถึง 6.10

รูปที่ 6.7 แสดงสัญลักษณพนื้ ฐานของสวิตซ

รูปที่ 6.8 แสดงสวิทซไฟฟาแบบกดติดปลอยดับชนิดหนาสัมผัสสองทางและหนาสัมผัสสามทาง

138
139
140
รูปที่ 6.9 แสดงตัวอยางสวิทซไฟฟาที่มีรูปแบบการควบคุมดวยวิธีตาง ๆ

รูปที่ 6.10 แสดงตัวอยางสวิทซไฟฟาสามเฟส

¾ ลิมิตสวิตซ (Limit switch)


เปนสวิตซไฟฟาที่ใชในการตรวจจับตําแหนงของการเคลื่อนที่ของชิน้ งานหรือชิน้ สวนของ
เครื่องจักร การเปดและปดหนาสัมผัสภายในอาศัยแรงกดของวัตถุตรวจจับกดทับลูกกลิ้ง ดังรูปที่ 6.11

141
รูปที่ 6.11 แสดงลิมิตสวิทซที่ทาํ งานจากการชนที่ปลายลูกกลิ้ง นิยมใชในการตรวจจับตําแหนง

142
6.2.1 สวิทซที่ทํางานแบบไมสัมผัสในวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม
สวิทซชนิดนี้จะเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีความซับซอน มีหลายรูปแบบดังนี้
¾ พรอกซิมิตีสวิตซ (Proximity switch)
เปนสวิตซที่สามารถตรวจจับวัตถุที่เขามาใกล โดยไมจําเปนตองสัมผัส มีหลายชนิด เชน ชนิด
เหนีย่ วนํา (Inductive sensor) ชนิดตัวเก็บประจุ (capacitive sensor) และชนิดรีดสวิตซ โดยทุกชนิด
ที่กลาวมาจะมีรูปรางลักษณะคลายกัน ไมสามารถยกแยะดวยสายตาได ดังแสดงในรูปที่ 6.12 โดยมี
ขนาดใหญหรือเล็ก ขึ้นกับชนิดวัตถุและระยะหางที่สามารถตรวจจับได ดังอธิบายในตารางที่ 6.1

(ก) รูปรางของพรอกซิมิตีสวิตซชนิดเหนี่ยวนําและชนิดตัวเก็บประจุ ทีม่ ีลักษณะคลายกัน

143
(ข) รูปรางของพรอกซิมิตีสวิตซชนิดรีดสวิตซในการตรวจจับตําแหนงของกานสูบที่มีแมเหล็กอยูภายใน

รูปที่ 6.12 แสดงรูปรางของพรอกซิมิตีสวิตซแบบตาง ๆ

ตารางที่ 6.1 แสดงลักษณะการใชงานของแตละชนิดของพรอกซิมิตีสวิตซ


ชนิดของพรอกซิมิตีสวิตซ วัสดุที่ตรวจจับได
ชนิดเหนี่ยวนํา (Inductive sensor) โลหะ เชน เหล็ก สเตนเลส ทองเหลือง อะลูมิเนียม
ตัวเก็บประจุ (capacitive sensor) ไม พลาสติก น้ํา และโลหะ
ชนิดรีดสวิตซ (lead sensor) โลหะแมเหล็ก

¾ โฟโตสวิตซ (Photo switch)


เปนสวิตซตรวจจับที่อาศัยหลักการตรวจจับการเปลี่ยนแปลงสัญญาณแสง แสงที่นยิ มใชไดแก
แสงอินฟราเรด (infrared) หรือแสงสีแดง สีเขียน เปนตน โดยมีสว นประกอบ 3 สวน ไดแก ตัวปลอย
แสง ตัวรับแสง และสวนทีเ่ ปนวงจรขยายและหนาสัมผัส มีหลักการทํางาน คือ ตัวรับแสงจะถูกฉาย
แสงจากตัวปลอยแสงตลอดเวลา เมื่อมีวตั ถุมากัน้ ทางเดินแสง ทําใหตัวรับแสงไดรับแสงนอยลงจะ
สงผลใหเกิดการบังคับหนาสัมผัสใหทาํ งาน ดังรูป 6.13 โดยการใชงานยังแบงอีก 3 ชนิด ไดแก ชนิดตัว
ปลอยและตัวรับแสงรวมกัน ดังรูปที่ 6.13 (ก) (ข) ชนิดตัวปลอยและตัวรับแสงแยกกันดังรูปที่ 6.13 (ค)
ขอดีของโฟโตสวิตซ คือ ไมตอ งสัมผัสชิ้นงานตรวจสอบและมีระยะตรวจจับไดไกลในระดับเมตร

144
(ก) การใชตัวสะทอนชวยในการสงผานระหวางตัวรับและตัวปลอยแสง

(ข) การใชชิ้นงานที่ผิวสะทอนแสงไดเปนตัวสะทอนแสงกลับ

(ค) ชนิดตัวปลอยและตัวรับแสงแยกกัน

รูปที่ 6.13 แสดงการทํางานโฟโตสวิตซแบบตาง ๆ

จากรูปที่ 6.8 ถึง 6.13 แสดงสวิตซไฟฟารูปแบบตาง ๆ ที่นยิ มใชในอุตสาหกรรม การเขียน


สัญลักษณสวิทซไฟฟาในวงจรไฟฟาแสดงดวยลักษณะการทํางานของหนาสัมผัส(ปด/เปด) ยังแสดง
สัญลักษณของการสัง่ งานของสวิตซดังแสดงในรูปที่ 6.14

145
(ก) สวิทซปุมกด : ใชมือกดหนาสัมผัสมีสปริงดันกลับ

(ข) สวิทซโยก : ใชมือโยกดันโยกมีล็อคหนาสัมผัส

(ค) สวิทซตัดตอน : ใชลมหรือน้ํามันเปดปดหนาสัมผัส

(ง) ตัวตั้งเวลา : ใชหนวงเวลาทํางานหนาสัมผัสแบบปกติเปด และแบปกปด

รูปที่ 6.14 แสดงตัวอยางสัญลักษณของสวิทซในรูปแบบตาง ๆ

¾ วงจรไฟฟาควบคุมแบบซีเควนซ (Sequential control)


หมายถึงการควบคุมอุปกรณไฟฟาใหมีการทํางานตามลําดับที่แนนอนดวยวงจรสวิทซไฟฟา
โดยมีเหตุการณในการทํางานกอนหลังทีถ่ กู กําหนดดวยเงื่อนไขที่แนนอน หรืออาจเกิดขึ้นทันทีหรืออาจ
เวนชวงเวลาหนึ่งหลังจากงานที่ดาํ เนินอยูจ บลง ซึง่ เปนผลจากทํางานของงานลําดับที่ผานมา แสดง
ตัวอยางวงจรและอุปกรณดังรูปที่ 6.15

รูปที่ 6.15 แสดงวงจรไฟฟาควบคุมแบบซีเควนซ

146
6.2.2 โซลีนอยด Solenoid
เปนอุปกรณทเี่ ปลี่ยนพลังงานไฟฟาใหเกิดงานเชิงกล โดยภายในประกอบดวย
ขดลวดตัวนําไฟฟาขดกันเปนเกีย้ วและมีแกนเหล็กอยูภายในขดลวดที่ปลายยึดดวยสปริงดังรูปที่ 6.16
โดยมีหลักการทํางานดังนี้ คือ เมื่อมีการจายกระแสไฟฟาใหกบั ขดลวดจะเกิดการเหนี่ยวนํากระแส
เหล็กขึ้นภายในใจกลางขดลวดทําใหเกิดสภาพแมเหล็กไฟฟาแบบไมถาวรขึ้น สงผลใหแกนเหล็ก
ภายในขดลวดถูกดูดใหเคลือ่ นที่ เมื่อตัดกระแสไฟฟาที่จายใหขดลวดตัวนํา สภาพแมเหล็กไฟฟาหมด
ไปและแกนเหล็กจะเคลื่อนทีก่ ลับดวยแรงดึงจากสปริง

รูปที่ 6.16 แสดงสัญลักษณและหลักการทํางานภายในโซลีนอยด

147
โซลีนอยด (Solenoid) เปนอุปกรณที่ใชแรงแมเหล็กไฟฟาในการดูดหรือดันแกนเหล็กให
เคลื่อนทีห่ รือดัน (plunger) เพื่อใชในการเปดปดวาลวลมหรือหนาสัมผัส ชุดหนาสัมผัสที่ควบคุมการ
เปดและปด ดวยโซลีนอยดจะเรียกวา รีเลย (Relay) และวาลวลมที่ควบคุมการเปดและปดดวย
โซลีนอยดจะเรียกวา โซลีนอยดวาลว แสดงดังรูปที่ 6.17 และ 6.18 ตัวอยางการใชโซลีนอยดวาลวใน
การควบคุมกระบอกสูบแสดงดังรูปที่ 6.19

148
รูปที่ 6.17 แสดงสวนประกอบภายในวาลวควบคุมทิศทาง 3/2 ควบคุมดวยโซลีนอยดและสปริง

รูปที่ 6.18 แสดงสวนประกอบภายในวาลวควบคุมทิศทาง 5/2 ควบคุมปดเปดดวยโซลีนอยด

รูปที่ 6.19 ตัวอยางการใชรีเลยควบคุมโซลีนอยดวาลวในวงจรนิวแมติกสควบคุมกระบอกสูบทางเดียว

149
6.2.3 รีเลย Relay
เปนอุปกรณทปี่ ระกอบดวยชุดหนาสัมผัสและโซลีนอยดภายในดังแสดงในรูปที่ 6.20 เมื่อจาย
กระไฟฟาใหกบั ขดลวดภายในโซลีนอยดจะเกิดกระแสแมเหล็กไฟฟาไมถาวรเกิดขึ้นและเกิดแรงดึงดูด
ใหกระเดื่อง (Armature) เคลื่อนที่ สงผลใหหนาสัมผัสสัมผัสปดเกิดการครบวงจร โดยชุดหนาสัมผัส
และโซลีนอยดจะไมมีการสัมผัสกัน รีเลยที่นยิ มใชในงานอุตสาหกรรมมีทงั้ ชนิดหนาสัมผัส 2 ชุดและ
4 ชุด โดยแตละชุดใชงานแยกกันอิสระ แตมีจังหวะเปดหรือปดพรอมกันทําใหสามารถควบคุม
เครื่องจักรหลายเครื่องใหทาํ งานพรอมกันในจังหวะเดียวกันได ในการควบคุมอุปกรณที่การกินกระแส
แตกตางกันนัน้ จะใชวงจรสวิทซไฟฟาควบคุมกินกระแสไฟฟาต่ํา(12V/24V)สั่งงานรีเลยในการจาย
กระแสไฟฟาใหอุปกรณทกี่ ินกระแสไฟฟาสูง(220V/ไฟฟา 3 เฟส) ซึ่งมีขอดีดังนี้ คือ วงจรสวิทซ
ควบคุมและวงจรหนาสัมผัสที่ควบคุมอุปกรณที่กนิ กระแสสูงจะแยกกัน เมื่อเกิดความเสียของวงจรใด
วงจรหนึง่ จะไมเกิดความเสียหายทัง้ หมด การใชวงจรสวิทซควบคุมที่กนิ กระแสไฟฟาต่าํ เพื่อใหเกิด
ความปลอดภัยกับผูปฏิบัติงาน การเลือกใชงานนั้นตองพิจารณาถึงความทนกระแสที่หนาสัมผัสรับได
สูงสุด ลักษณะการใชงานแบบปกติเปดหรือปดซึ่งมีใหเลือกทั้งแบบหนาสัมผัสสองทางและสามทาง

(ก) รีเลยหนาสัมผัสสองทาง ที่มที ั้งหนาสัมผัสแบบปกติเปด และปกติปด

150
(ข) รีเลยหนาสัมผัสสามทาง ทุกหนาสัมผัสสามารถเลือกการใชไดทงั้ แบบปกติหรือปกติเปดไดอิสระ

151
(ข) รูปของรีเลยอุตสาหกรรมชนิดหนาสัมผัส 3 ทางจํานวน 2 ชุด

รูปที่ 6.20 แสดงสวนประกอบและการทํางานภายในรีเลย ชนิดหนาสัมผัสสองทางและสามทาง

รูปที่ 6.21 แสดงตัวอยางการตอวงจรไฟฟาที่ใชรีเลย

จากรูปที่ 6.21 แสดงรีเลยแบบหนาสัมผัสสองทาง โดยหนาสัมผัส R-a เปนแบบปกติเปด


และ R-b เปนแบบปกติปด เมื่อจายกระแสไฟฟาใหขดลวดรีเลยจะเกิดการเหนี่ยวนํากระแสไฟฟาภาย
ทําใหหนาสัมผัส R-a ซึ่งปกติเปดเปลี่ยนสถานะทํางานเปนปด และหนาสัมผัส R-b ซึ่งปกติปดเปลี่ยน
สถานะการทํางานเปนเปด พรอมกัน เมื่อตัดกระแสไฟฟาที่จายใหรีเลย หนาสัมผัสทั้งสองก็จะกลับเปน
สถานะปกติพรอมกัน โดยแสดงการนํารีเลยในการควบคุมการปดเปดหลอดไฟดังรูปที่ 6.22

152
(ก) หนาสัมผัสอยูในสถานะปกติ (ข) หนาสัมผัสอยูใ นสถานะทํางาน

รูปที่ 6.22 แสดงวงจรไฟฟาที่ใชรีเลยในการควบคุมหลอดไฟ

รูปที่ 6.23 แสดงการตอสายไฟฟาในวงจรที่ใชรีเลยในการควบคุมหลอดไฟ

จากรูปที่ 6.23 แสดงภาพการตอเชื่อมสายของอุปกรณรีเลย สวิทซไฟฟาและหลอดไฟ จาก


วงจรควบคุมการปดเปดและหลอดไฟรูปที่ 6.22 โดยมีการทํางานดังนี้ คือ เมื่อกดปุม Bs คางไวจะทํา
ใหรีเลยมีกระแสไหลผานครบวงจรทําใหหนาสัมผัส R-a ซึ่งเปนหนาสัมผัสแบบปกติเปดเปลี่ยนเปนปด
กระแสไฟฟาสามารถไหลผานหลอดไฟเกิดการครบวงจรและสวางขึ้น เมื่อปลอยการกดปุม Bs จะเกิด
การตัดกระแสไฟฟาที่จา ยใหกับรีเลยทาํ ใหหนาสัมผัส R-a กับเปนปกติเปด หลอดไฟดับ

153
ก) รีเลยไมครบวงจร ข) รีเลยครบวงจร

รูปที่ 6.24 แสดงวงจรไฟฟาที่ใชรีเลยในการควบคุมหลอดไฟสองดวงติดดับสลับกัน

จากรูปที่ 6.24 แสดงวงจรควบคุมการทํางานหลอดไฟสองดวงติดดับสลับกัน โดยในรีเลยแบบ


หนาสัมผัสสามทางที่มีหนาสัมผัส 2 คู ซึ่งมีหลักการทํางานเชนเดียวกับวงจรรูปที่ 6.22 โดยมีรูปแบบ
การตอสายอุปกรณตาง ๆ ดังรูปที่ 6.25

รูปที่ 6.25 แสดงการตอสายไฟฟาในวงจรควบคุมหลอดไฟสองดวงติดดับสลับกัน

จากวงจรไฟฟาควบคุมในรูป 6.26 เมื่อมีการกดปุม BS เกิดการหนวงเวลาเล็กนอยจากการ


ทํางานของหนาสัมผัสกอนทีข่ ดลวดรีเลยครบวงจรและเกิดการหนวงเวลาเล็กนอยจึงเกิดแรงดึงดูดเพียง
พอใหหนาสัมผัส a เปลี่ยนสถานะ และเชนเดียวกันเมือ่ หลอดไฟ RL ครบวงจรก็เกิดการหนวงเวลาอีก
เล็กนอยจึงสวาง ซึง่ แสดงความสัมพันธของเวลาหนวงของการทํางานของอุปกรณทุกตัวดวยแผนภาพ

154
เวลาทํางานของอุปกรณดังรูปที่ 6.26 ดังนัน้ การใชงานรีเลยควบคุมอุปกรณที่มีความเร็วในการทํางาน
สูงนัน้ ตองคํานึ่งถึงความเร็วในการเปลี่ยนของหนาสัมผัสวาสามารถตอบสนองการควบคุมไดหรือไม

รูปที่ 6.26 แผนภาพเวลาทํางานของอุปกรณ ที่มีการหนวงของเวลาทํางาน

6.2.4 ตัวตั้งเวลา Timer


เปนอุปกรณทปี่ ระกอบดวยหนาสัมผัสและชุดตั้งเวลา มีลักษณะการใชงานเชนเดียวกับรีเลย
แตกตางทีห่ นาสัมผัสมีการทํางานตามชวงเวลาที่สามารถกําหนดได ชุดตั้งเวลาควบคุมมีทงั้ แบบลานไข
และอิเล็กทรอนิกส ดังแสดงในรูปที่ 6.27 และแสดงตัวอยางการใชในวงจรควบคุมดังรูปที่ 6.28

155
รูปที่ 6.27 แสดงสัญญาณลักษณและตัวอยางตัวตั้งเวลา Timer

รูปที่ 6.28 แสดงวงจรไฟฟาควบคุมที่ใช Timer และ Counter ในการทํางาน

นอกจากที่กลาวมาแลวยังอุปกรณไฟฟาอืน่ ๆ อีกซึง่ สามารถหาความรูเพิ่มเติมจากหนังสือ


ไฟฟาพื้นฐานและไฟฟาอุตสาหกรรม แสดงตัวอยางสัญลักษณอื่น ดังรูปที่ 6.29

156
รูปที่ 6.29 รูปสัญลักษณอื่น ๆ ของอุปกรณไฟฟา

6.3 การออกวงจรรีเลยควบคุมพื้นฐาน

6.3.1 วงจรรีเลยติดคาง (Self-locking circuit)


เปนวงจรที่ใชในการควบคุมการทํางาน โดยแยกปุมสําหรับเปด และปดแยกจากกัน โดยใช
หนาสัมผัสรีเลยเปนสวิทซจายกระแสไฟใหกับรีเลยเพื่อใหเกิดการติดคางดังรูปที่ 6.30

รูปที่ 6.30 แสดงวงจรรีเลยตดิ คาง

157
รูปที่ 6.31 แสดงการตอสายอุปกรณดังวงจรรูปที่ 6.28

จากรูปที่ 6.30 เมื่อกดปุม Start รีเลย X ครบวงจร สงผลใหหนาสัมผัส 11-14 ปด เมือ่
หยุดกดปุม Start รีเลยยังคงครบวงจร เนื่องจากกระไฟฟายังสามารถไหลผานหนาสัมผัส 11-14 ทําให
รีเลยยังคงครบวงจรอยู สงผลใหเกิดสถานะการทํางานคาง สถานะนี้จะถูกยกเลิกก็ตอเมื่อปุม Stop
ถูกกดจะสงผลใหรีเลยไมครบวงจร หนาสัมผัส 11-14 เปด สถานะการทํางานคางก็จะหมดไป แสดง
การตอสายอุปกรณตาง ๆ ดังรูปที่ 6.31

6.3.2 วงจรรีเลยปองกันทํางานแทรกสอด (Interlock circuit)


วงจรที่ใชรีเลยสองตัวในการควบคุมอุปกรณหรือเครื่องจักรสองตัวไมใหเกิดการทํา
งานพรอมกัน โดยสามารถทํางานไดครั้งละหนึ่งเครื่อง

รูปที่ 6.32 แสดงวงจรรีเลยอินเตอรล็อค

158
จากรูปที่ 6.32 ในขณะทีเ่ กิดการกดปุม ST-X คางจะสงผลผานรีเลย X ครบวงจรทําให
หนาสัมผัสปกติปด X-b เปดออก ถากดปุม ST-Y ในขณะที่ปุม ST-X ถูกกดอยู รีเลย Y จะไมครบวงจร
จนกวาปุม ST-X จะถูกปลอยการกดกอน จึงสามารถกดปุม ST-Y แลวทําใหใหรีเลย Y ครบวงจรได
แสดงการตอสายอุปกรณ ตาง ๆ ดังรูปที่ 6.33

รูปที่ 6.33 แสดงการตอสายไฟฟาในวงจรรีเลยอินเตอรล็อค

6.3.3 วงจรไฟฟาควบคุมนิวแมติกสพนื้ ฐาน


การควบคุมการทํางานของอุปกรณนิวแมติกสดวยวงจรไฟฟาเปนที่นยิ มใชงานมาก
กวาการควบคุมดวยวงจรนิวแมติกสดวยวาลวลม เนื่องจากมีราคาถูกกวาเปนงายตอการซอมและ
ปรับเปลี่ยนการทํางาน การทํางานจะประกอบดวยวงจรนิวแมติกสและวงจรไฟฟาควบคุมดังรูปที่ 6.34
ซึ่งยังสามารถออกแบบการควบคุมไดทั้งแบบทางตรงและทางออม แสดงตัวอยางดังรูปที่ 6.34 ถึง 6.38

(ก)วงจรนิวแมติกสควบคุม (ข) วงจรไฟฟาควบคุมทางตรง (ค)วงจรไฟฟาควบคุมทางออม


รูปที่ 6.34 ตัวอยางการใชรีเลยในการควบคุมกระบอกสูบทางเดียว

159
(ก)วงจรนิวแมติกสควบคุม (ข) วงจรไฟฟาควบคุมโดยตรง (ค)วงจรไฟฟาควบคุมโดยออม

รูปที่ 6.35 ตัวอยางการใชรีเลยในการควบคุมกระบอกสูบสองทางเดียว

(ก)วงจรนิวแมติกสควบคุม (ข) วงจรไฟฟาควบคุม


รูปที่ 6.36 ตัวอยางการใชรีเลยในการควบคุมกระบอกสูบสองทางเดียวดวยวงจร self locking

(ก)วงจรนิวแมติกสควบคุม (ข) วงจรไฟฟาควบคุม


รูปที่ 6.37 ตัวอยางการใชรีเลยในการควบคุมกระบอกสูบแบบมีเงื่อนไข

160
(ก) วงจรนิวแมติกส (ข) วงจรไฟฟาควบคุม
รูปที่ 6.38 ตัวอยางการใชรีเลยในการควบคุมกระบอกสูบแบบกึ่งอัตโนมัติ

161
6.3.4 วงจรเลดเดอรไดอะแกรม Ladder Logic Diagrams
นอกจากการเขียนวงจรสวิทซไฟฟาในลักษณะแนวตัง้ ดังทีก่ ลาวมาแลวนัน้ ยังนิยมเขียนแทน
วงจรสวิทซไฟฟาในลักษณะแนวนอนที่เรียกวา “เลดเดอรไดอะแกรม” ซึ่งมีความหมายไดเชนเดียวกัน
ดังแสดงการเปรียบเทียบการเขียนวงจรทัง้ สองแบบใหทาํ งานแบบติดคางดังรูปที่ 6.39 แสดงความ
หมายของสัญลักษณดังตารางที่ 6.1

รูปที่ 6.39 แสดงตัวอยางวงจร self locking

รูปที่ 6.40 แสดงรูปแบบการเขียนเลดเดอรไดอะแกรมแบบมีเงื่อนไข AND OR และ NOT

ตารางที่ 6.1 ตารางแสดงสัญลักษณในการเขียนเลดเดอรไดอะแกรมและความหมาย

สัญลักษณ อุปกรณ
หนาสัมผัสปกติเปด Normally Open Contacts
Switch , relay , other ON/OFF devices
หนาสัมผัสปกติปด Normally Closed contacts
Switch , relay , etc
อุปกรณกําลัง Output loads
Motor , lamp , solenoid , alarm , etc.
ตัวตั้งเวลา Timer
ตัวนับ Counter

162
จากรูปที่ 6.41 6.42 และ 6.43 แสดงวงจรควบคุมกระบอกสูบดวยวิธกี ารเขียนวงจรไฟฟาทั้ง
สองรูปแบบ

รูปที่ 6.41 เปรียบเทียบการเขียนวงจรไฟฟาและวงจรเลดเดอรในการควบคุมกระบอกสูบ

รูปที่ 6.42 เปรียบเทียบวงจรไฟฟาและวงจรเลดเดอรไดอะแกรมในการควบคุมกระบอกสูบสองทาง

163
รูปที่ 6.43 เปรียบเทียบวงจรไฟฟาและวงจรเลดเดอรในการควบคุมแบบ self locking

6.4 การเปรียบวงจรนิวแมติกสเปนวงจรไฟฟาควบคุมนิวแมติกส
การออกแบบวงจรไฟฟาควบคุมนิวแมติกสนั้นมีคา ใชจา ยในการสรางและบํารุงรักษาทีน่ อย
กวาการใชวงจรควบคุมดวยวาลวลมอยางมาก การเปลีย่ นวงจรนิวแมติกสที่ควบคุมดวยระบบลมดังรูป
6.44 เปนวงจรไฟฟาควบคุมมีขั้นตอนดังนี้

ก) แผนภาพสัญญาณควบคุม ข) วงจรนิวแมติกสที่ควบคุมกระบอกสูบ

รูปที่ 6.44 ตัวอยางวงจรนิวแมติกสระบบลมกอนการเปลี่ยนเปนวงจรไฟฟาควบคุม

164
6.4.1 เปลีย่ นวาลวควบคุมทิศทางที่ควบคุมกระบอกสูบ
จากเดิมที่สั่งงานดวยระบบลมใหเปนสั่งงานดวยโซลินอยดดังแสดงในรูปที่ 6.45

(ก) วาลวควบคุมทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยลมอัด (ข) วาลวควบคุมทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยโซลีนอยด


รูปที่ 6.45 เปรียบเทียบวงจรนิวแมติกสควบคุมดวยระบบลมกับควบคุมดวยวงจรไฟฟา

6.4.2 เปลี่ยนวาลวลมควบคุมเปนใหสวิทชไฟฟา
แสดงการเปลีย่ นวาลวลมควบคุม 3/2 เปนสวิทซไฟฟาดังแสดงในตารางที่ 6.2
ตารางที่ 6.2 ตารางเทียบการเปลี่ยนวาลวลมเปนสวิทซไฟฟา

อุปกรณระบบลม อุปกรณระบบไฟฟา

165
6.4.3 ยกเลิกการใชวาลวลมคูและวาลวลมกันกลับสอง
โดยการตอวงจรสวิทซไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนานในการสรางเงือ่ นไขแทนดัง
แสดงในรูปที่ 6.46 ตามลําดับ

(ก) วาลวลมคู ( And ) เปลี่ยนเปนการตอสวิทซแบบอนุกรม

(ข) วาลวลมกันกลับสองทาง ( Or ) เปลี่ยนเปนการตอสวิทซแบบขนาน


รูปที่ 6.46 แสดงการตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนานทีท่ ดแทนการใชวาลวลม And และ OR

6.4.4 สรางวงจรเลดเดอรไดอะแกรมจากสัญญาณควบคุม
จากสัญญาณควบคุมนํามาสรางวงจรไฟฟาควบคุมหรือวงจรเลดเดอรไดอะแกรมดัง
แสดงในรูปที่ 6.47 และแสดงภาพรวมของการออกแบบวงจรไฟฟาควบคุมนิวแมติกสดังรูปที่ 6.48

ก) การวิเคราะหสัญญาณควบคุม ณ จังหวะการทํางาน

ข) วงจรเลดเดอรไดอะแกรม
รูปที่ 6.47 แสดงการวงจรไฟฟาควบคุมจากแผนภาพวิเคราะหสัญญาณกระบอกสูบ

166
(ก) แผนภาพสัญญาณควบคุม

(ข) วงจรนิวแมติกส

(ค) วงจรไฟฟาควบคุมวงจรนิวแมติกส

รูปที่ 6.48 การเปลี่ยนวงจรควบคุมดวยวาลวลมเปนวงจรไฟฟาควบคุมวงจรนิวแมติกส

167

You might also like