You are on page 1of 38

บทที่ 5

การออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติ

ในการออกแบบระบบงานอัตโนมัตินนั้ เริ่มตนจากศึกษาถึงความตองการและปญหาในการ
ทํางานแลวนํามาวาดภาพตําแหนงอุปกรณทํางาน (Positional Sketch) เพื่อแสดงรูปแบบการทํางาน
และตําแหนงของอุปกรณที่ใชงานดังแสดงในรูปที่ 5.1 แลวจึงอธิบายขัน้ ตอนการทํางานของแตอุปกรณ
วามีลาํ ดับและจังหวะการทํางานที่สัมพันธกันอยางไร ดวยแผนภาพการทํางาน(Function diagram)
หรือแสดงดวยลําดับการทํางานอยางยอ ซึง่ จะกลาวตอไปในหัวขอที่ 5.1

รูปที่ 5.1 แสดงตัวอยางการใชกระบอกสูบในงานปม

5.1 การออกแบบการทํางานระบบอัตโนมัติ
การอธิบายการเคลื่อนที่ของกระบอกสูบหรืออุปกรณทํางานทีม่ ีความสัมพันธกับจังหวะหรือ
ชวงเวลาการทํางาน โดยมีลาํ ดับการทํางานที่แนนอน (Sequence Control) ทําได 2 วิธีดงั ตารางที่ 5.1
ตารางที่ 5.1 แสดงรูปแบบการเคลื่อนที่และลําดับงานของกระบอกสูบ

1. ลําดับการทํางานอยางยอ ( abbreviated notation ) A+ / B+ / A- / B-


2. แผนภาพการเคลื่อนที่
(Displacement-step diagram)
- เวลา และ
- ระยะชักของกานกระบอกสูบ
(Displacement-time diagram)
- จังหวะ และ
- ระยะชักของลูกสูบ

98
จากตารางที่ 5.1 การทํางานในแตละจังหวะตองเสร็จสิ้นแลวจึงจะทํางานในจังหวะถัดไป
การออกแบบการทํางานของอุปกรณนนั้ สามารถอธิบายดวยสัญลักษณขอความหรือแผนภาพที่แสดง
ตําแหนงและจังหวะการทํางานหรือชวงเวลาทํางานที่กาํ หนด

¾ การเขียนลําดับการทํางานอยางยอ ( abbreviated notation )


เปนการกําหนดรหัสใหอุปกรณหรือกระบอกสูบดวยตัวอักษรและแสดงลําดับการทํางาน โดย
การเขียนรหัสของอุปกรณทที่ ํางานและเครื่องแสดงการเคลื่อนที่ของกานสูบ โดยเครื่องหมาย (+)
หมายถึงกระบอกสูบเคลื่อนที่ออก และเครื่องหมาย ( - ) หมายถึงการเคลื่อนทีเ่ ขา เรียงลําดับการ
ทํางานกอนหลังตอเนื่องกัน แสดงตัวอยางและความหมายดังแสดงดวยตารางที่ 5.2
ตารางที่ 5.2 แสดงความหมายของลําดับเหตุการณแบบตัวอักษร (A+/B+/A-/B-)

ตําแหนงกานสูบ
ลําดับ สัญลักษณ คําสั่งควบคุม การทํางาน
กอนการสั่งงาน
เริ่มตน สัง่ ใหกระบอก
1 A+ เขาสุด A เคลื่อนออกจนสุดแลว
สูบ Aเคลื่อนทีอ่ อก (+)
สั่งใหกระบอกสูบ B
2 B+ เขาสุด B เคลื่อนออกจนสุดแลว
เคลื่อนที่ออก(+)
สั่งใหกระบอกสูบ A
3 A- ออกสุด A เคลื่อนเขาจนสุดแลว
เคลื่อนที่เขา(-)
สั่งใหกระบอกสูบ B
4 B- ออกสุด B เคลื่อนเขาจนสุดแลว
เคลื่อนที่เขา(-)

การเขียนลําดับการทํางานอยางยอนัน้ ประกอบดวยรูปแบบการทํางานหลายลักษณะ ไดแก


- การทํางานพืน้ ฐานเชิงเดียว
- การทํางานเชิงซอน
- การทํางานแบบ วัฏจักร
- การทํางานแบบโปรแกรม

99
การทํางานแบบเชิงเดียว คือ การที่อปุ กรณแตละตัวจะทํางานตามลําดับตอเนือ่ งกัน โดย
แตละอุปกรณจะทํางานครั้งละหนึ่งตัวตอหนึง่ จังหวะเดียว แสดงตัวอยางการใชงานดังแสดงในรูปที่ 5.2

รูปที่ 5.2 การเขียนลําดับการอยางยอในการอธิบายการทํางานของชุดลําเลียงชิ้นงานอัตโนมัติ

100
การทํางานแบบเชิงซอน คือ การที่อปุ กรณหลายตัวทีท่ ํางานพรอมกันในจังหวะเดียวกัน
โดยการเขียนรหัสไวในบรรทัดทัดไปในตําแหนงตรงกัน ดังแสดงตัวอยางการใชงานดังรูปที่ 5.3

รูปที่ 5.3 แสดงรหัสอยางยอในการแสดงรูปแบบการทํางานแบบเชิงซอนของชุดเคลื่อนยายชิ้นงาน

การทํางานแบบวนวัฏจักร คือ การทีอ่ ุปกรณมีจังหวะการทํางานแบบวนรอบ จํานวนรอบ


การทํางานกํากับดวยขอความ ณ จังหวะเริ่มตนถึงจังหวะสุดทายทีท่ ํางานซ้ํา แสดงดังรูปที่ 5.4

(ก) ชุดบรรจุทรงกลมใสกลองอัตโนมัติ ( 1 กลองบรรจุ 4 ชิ้นงาน)

(ข) ชุดลอกยกชิ้นงานอัตโนมัติ (จํานวนรอบไมเกิน 10 รอบ)

รูปที่ 5.4 แสดงรหัสอยางยอในการแสดงรูปแบบการทํางานวนรอบ

101
การทํางานแบบโปรแกรม คือ การทํางานที่ระบบสามารถทํางานไดมากกวาหนึง่ วิธี หรือ
หลายรูปแบบ โดยผูควบคุมสามารถเลือกโปรแกรมการทํางานได แตละโปรแกรมจะมีการกําหนดชื่อไว
อยางชัดเจน ดังแสดงตัวอยางการใชงานดังรูปที่ 5.4 (ข) และ 5.5

(ก) ชุดยกชิน้ งานชัง่ น้าํ หนักอัตโนมัติ

(ข) ชุดบรรจุสารลงกลองอัตโนมัติ

รูปที่ 5.5 แสดงรหัสอยางยอที่แสดงการทํางานแบบกําหนดโปรแกรม

102
¾ การเขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ (Displacement-step diagram or Motion diagram)
เปนการแสดงความสัมพันธระหวางตําแหนงหรือระยะทางของอุปกรณทํางาน(ชวงชักของ
กระบอกสูบ) กับจังหวะหรือเวลาในการทํางาน โดยมีลาํ ดับการทํางานตอเนื่องกันดังแสดงในรูปที่ 5.6
แกน X คือ จังหวะการทํางาน ขั้นตอนหรือเวลาในการทํางาน ตามลําดับกอนหลัง
แกน Y คือ ระยะชวงชักของกานสูบ หรือ ตําแหนงของอุปกรณที่เคลื่อนที่

รูปที่ 5.6 แสดงรูปแบบในการเขียนแผนภาพเคลื่อนทีข่ องกระบอกสูบ

กรณีแกน X แสดงจังหวะการทํางาน ใชในการออกแบบระบบงาน ที่ไมมีการ


ควบคุมเวลาการทํางานอยางเทีย่ งตรง ตัวอยางเชน งานขนยาย การประกอบชิ้นสวน งานเจาะ เปนตน
โดยแสดงความสัมพันธของตําแหนงการเคลื่อนที่และลําดับการทํางานของกานสูบ ดังรูปที่ 5.7 แสดง
ลําดับของจังหวะการทํางานดวยตัวเลขหรือชื่อขั้นตอนทีม่ ีระยะหางในแนวแกน X คงที่

รูปที่ 5.7 แสดงแผนภาพการทํางานจากรูปที่ 5.1 (Displacement-Step Diagram)

กรณีแกน X แสดงเวลาทีก่ ําหนดในการทํางาน ใชในการออกแบบทํางานทีเ่ วลา


มีผลตอผลสําเร็จงาน ตัวอยางเชน ในกระบวนการผลิตยา สารเคมี ทีต่ องควบคุมเวลาในการทํา
ปฏิกิริยาที่แนนอน เปนตน โดยแนวแกน X แสดงระยะเวลาของการทํางานที่แนนอน เพื่อแสดงใหเห็น
ความแตกตางของเวลาในการทํางานในแตละจังหวะและการเคลื่อนที่ของกานสูบอยางชัดเจนดังแสดง
ในรูปที่ 5.8 แสดงตัวอยางการใชงานดังรูปที่ 5.9

103
รูปที่ 5.8 แสดงแผนภาพการทํางานจากรูปที่ 5.1 (Displacement-time Diagram)

หมายเหตุ ปกติถามีการเขียน “( = 0)” หรือ “( = 1)” ในจังหวะสุดทายนัน้ มีความหมาย คือ เมื่อ


สิ้นสุดการทํางานในจังหวะสุดทายแลว อุปกรณและลิ้นวาลวควบคุมทุกตัวจะเคลื่อนที่กลับมาสถานะ
ปกติเหมือนในจังหวะเริ่มการทํางานเสมอ เพื่อพรอมในการทํางานครั้งตอไป

(ก) เครื่องบรรจุขวดอัตโนมัติ

รูปที่ 5.9 แสดงตัวอยางการใชงานแผนภาพการทํางานของอุปกรณ

104
(ข) เครื่องพับโลหะแผนรูปตัวซี

(ค) ชุดขนยายชิ้นงาน 3 ตําแหนง

(ง) ชุดบรรจุของเหลวใสถังอัตโนมัติ

รูปที่ 5.9 ตอ แสดงตัวอยางการใชงานแผนภาพการทํางานของอุปกรณ

105
(จ) แสดงตัวอยางการใชงานที่มกี ารกําหนดระยะการเคลื่อนที่มากกวา 2 ตําแหนง

(ฉ) แสดงตัวอยางขัน้ ตอนทีม่ ีการกําหนดจังหวะเวลาในการการทํางานที่แนนอน


รูปที่ 5.9 ตอ แสดงตัวอยางการใชงานแผนภาพการทํางานของอุปกรณ

106
5.2 การออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติ
ในการออกแบบระบบการทํางานที่ปฏิบัติงานดวยคนเปนแบบอัตโนมัตินั้น มีขั้นตอนดังนี้
1. ศึกษาระบบงานเดิม ลักษณะการทํางานและเงื่อนไขตาง ๆ ของการทํางาน
2. ออกแบบอุปกรณเคลือ่ นที่และเลือกอุปกรณกําลัง วาดภาพอุปกรณทํางาน เพื่อแสดง
หนาที่และตําแหนงตาง ๆ ของอุปกรณทที่ ํางานรวมกันดังรูปที่ 5.9 และแสดงขั้นตอนการทํางานของ
ระบบดวยแผนภาพการเคลือ่ นที่ของอุปกรณดังรูปที่ 5.10 (ก) step 1

3. การวิเคราะหหาสัญญาณควบคุม แสดงดังรูปที่ 5.10 ( ก-step 3,4,5 ) โดยสรางจาก


สัญญาณตรวจจับตําแหนงของกานสูบทีแ่ สดงดังรูปที่ 5.10 (ก) step 2
4. ออกแบบวงจรนิวแมติกสควบคุม จากแผนภาพสัญญาณควบคุม ทําการเลือกอุปกรณ
ตรวจจับและอุปกรณควบคุมที่เหมาะสมแลวเขียนวงจรการตออุปกรณ (wiring diagram) เพื่ออธิบาย
รายละเอียดในการเดินสายอุปกรณดังรูปที่ 5.6 (ข)
5. ติดตั้งอุปกรณและทดสอบการทํางาน
6. ประเมินและติดตามผลการใชงาน

(ก) แผนภาพอุปกรณทํางาน

(ข) แผนภาพการเคลื่อนที่

รูปที่ 5.10 แสดงชุดยกชิน้ งานอัตโนมัตทิ ี่ใชกระบอกสูบ 2 กระบอกในการทํางาน

107
(ก) วิเคราะหสญ
ั ญาณควบคุมแบบดวยวิธีโอเวอรเล็บ (Over Lap)

(ข) การวิเคราะหสัญญาณควบคุมดวยวิธอี ินเตอรล็อค (Inter-lock)

รูปที่ 5.11 แสดงวงจรควบคุมและวงจรการตออุปกรณในการควบคุมชุดยกชิ้นงานจากรูปที่ 5.5

108
5.2.1 การออกแบบสัญญาณควบคุมดวยวิธีแบบโอเวอรเล็บ (Signal Overlap)
หลังจากการศึกษารูปแบบการทํางานแลวนํามาสรางแผนภาพตําแหนงอุปกรณทาํ งานและ
แผนภาพการเคลื่อนที่ดังแสดงในรูปที่ 5.12 จากนั้นนํามาเขียนสัญญาณสั่งงานที่แทนดวยลูกศร โดย
หางลูกศรหมายถึง อุปกรณที่สั่งงาน ตัวอยางเชน สวิทซของวาลวควบคุมชนิดตาง ๆ และหัวลูกศรชี้ไป
ยังตําแหนงเริม่ ตนของอุปกรณที่ถูกสัง่ งาน ดังแสดงในรูปที่ 5.13 นําความสัมพันธในการสัง่ งานของ
ลูกศรแตละอันมาสรางวงจรนิวแมติกสดงั รูปที่ 5.14 โดยมีรายละเอียดดังจะกลาวตอไป

รูปที่ 5.12 แสดงแผนภาพการทํางานและแผนภาพการเคลื่อนทีท่ ี่สัมพันธกนั

รูปที่ 5.13 การวิเคราะหสัญญาณควบคุมดวยวิธโี อเวอรเล็บ

รูปที่ 5.14 แสดงวงจรนิวแมติกสที่มาจากการวิเคราะหรปู ที่ 5.13

109
¾ การเขียนสัญญาณสั่งงานดวยลูกศร
จุดเริ่มตนของหางลูกศรเปนแหลงกําเนิดสัญญาณสั่งงานมี 2 ลักษณะดังนี้
วงกลม หมายถึง สวิทซที่ใชในการเริ่มตนทํางาน (Start) สามารถเลือกชนิดการ
สั่งงานไดดังแสดงในรูปที่ 5.16
จุดกลมทึบ หมายถึง ลิมติ สวิทซ ที่ใชในการตรวจจับตําแหนงของกานสูบ รูปแบบ
การตรวจมีหลายลักษณะทัง้ แบบสัมผัสและไมสัมผัส

(ก) สวิทซเริ่มตนสั่งงาน

(ข) ลิมิตสวิทซ ที่ใชในการตรวจจับตําแหนงของกานสูบ


รูปที่ 5.15 แสดงสัญลักษณของวาลวควบคุมทิศทาง 3/2 ที่สั่งงานดวยมือ

ตําแหนงของหัวลูกศร จะชี้ไปยังตําแหนงเริ่มตนของอุปกรณที่ถูกสัง่ งาน จํานวนหัว


ลูกศรที่มีหางรวมกัน หมายถึงจํานวนอุปกรณที่ถูกสัง่ งานพรอมกันในจังหวะเดียวกัน ดังรูปที่ 5.16

(ก) ลูกศรหัวเดียว (Signal lines) (ข) ลูกศรหลายหัว (Signal branching)


รูปที่ 5.16 แสดงรูปแบบการเขียนหัวลูกศร

การกําหนดเงื่อนไขสั่งงาน จะเปนการนําสัญญาณจากสวิทซมากกวาหนึ่งตัวมา
เปรียบเทียบดวยตรรกะ And และ Or โดยแสดงดวยจุดเชื่อมกันของหางลูกศรแสดงดังรูปที่ 5.16

(ก) Or condition (ข) And condition


รูปที่ 5.17 การกําหนดจุดเชือ่ มสัญญาณแบบเงื่อนไข And condition และ Or condition

110
ตารางที่ 5.3 การทํางานของวงจรนิวแมติกสรูปที่ 5.14 ที่ออกแบบดวยวิธีโอเวอรเล็บรูปที่ 5.13
อธิบายการทํางาน วงจรนิวแมติกส

จังหวะที่ 1 (1S1+2Sa)->1A
เมื่อ 1S1 ถูกกดจะสั่งให
กระบอกสูบ 1A เคลื่อนที่ออก
ก็ตอเมื่อสวิทซ 2S1ตองถูกกด
อยู

จังหวะที่ 2 (1S3) -> 2A


เมื่อกระบอกสูบ 1A เคลื่อนที่
ออกจนสุดกดสวิทซ 1S3 และ
สั่งใหกระบอกสูบ 2A เคลื่อน
ที่ออก

จังหวะที่ 3 (2S2) -> 1A


เมื่อกระบอกสูบ 2A เคลื่อนที่
ออกจนสุดกดสวิทซ 2S2 และ
สั่งใหกระบอกสูบ 1A เคลื่อน
ที่เขา

จังหวะที่ 4 (2S2) -> 2A


เมื่อกระบอกสูบ 1A เคลื่อนที่
เขาจนสุดกดสวิทซ 1S2 และ
สั่งใหกระบอกสูบ 2A เคลื่อน
ที่เขา

จังหวะที่ 5 (1S2) - เริ่มตน


เมื่อกระบอกสูบ 2A เคลื่อนที่
เขาจนสุดกดสวิทซ 2S1 อีก
ครั้ง รอการกด 1S1 เพื่อเริ่ม
ตนทํางานใหมอีกครั้ง

111
ในการออกแบบสัญญาณควบคุมนั้นสามารถแสดงไดหลายรูปแบบดังตัวอยางรูปที่ 5.18 และ
แสดงตัวอยางในการออกแบบดวยวิธีโอเวอรเล็บดังรูปที่ 5.19 โดยหลักการ คือ จะใชลิมิตสวิทซที่ใชใน
การตรวจจับตําแหนงการเคลื่อนที่ของกานสูบในแตจังหวะการทํางานเปนตัวสั่งงานในจังหวะถัดไป
ตอเนื่องกันจนครบทุกจังหวะการทํางาน ในจังหวะเริ่มตนทํางานนิยมนําสัญญาณจากจังหวะสุดทาย
มาสรางเงื่อนไขในการเริ่มตนการทํางาน การออกแบบนี้เหมาะสําหรับระบบงานที่ไมซับซอน

(ก) การควบคุมเปดและปดพื้นฐาน (ข) การควบคุมแบบหยุดกลางกระบอกสูบ

(ค) การควบคุมแบบวัฏจักร (ง) การควบคุมแบบตรวจสอบ

(จ) การควบคุมแบบหนวงเวลา โดยกําหนดคาเวลา ณ ลูกศรที่ตองการหนวงเวลาทํางาน

รูปที่ 5.18 แสดงตัวอยางการควบคุมดวยวิธีโอเวอรเล็บ ในรูปแบบตาง ๆ

112
รูปที่ 5.19 แสดงตัวอยางการออกแบบชุดคนยายชิ้นงานเขาและออกเตาอบ

รูปที่ 5.20 แสดงตัวอยางการออกแบบชุดเคลื่อนยายชิ้นงานลงสายพานเลื่อน

113
รูปที่ 5.21 แสดงตัวอยางการออกแบบชุดปอนชิ้นแบบหนวงเวลา

รูปที่ 5.22 แสดงตัวอยางการออกแบบชุดเขยาแบบสั่น และเปนการควบคุมแบบหยุดกลางกระบอกสูบ

114
รูปที่ 5.23 แสดงตัวอยางการออกแบบชุดเจาะรูอัตโนมัติ (กระบอกสูบดันสวางที่อยูบ นแทนเลื่อน)

115
รูปที่ 5.24 แสดงตัวอยางการทํางานแบบหนวงเวลา

รูปที่ 5.25 แสดงตัวอยางการควบคุมแบบตอเนื่อง

116
5.3 การออกแบบสัญญาณควบคุมแบบอินเตอรล็อค (Signal Inter-lock)
ในการออกแบบสัญญาณควบคุมสําหรับสัง่ งานใหกระบอกสูบทํางานตามลําดับขั้นตอนที่
ออกแบบดวยวิธีอินเตอรล็อคนั้นมีขนั้ ตอนในการออกแบบสัญญาณควบคุม ดังรูปที่ 5.26 และแสดง
ขั้นตอนดังตารางที่ 5.4

รูปที่ 5.26 แสดงขั้นตอนในการออกแบบสัญญาณควบคุมแบบกึ่งอัตโนมัติ

ตารางที่ 5.4 แสดงขั้นตอนในการออกแบบสัญญาณควบคุมจากรูปที่ 5.7

ขั้นตอนที่ อธิบายการออกแบบ
Step 1 การเขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของอุปกรณกําลัง
Step 2 การวิเคราะหสัญญาณตําแหนงการทํางานของกระบอกสูบ
Step 3 การวิเคราะหรวมสัญญาณตรวจจับที่มีคา ณ จังหวะที่มกี ารสั่งงาน
Step 4 การสรางสัญญาณเริ่มการทํางาน (Start Signal)
Step 5 การเลือกสัญญาณสั่งงานในแตละจังหวะการทํางาน

117
5.3.1 การเขียนแผนภาพการเคลื่อนทีข่ องอุปกรณกําลัง
จากขั้นตอนการที่ออกแบบในขั้นตอนขอที่ 5.2 นํามาสรางแผนภาพการเคลื่อนที่
ของกานสูบดังรูปที่ 5.27 จากรูปจังหวะทีม่ ีการสั่งงานใหกานสูบเคลือ่ นที่แสดงดังกรอบวงกลม

รูปที่ 5.27 แสดงจังหวะการทํางานของกระบอกสูบ A และ B

5.3.2 การวิเคราะหจังหวะการสั่งงานของกระบอกสูบ
ในการออกแบบจะพิจารณาเฉพาะจังหวะที่มกี ารสั่งงานใหกา นสูบเคลื่อนที่เทานัน้
จากรูปที่ 5.27 แสดงจังหวะที่มีการสั่งงานในกรอบสี่เหลีย่ ม โดยสังเกตในจังหวะที่กราฟเริ่มตนเคลื่อนที่
ขึ้น(กานสูบเคลื่อนที่ออก) และเริ่มตนเคลือ่ นที่ลง(กานสูบเคลื่อนที่เขา) อธิบายการเคลื่อนที่ของกาน
สูบ A ดวยตารางที่ 5.5 และของกานสูบ B ดังตารางที่ 5.6
ตารางที่ 5.5 แสดงการทํางานของกระบอกสูบ A ในจังหวะตาง ๆ

จังหวะที่ อธิบายการทํางานของกระบอกสูบ A
1 กระบอกสูบ A ถูกสัง่ ใหเคลื่อนที่ออก (เริ่มตนเคลื่อนที่ขึ้น)
2 กานสูบ A เคลื่อนที่ออกสุด (ไมมีการสัง่ งานใดในจังหวะนี้)
3 กระบอกสูบ A ถูกสัง่ ใหเคลื่อนที่เขา (เริ่มตนเคลื่อนที่ลง)
4 กานสูบ A เคลื่อนที่เขาสุด (ไมมีการสั่งงานใดในจังหวะนี้)
5 (ไมมีการสั่งงานใดในจังหวะนี้)
ตารางที่ 5.6 แสดงการทํางานของกระบอกสูบ B ในจังหวะตาง ๆ

จังหวะที่ อธิบายการทํางานของกระบอกสูบ B
1 (ไมมีการสั่งงานใดในจังหวะนี้)
2 กานสูบ A ออกสุดแลว กระบอกสูบ B เคลื่อนที่ออก (เริ่มตนเคลื่อนทีข่ ึ้น)
3 กานสูบ B เคลื่อนที่ออกสุด (ไมมีการสัง่ งานใดในจังหวะนี้)
4 กานสูบ B เขาสุดแลว กระบอกสูบ B เคลื่อนที่เขา (เริ่มตนเคลื่อนทีล่ ง)
5 (ไมมีการสัง่ งานใดในจังหวะนี้)

118
ในการตรวจจับตําแหนงของกานสูบของกระบอกสูบจากเครื่องยกชิน้ งานดังรูป 5.26 นัน้ อาศัย
อุปกรณตรวจจับตําแหนง (Position Sensor) ไดแกสวิทชแบบอิเล็กทรอนิกสหรือแบบกลไก จากรูปที่
5.28 แสดงอุปกรณตรวจจับตําแหนงที่ใชวาลวควบคุมทิศทาง 3/2 สั่งงานดวยลูกกลิ้งสองตัวในการ
สรางสัญญาณตรวจจับตําแหนงเขาสุดหรือออกสุดของกานสูบหนึ่งชุด ในทางปฏิบัติอุปกรณตัว
ตรวจจับแบง 2 ชนิด คือ แบบสัมผัสและไมสัมผัส โดยคํานึงถึงความเร็วในการตอบสนองและระยะทาง

(ก) การตรวจจับตําแหนงกานสูบเขาสุด (ข) การตรวจจับตําแหนงกานสูบออกสุด


รูปที่ 5.28 วาลวควบคุมทิศทาง 3/2 สั่งงานดวยลูกกลิง้ ในการตรวจสอบตําแหนงกานกระบอกสูบ

รูปที่ 5.29 แสดงการตรวจจับตําแหนงของกานสูบ A และ B ดวยวาลวควบคุมทิศทาง 3/2 ชนิดลูกกลิ้ง

จากรูปที่ 5.29 อธิบายการใช วาลวควบคุมทิศทาง 3/2 สั่งงานดวยลูกกลิ้ง ในการตรวจจับ


ตําแหนงกานสูบ A เมื่อกานสูบอยูตําแหนงเขาสุดวาลว S1 มีคาเนือ่ งจากถูกกดและในทางตรงกันขาม
วาลว S2 จะมีคาเมื่อกานสูบเคลื่อนที่ออกสุด โดยคาจากวาลว S1 และ S2 จะไมมีคาพรอมกันโดย
เด็ดขาด อธิบายคาของสัญญาณตรวจจับตําแหนงของกานสูบไดดังนี้
- S1 มีคา หมายถึง กานสูบ A อยูในตําแหนงเขาสุด
- S2 มีคา หมายถึง กานสูบ A อยูในตําแหนงออกสุด
- S3 มีคา หมายถึง กานสูบ B อยูในตําแหนงเขาสุด
- S4 มีคา หมายถึง กานสูบ B อยูในตําแหนงออกสุด

119
Abbreviated notation : A+ / B+ / A- / B-

รูปที่ 5.30 แสดงแผนภาพสัญญาณตรวจจับตําแหนง S1,S2,S3 และ S4

จากรูปที่ 5.30 สังเกตเฉพาะสัญญาณ S1 จะมีคาก็ตอเมื่อกานสูบ A อยูในตําแหนงเขาสุด


เทานัน้ เมื่อกานสูบ A เริ่มตนเคลื่อนทีอ่ อกในจังหวะที่ 1 ในขณะที่กานสูบ A กําลังเคลื่อนทีอ่ อก S1
ยังคงมีคา อยูชว งระยะเวลาหนึ่ง และกอนจังหวะที่ 4 ในขณะที่กานสูบ A กําลังจะเคลื่อนที่ออกสุด S2
จะมีคา กอนจังหวะที่ 4 เล็กนอย เนื่องจากเวลาหนวงในการสัง่ งานของสวิทซและจากรูปแบบของกาน
สูบที่มีระยะเพือ่ รวมทัง้ เกี่ยวกับรูปแบบการทํางานของกลไกตาง ๆ แสดงดังรูปที่ 5.31

(ก) เริ่มเคลื่อนที่เขาออก ในจังหวะที่ 1 (ข) กอนเคลื่อนที่เขาชน ในจังหวะที่ 4


สวิทซยังคงถูกกดตอเล็กนอย สวิทซถูกกดกอนเล็กนอย
รูปที่ 5.31 แสดงสถานการณการเกิดสัญญาณตรวจจับตําแหนงกานสูบขณะเคลื่อนออกและชน

120
รูปที่ 5.32 แสดงการเกิดสัญญาณตรวจจับตําแหนง(s) เมื่อกานสูบเคลื่อนที่ผา น

นอกจากการตรวจจับตําแหนงของกานสูบวาอยูในตําแหนงเขาหรือออกสุดอยู ยังสามารถใช
วาลวควบคุมทิศทาง 3/2 สั่งงานดวยลูกกลิ้งในการตรวจสอบตําแหนงกลางของกระบอกสูบ หรือการ
เคลื่อนที่ผา นได โดยลักษณะการติดตั้งและผลของสัญญาณตรวจจับที่ไดจะมีลกั ษณะเปนลูกคลื่นดัง
แสดงในรูปที่ 5.32

5.3.3 การรวมสัญญาณตรวจจับที่มีคา ณ จังหวะสั่งงาน


เปนการนําสัญญาณตรวจจับของกานสูบที่มีคาในจังหวะที่มกี ารสั่งงานมารวมกัน
ดวยเงื่อนไขและ (And condition, Combine Logic) จากรูปที่ 5.33 จังหวะที่มีการสั่งงานกระบอกสูบ
ไดแก 1, 2, 3 และ 4 แสดงการเลือกรวมสัญญาณทีม่ ีคา ณ จังหวะตาง ๆ ดวยกรอบสี่เหลี่ยม และ
แสดงตัวอยางผลลัพธของตัวการรวมสัญญาณ S2 + S3 ที่เกิดขึ้น ณ จังหวะที่ 2 ดังรูปที่ 5.34 ทําการ
รวมสัญญาณจนครบทุกจังหวะที่มกี ารสั่งงานจะไดผลดังรูปที่ 5.35

รูปที่ 5.33 แสดงการรวมสัญญาณตรวจจับที่มีคาในจังหวะที่มีการสั่งงาน

121
รูปที่ 5.34 การวิเคราะหการรวมสัญญาณตรวจจับ ( S2 + S3 ) = ( S2 AND S3 )

รูปที่ 5.35 แสดงผลลัพธของการรวมสัญญาณจากรูปที่ 5.14

5.3.4 การสรางสัญญาณเริ่มการทํางาน (Start Signal)


ในการออกแบบการทํางานอัตโนมัติ การเริ่มตนการทํางานจะตองอาศัยผูปฏิบัติงาน
ในการสัง่ ใหระบบเริ่มตนการทํางาน โดยมีรูปแบบของสัญญาณในการสั่งเริ่มตนการทํางานสอง
ลักษณะ คือ กึง่ อัตโนมัต(ิ มีคาจังหวะเดียว) และอัตโนมัต(ิ มีคาตลอดการทํางาน) แสดงดังรูปที่ 5.36

(ก) สัญญาณเริ่มตนการทํางานแบบกึ่งอัตโนมัติ (ข) สัญญาณเริ่มตนการทํางานแบบอัตโนมัติ


รูปที่ 5.36 การสรางสัญญาณเริ่มตนสั่งงานแบบกึ่งอัตโนมัติและแบบอัตโนมัติ

122
การสรางสัญญาณทั้งสองชนิดที่กลาวมาเกิดจากการเลือกใชงานอุปกรณที่สั่งงานดวยสวิทซ
ชนิดกดติดปลอยดับ(แบบกึ่งอัตโนมัติ)และชนิดติดคาง(แบบอัตโนมัติ) ในขัน้ ตอนการออกแบบจะนํา
สัญญาณเริ่มตนไปรวมกับผลการรวมสัญญาณตรวจจับตําแหนงในจังหวะสั่งงาน เพื่อใชในการควบคุม
ระบบใหเริ่มตนทํางาน แสดงสัญญาณสั่งงาน (St+s1+s3) ดังรูปที่ 5.37

(ก) สัญญาณเริ่มตนการทํางานแบบกึ่งอัตโนมัติ (ข) สัญญาณเริ่มตนการทํางานแบบอัตโนมัติ


รูปที่ 5.37 เปรียบเทียบการใชงานสัญญาณเริ่มตนสั่งงานแบบกึ่งอัตโนมัติและแบบอัตโนมัติ

¾ การควบคุมแบบกึ่งอัตโนมัติ ( Semi auto control)


จากรูปที่ 5.38 สัญญาณ St ที่ใชในการสั่งใหระบบเริม่ ตนการทํางานจะเกิดจากการใชสวิทช
ชนิดกดติดปลอยดับ เมื่อกดสวิทซในจังหวะที่ 1 จะเกิดสัญญาณลักษณะลูกคลื่น แลวนํามารวมกับ
ผลรวมสัญญาณตรวจจับในการเริ่มตนทํางานของระบบจนครบทุกจังหวะ (1 รอบการทํางาน) แลว
หยุดรอการกดปุมเริ่มตนสั่งงานอีกครั้งจากผูปฏิบัติงาน

รูปที่ 5.38 แสดงการนําสัญญาณเริ่มตนแบบกึ่งอัตโนมัติมารวมกับผลรวมสัญญาณตรวจจับตําแหนง

จากรูปที่ 5.38 ในการนําสัญญาณเริม่ ตนสั่งงาน(St) มารวมกับผลรวมสัญญาณตรวจจับ


ตําแหนงของกานสูบในจังหวะเริ่มตน(จังหวะ 1) ก็เพือ่ ยืนยันตําแหนงของอุปกรณทุกตัวกอนเริ่มตน
ทํางานวาอยูในตําแหนงถูกตองตามทีก่ ําหนดหรือไม (Inter-lock) ดวยสัญญาณ(St+s1+s3) ถากด
สวิทซเริ่มตนสัง่ งานในขณะอุปกรณไมอยูในตําแหนงทีอ่ อกแบบ คือ s1 และ s3 ไมมีคาพรอมกัน ระบบ
จะไมเริ่มตนทํางานในจังหวะที่ 1

123
¾ การควบคุมอัตโนมัติ (Auto control)
จากรูปที่ 5.39 สัญญาณเริ่มตนสั่งงาน (St) ที่ใชในการสั่งใหระบบเริ่มตนการทํางานจะเกิด
จากการใชสวิทชชนิดบิดคาง เมื่อมีการเปดสวิทซจะเกิดสัญญาณเริ่มตน ณ จังหวะที่ 1 และมีคา
ตลอดเวลาจนกวาจะปดสวิทซลง สัญญาณจึงจะหายไป ดังนั้นเมื่อระบบเริ่มตนการทํางานตามลําดับ
ที่ออกแบบจนครบทุกจังหวะแลว จะเริ่มตนทํางานในจังหวะที่ 1 ใหมอีกครั้งตอเนื่องเปนวัฏจักรจนกวา
จะไมมีสัญญาณ St ถามีการปดสวิทซ St ในระหวางการทํางาน ระบบก็ยังคงทํางานจนครบทุกจังหวะ
แลวจึงหยุด ณ จังหวะสุดทาย เพื่อรอการเริ่มตนสัง่ งานในวัฏจักรใหมจากผูปฏิบัติ

รูปที่ 5.39 แสดงการนําสัญญาณเริ่มทํางานในการควบคุมอัตโนมัติ

จากรูปที่ 5.39 จากที่กลาวมาในหัวขอที่ผา นมา เมื่อนําสัญญาณ St มารวมกับ s1 และ s3


เพื่อการตรวจสอบตําแหนงอุปกรณเริ่มตน จะพบวาในจังหวะที่ 1 เกิดสัญญาณลูกคลื่นแบบเดียวกับ
สัญญาณแบบกึ่งอัตโนมัตดิ ังแสดงในรูปที่ 5.38 จะแตกตางกันเฉพาะจังหวะสุดทาย(จังหวะที่ 5 )
เทานัน้ ที่สัญญาณเริ่มตนสัง่ งานแบบอัตโนมัติจะมีคา เกิดขึ้นและเปนตัวกระตุนใหระบบเกิดการทํางาน
ในจังหวะที่ 1 ตอเนื่องเปนวัฏจักร จนกวาสัญญาณ St ถูกปดลง

5.3.5 การเลือกสัญญาณควบคุมในแตละจังหวะสัง่ งาน


ในการควบคุมการเคลื่อนทีข่ องกานสูบใหทํางานดังที่ออกแบบนั้นจะเกิดจากการ
ควบคุมวาลวควบคุมทิศทางลมทีจ่ ายลมอัดใหกระบอกสูบทํางานตามจังหวะที่กาํ หนด ดังนั้นสัญญาณ
ควบคุมที่ดีที่สามารถนํามาใชสั่งงานกระบอกสูบนัน้ จะตองมีลักษณะเปนลูกคลื่นที่เกิดขึ้น ณ จังหวะ
เดียวเสมอตลอดการทํางานหนึง่ รอบ เพื่อใหเกิดการทํางานซับซอนในจังหวะอืน่ ดังแสดงในรูปที่ 5.39

รูปที่ 5.40 แสดงการเลือกสัญญาณควบคุมกระบอกสูบใหทาํ งานในแตละจังหวะ

124
จากรูปที่ 5.40 จะเห็นวาผลรวมของสัญญาณตรวจจับที่ไดจากหัวขอ 5.3.4 นัน้ มีลักษณะเปน
ลูกคลื่นในทุกจังหวะ จึงสามารถจับคูเพื่อใชในการควบคุมวาลวลมทีจ่ ายลมอัดใหแกกระบอกสูบให
เกิดการเคลื่อนที่ตามทีก่ ําหนด ดังแสดงในตารางที่ 5.7 แตในทางปฏิบัติระบบที่มคี วามซับซอนในการ
ทํางาน ผลรวมของสัญญาณตรวจสอบตําแหนงมักจะไมสามารถนํามาใชควบคุมกระบอกสูบได
ทั้งหมด จะตองมีการปรับปรุงหรือสรางสัญญาณควบคุมใหมดงั จะกลาวตอไป
ตารางที่ 5.7 แสดงสัญญาณสั่งงานกระบอกสูบในจังหวะตาง ๆ

จังหวะสัง่ งาน สัญญาณสั่งงาน อธิบายการสั่งงาน


1 St+s1+s3 สั่งกระบอกสูบ A ใหเคลื่อนที่ออก
2 s2+s3 สั่งกระบอกสูบ B ใหเคลื่อนที่ออก
3 s1+s4 สั่งกระบอกสูบ A ใหเคลื่อนที่เขา
4 St+s1+s3 สั่งกระบอกสูบ B ใหเคลื่อนที่เขา
5 - ไมมีการสั่งงานใด ๆ

5.4 การออกแบบวงจรนิวแมติกสหรือวงจรการเดินสายอุปกรณ
หลังจากออกแบบสัญญาณควบคุมในแตละจังหวะการทํางานจากหัวขอ 5.3 แลว ทําการ
เลือกอุปกรณกําลังและวาลวควบคุมที่ใชงานใหเหมาะสมกับประเภทของการทํางาน จากนัน้ นํามา
สรางวงจรนิวแมติกสหรือวงจรตอสายอุปกรณ ดังตัวอยางรูปที่ 5.41 ซึ่งประกอบดวยสัญลักษณของ
อุปกรณที่ใชในการทํางานและการเชื่อมตอสายสัญญาณตางๆ รวมการกําหนดชื่ออุปกรณดังที่กลาว
มาแลวในบทที่ 3 เพื่ออธิบายการเชื่อมสายระหวางอุปกรณตาง ๆ ซึ่งใชในขั้นตอนการสรางและการ
ติดตั้งอุปกรณตาง ขั้นตอนในการสรางวงจรนิวแมติกสจากผลรวมสัญญาณควบคุมที่ออกแบบจาก
หัวขอ 5.3 มีดังตอไปนี้

รูปที่ 5.41 แสดงวงจรนิวแมติกสที่สรางจากการสัญญาณควบคุมจากรูปที่ 5.40

125
5.4.1 การเลือกอุปกรณกาํ ลังในการทํางาน
เปนสิง่ แรกทีต่ องคํานึงถึง คือ การเลือกชนิดกระบอกสูบที่ใชงานและวาลวควบคุม
ทิศทางที่ใชในการสั่งงานกระบอกสูบดังทีก่ ลาวมาแลวในบทที่ 3 จากรูปที่ 5.41 แสดงตัวอยางการ
เลือกใชงานกระบอกสูบสองทางสองตัว และใชวาลวควบคุมทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยลมอัด

รูปที่ 5.42 ก. กระบอกสูบ 2 ชุด (A,B)และวาลวควบคุมทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยลมอัด

5.4.2 การเลือกอุปกรณตรวจจับตําแหนงกานสูบ
ในการเลือกใชงานอุปกรณตรวจจับตําแหนงกานสูบในระบบนิวแมติกสนั้นนิยมใช
วาลวควบคุมทิศทาง 3/2 สั่งงานดวยลูกลิ้ง 2 ตัวในการตรวจจับตําแหนงกานสูบเขาสุดและออกสุดดัง
รูปที่ 5.23 นอกจากนัน้ ยังสามารถอุปกรณตัวจับที่เปนระบบไฟฟาซึ่งจะกลาวถึงในบทตอไป

รูปที่ 5.43 ตัวตรวจตับตําแหนง 4 ชุด – วาลว 3/2 Roller – spring (S1, S2, S3 ,S4)

5.4.3 การเลือกสวิทซเริ่มตนสั่งงาน
จากที่กลาวมาแลวในหัวขอ 5.3.4 ในการออกแบบวงจรควบคุมแบบอัตโนมัติหรือ
กึ่งอัตโนมัตินนั้ มีขั้นตอนออกแบบเหมือนกันแตกตางกันเฉพาะการเลือกชนิดของสวิทซเริ่มตนสัง่ งานที่
แตกตางกันดังแสดงในรูปที่ 5.44

(ก) วาลว 3/2 แบบสวิทซกด (กึ่งอัตโนมัติ) (ข) วาลว 3/2 แบบคันโยก (อัตโนมัติ)
รูปที่ 5.44 การเลือกสวิทซเริ่มตนสั่งงานสําหรับการควบคุมแบบกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติ

126
5.4.4 การเลือกอุปกรณรวมสัญญาณตรวจ
ในการรวมสัญญาณตรวจจับตําแหนงของกานสูบในระบบนิวแมติกสนั้นจะใชวาลว
ลมคู ( And gate) โดยวาลวลมคูหนึ่งตัวใชรวมสัญญาณไดสองคา ถาตองการรวมสัญญาณมากกวา
สองคา ก็ตองใชวาลวลมคูเพิ่มดังแสดงตัวอยางการรวมสัญญาณสามคาดังรูปที่ 5.45

รูปที่ 5.45 แสดงการตอวาลว And gate ในการรวมสัญญาณ St+s1+s3

จากขั้นตอนทีก่ ลาวมาแลวทัง้ หมดนํามาสรางเปนวงจรนิวแมติกสดังแสดงในรูปที่ 5.46

รูปที่ 5.46 แสดงภาพรวมของขั้นตอนการออกแบบชุดยกอัตโนมัติ

127
รูปที่ 5.47 ตัวอยางการวิเคราะหสัญญาณควบคุมกระบอกสูบ 3 ชุด

128
5.5 การควบคุมความเร็วกานสูบและการควบคุมทํางานแบบหนวงเวลา
จากรูปที่ 5.48 จะสังเกตวากระบอกสูบ A จะใชเวลา 2 จังหวะ(1-3) ในการเคลื่อนที่ออก ซึง่
มากกวาการเคลื่อนที่เขาที่ใชเวลา 1 จังหวะ (5-6) ถาสังเกตจากการทํางานจริงจะเห็นวากานสูบ A จะ
เคลื่อนที่เขาดวยความเร็วปกติและเคลื่อนที่ออกชากวาปกติ สวนกานสูบ B จะเคลื่อนที่ออกดวย
ความเร็วปกติและเคลื่อนที่เขาชากวาปกติ การควบคุมความเร็วในการเคลื่อนทีข่ องกานสูบนัน้ จะใช
หลักการจากหัวขอที่ 4.3 โดยควบคุมอัตราลมอัดที่จายใหกระบอกสูบหรือควบคุมอัตราลมระบายออก
ดวยวาลวปรับอัตราการไหล(หรี่ลม) ดังแสดงในรูปที่ 5.49

รูปที่ 5.48 แสดงการรวมสัญญาณตรวจจับในกรณีที่มกี ารควบคุมความเร็วกานสูบในการเคลื่อนที่

รูปที่ 5.49 แสดงการใชวาลวปรับอัตราการไหลในการควบคุมความเร็วกานสูบ

129
¾ การปรับแกสญ
ั ญาณควบคุม โดยใชวาลวหนวงเวลา
จากแผนภาพการทํางานของกระบอกสูบในรูปที่ 5.48 พบวามีการสั่งงานกระบอกสูบใน
จังหวะที่ 1 ,3 ,5 และ 6 หลังจากออกแบบวงจรควบคุมตามขั้นตอนในขอที่ 5.3 แลวจะพบวาไม
สามารถหาสัญญาณสั่งงานในจังหวะที่ 5 ที่มีลักษณะเปนลูกคลืน่ ณ จังหวะเดียวไดเหมือนในจังหวะ
สั่งงานอืน่ ๆ ดังนัน้ จึงตองมีการปรับแตงสัญญาณ (S2+s4) ดวยวาลวหนวงเวลาดังแสดงในรูปที่ 5.50
(ข) เพื่อใหเกิดสัญญาณสั่งงานในจังหวะที่ 5 ดังแสดงสัญญาณที่ปรับแตงแลวในรูปที่ 5.50 (ก)

(ก) การปรับแกสัญญาณ (ข) วาลวปรับอัตราการไหล


รูปที่ 5.50 แสดงการใชวาลวหนวงเวลาในการปรับแตงสัญญาณควบคุม

รูปที่ 5.51 แสดงสัญญาณสั่งงานที่แกไขแลวจากรูปที่ 5.48

จากรูปที่ 5.51 จะพบวาสามารถใชสัญญาณ d จากวาลวปรับอัตราการไหลไปใชควบคุมการ


ทํางานกระบอกสูบ B ณ จังหวะที่ 5 ได จากสัญญาณควบคุมที่ปรับปรุงแลวนําไปสรางวงจรนิวแมติกส
ดังขั้นตอนในขอที่ 5.4 ไดดังรูปที่ 5.52

130
รูปที่ 5.52 แสดงการรวมสัญญาณตรวจจับและวงจรนิวแมติกสจากรูปที่ 5.51

131
5.6 เปรียบเทียบรูปแบบทํางานแบบตอเนื่องและแบบหนวงเวลาทํางาน
จากรูปที่ 5.53 (ก) มีการทํางานตอเนื่องกันทุกจังหวะดังนี้ A(+)  B(+)  A(-)  B(-)
คือ เมื่อทํางานในแตละจังหวะเสร็จสิ้นก็จะมีการทํางานในจังหวะถัดไปทันที แตในรูปที่ 5.53 (ข) จะมี
ลําดับการทํางานเชนเดียวกัน แตกตางกันที่เมื่อกานสูบ B เคลื่อนที่ออกสุดแลว ระบบจะหยุดทํางาน
ชวงระยะเวลาหนึง่ กอนทีก่ านสูบ A จะเคลื่อนที่เขา จากแผนภาพการเคลื่อนทีข่ องกานสูบสามารถ
แยกแยะวาขั้นตอนใดบางทีม่ ีการหนวงเวลาการทํางานหรือไม โดยสังเกตไดจากลักษณะของวงรีที่วาด
ขึ้นเพื่อโยงการสั่งงานในจังหวะที่เรียงตอเนื่องกันดังรูป ถาวงรีที่ไดเอียงจะหมายถึงมีการหนวงเวลา
เกิดขึ้น

(ก) แสดงลักษณะการทํางานแบบตอเนื่อง (ข) แสดงลักษณะการทํางานแบบรอเวลาทํางาน


รูปที่ 5.53 แสดงเปรียบเทียบลักษณะการการสั่งงานปกติกับการหนวงเวลาในการทํางาน

5.7 การปรับปรุงสัญญาณควบคุมแบบซ้ํา
ในการออกแบบระบบอัตโนมัติที่ใชกระบอกสูบเปนอุปกรณทํางานนัน้ จะมีลกั ษณะการทํางาน
ของกระบอกสูบได 2 ลักษณะคือ
¾ การทํางานเชิงเดี่ยว (Single Step Action)
ในหนึ่งรอบทํางาน กระบอกสูบมีการเคลื่อนที่เขาและออกเพียงครั้งเดียว ดังรูป 5.54 (ก)
¾ การทํางานเชิงซอน (Multi Step Action)
ในหนึง่ รอบการทํางานมีกระบอกสูบเคลือ่ นที่เขาและออกมากกวาหนึ่งครั้ง ดังรูป 5.54 (ข)

(ก) การสัง่ งานแบบ Single Step (ข) การสัง่ งานแบบ Multi Step
รูปที่ 5.54 แสดงเปรียบเทียบการสั่งงานแบบเชิงเดียวและเชิงซอนของกระบอกสูบ B

132
รูปที่ 5.55 แสดงสัญญาณทีเ่ กิดการทํางานซอน

จากรูปที่ 5.55 เมื่อทําการวิเคราะหผลรวมสัญญาณตรวจจับตามขัน้ ตอนขอที่ 5.3 แลว พบ


สัญญาณ s2+a3 และ st+s1+s3 ไมสามารถนํามาใชเปนสัญญาณสั่งงานได เนื่องจากเกิดลูกคลื่นซ้ํา
ดังรูปบริเวณรูปวงรี ดังนัน้ จําเปนที่จะตองปรับแตงสัญญาณทั้งสองใหเกิดเพียงลูกเดียวตอหนึง่ รอบ
การทํางานเทานัน้ ดวยการนําสัญญาณสัง่ งานในจังหวะอื่นมาสรางสัญญาณ Dummy ที่มีคา และไมมี
คาระหวางลูกคลื่นที่ซา้ํ กันดังรูปที่ 5.56 (ก) แสดงการสรางสัญญาณ Dummy ดวยวาลวควบคุม
ทิศทาง 5/2 สั่งงานดวยลมอัด ดังรูปที่ 5.56 (ข) และควบคุมดวยสัญญาณสั่งงานในจังหวะที่ 3 และ 6

ก) การออกแบบสัญญาณ Dummy (ข) การสรางสัญญาณ Dummy หรือ


จากสัญญาณสั่งงาน สัญญาณหลอก ดวยวาลว 5/2
รูปที่ 5.56 แสดงการสรางสัญญาณ Dummy เพื่อปรับแกสัญญาณสั่งงาน

133
ในการสรางสัญญาณปรับแกทําไดโดยการนําสัญญาณ Dummy (p2 และ p3) มารวมกับ
ผลรวมของสัญญาณที่มีปญ  หา สัญญาณที่แกไขแลวแสดงดังรูปที่ 5.57 โดยการแบงสัญญาณที่มีคา
ซ้ํากันสองลูกคลื่นใหกลายเปนสัญญาณสองคาทีม่ ีลักษณะเปนลูกคลื่นเดียวในจังหวะที่ตองการ แลว
นําไปสรางวงจรนิวแมติกสดังแสดงในรูปที่ 5.58

รูปที่ 5.57 แสดงสัญญาณควบคุมที่ปรับแตงแลวดวยการรวมกับสัญญาณ Dummy

134
รูปที่ 5.58 แสดงการปรับแตงสัญญาณควบคุมและวงจรนิวแมติกสที่มกี ารสรางสัญญาณ Dummy

135

You might also like