You are on page 1of 68

สมาคมเครื่องกาเนิ ดไฟฟ้ าไทย

THAI GENERATOR ASSOCIATION

การออกแบบ
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และระบบระบายอากาศ
นายธวัช มีชัย นายกสมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย
นายสุชาติ จงควินิต อุปนายกคนที่ 2
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี เลขาธิการ
21 กันยายน 2560
ณ ฮอลล์ 6 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี
ประวัตสิ มาคม ฯ
จากการที่วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการมาตรฐานเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2555 เพื่อจัดทามาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ซึ่งใช้เวลา
ในการจัดทามาตรฐานดังกล่าวเป็นเวลา 2–3 ปี คณะอนุกรรมการฯ มีการประชุมกันทุกเดือนทาให้มีความเห็น
ไปในแนวเดียวกันว่า ควรจะมีการจัดตั้งชมรมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมของผู้ออกแบบ ผู้ควบคุม
งาน ผู้ขาย ผู้ติดตั้ง รวมทั้งผู้ที่ทางานเกี่ยวข้องกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและผู้สนใจทั่วไป เพื่อพัฒนาอาชีพที่
เกี่ยวข้องกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทั้งทางด้านกฎหมาย มาตรฐาน ประสบการณ์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และ
อื่นๆ จึงได้มีการประชุมเพื่อจัดตั้งชมรมฯ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2557 โดยเชิญ ตัวแทนจากบริษัทผู้ขาย
ผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน นักวิชาการ จากมหาวิทยาลัยมาร่วมประชุมที่ห้องประชุมสมาคมผู้ตรวจสอบและ
บริหารความปลอดภัยอาคาร ชั้น 3 อาคาร วสท. มีมติให้ตั้งเป็นชมรมเครื่องกาเนิด ไฟฟ้าโดยมี นายธวัช มีชัย
เป็ น ประธานชมรมฯ ต่ อ มาชมรมได้ป รั บ เปลี่ ย นยกระดั บ เป็ น สมาคมเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ าไทย เมื่ อ วั น ที่ 7
กรกฎาคม 2558 โดยมีนายธวัช มีชัย เป็นผู้ก่อตั้งและดารงตาแหน่งนายกสมาคมฯ สมัยแรก (พ.ศ.2558 –
พ.ศ.2561) โดยมีผู้ทางานเกี่ยวข้องกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและผู้สนใจเป็นสมาชิก
2 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
วัตถุประสงค์สมาคมฯ
1. เพื่อส่งเสริมวิชาชีพวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายทั่วประเทศ
2. เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการแลกเปลี่ ย นและเผยแพร่ เ ทคโนโลยี ร ะบบเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ทั้ ง ในประเทศและ
ต่างประเทศ
3. เพื่อเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมมาตรฐานด้านระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
4. เพื่อเป็นศูนย์กลางรณรงค์ การส่งเสริมความรู้ ด้านความปลอดภัยในระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแก่บรรดาเครือข่าย
และสมาชิกทั่วประเทศ
5. เพื่อเป็นศูนย์รวมด้านวิชาการของผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางด้านระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และสร้างความสามัคคีใน หมู่สมาชิกของสมาคมฯ
6. เพื่อเป็นการสนับสนุนและประสานงานให้กับภาครัฐและภาคเอกชนในด้านเทคโนโลยีระบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

3 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


Agenda
• Standard & Requirements
• Practical & Example
• Workshop

4 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องก
2
าเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ความต้องการทั่วไป (General Requirements)
• ฐานแท่นเครื่อง (Foundation)
• ตาแหน่งติดตั้ง (Location)
• การป้องกันเสียง (Sound Proof)
• ระบบระบายอากาศ (Ventilation System)

5 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ความต้องการทั่วไป
(General Requirements)

6 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
3
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)

• ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า จะต้องติดตั้งภายใน
ห้องซึ่งแยกต่างหากออกจากระบบอื่นๆ
และมีการระบายอากาศได้ดี
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องทนไฟได้ไม่
น้อยกว่า 2 ชั่วโมง

รูปแสดงการติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
7 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
11
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ให้มีระยะห่าง ระหว่างฐานแท่น
(Foundation) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
และผนังห้องไม่ต่ากว่า 1 เมตร
• ด้านท้ายเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีพื้นที่
ว่างสาหรับปฏิบัติงานไม่ต่ากว่า 1.5
เมตร
• ไม่มีฝ้าเพดาน ภายในห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า
8 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
13
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ระยะห่างระหว่างเพดานห้องเครื่องถึงท่อเก็บเสียงไอเสีย
ต้องมีระยะห่างอย่างน้อย 230 มม. หรือ 9 นิ้ว เพื่อป้องกันความร้อนที่เกิดจาก
แก๊สไอเสีย
• ไม่อนุญาตให้เก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
ยกเว้น ถังน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ไม่อนุญาตให้ใช้วัสดุไวไฟเป็นส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

9 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
14
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ต้องมีแสงสว่างเพียงพอสาหรับการทางานอย่างปลอดภัยโดยมีความส่องสว่างขั้นต่า
โดยเฉลี่ยที่ระดับพื้นผิวการทางาน 200 ลักซ์
• วงจรไฟฟ้าสาหรับไฟฟ้าแสงสว่างดังกล่าวต้องจ่ายจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอน
ถ่ายแหล่งจ่ายไฟ (Transfer Switch)

10 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
15
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ต้องมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างสารองฉุกเฉิน
• ซึ่งมีแหล่งจ่ายไฟจากแบตเตอรี่แยกต่างหากจากวงจรจ่ายไฟปกติ
• โดยมีระยะเวลาการส่องสว่าง ไม่น้อยกว่า 90 นาที
• ที่ระดับพื้นผิวการทางานต้องไม่น้อยกว่า 32.3 ลักซ์ (3 ฟุต-แคนเดิล้ ) เว้นแต่
กาหนดเป็นอย่างอื่นโดยมาตรฐานหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องฉบับล่าสุด

11 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
16
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
 การออกแบบ ติดตั้งท่อ-ทางเดินสายไฟ ดวงโคมไฟฟ้า ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
ฉุกเฉินให้พิจารณาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการแผ่ความร้อนในขณะการทางานของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน
 ต้องจัดเตรียมเต้ารับไฟฟ้า 1 เฟส พร้อมสายดินอย่างน้อย 2 จุด สาหรับใช้ในการซ่อมบารุงและ
การบารุงรักษา อุปกรณ์
o วงจรไฟฟ้าสาหรับเต้ารับนี้ จะต้องแยกอิสระจากวงจรไฟฟ้าอื่น
o ต้องจ่ายไฟจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่ายแหล่งจ่ายไฟ

12 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
18
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• จัดเตรียมวงจรย่อยไว้สาหรับอุปกรณ์ประกอบที่มีความจาเป็นทั้งหมดสาหรับการทางานของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองฉุกเฉิน วงจรย่อยนี้จะต้องจ่ายไฟจากด้านจ่ายโหลดของอุปกรณ์โอนถ่าย
แหล่งจ่ายไฟ หรือ ขั้วต่อไฟฟ้าของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• อุปกรณ์ประกอบดังกล่าวได้แก่
- เครื่องสูบน้ามันเชื้อเพลิง
- เครื่องสูบสารหล่อเย็นของระบบ remote radiator
- ระบบระบายอากาศขับด้วยมอเตอร์
• ต้องจัดเตรียมวงจรย่อยจากระบบจ่ายไฟฟ้าปกติ ไว้สาหรับชุดอัดประจุแบตเตอรี่ และชุดความร้อน
ของสารหล่อเย็น
13 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
19
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ต้องจัดเตรียมระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ฉบับล่าสุด
• การติดตั้งระบบดับเพลิงภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัยของ วสท. ฉบับล่าสุดและ ไม่อนุญาต ให้ใช้ระบบหรือสารดับเพลิง
ดังต่อไปนี้
o ระบบดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือฮาลอน ถ้าไอดี (Combustion air) ของเครื่องต้นกาลัง
(Prime mover) ไม่ได้ถูกนาเข้ามาโดยตรงจากภายนอกอาคาร
o ผงเคมีแห้งระบบอัตโนมัติ
ยกเว้น ได้รับการรับรองจากบริษัทผู้ผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้าว่าผงเคมีแห้งที่ใช้จะไม่เป็นอันตรายต่อเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า ไม่มีผลกระทบต่อการทางาน หรือทาให้ความสามารถผลิตกาลังไฟฟ้าลดลง

14 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ฐานแท่นเครื่อง
(Foundation)

15 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
20
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ฐานแท่นเครื่องจะต้องมีขนาดใหญ่กว่าแท่น
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Skid base) 150 มม.
หรือ 6 นิ้ว ทุกด้านเพื่อให้สปริงหรือยางรอง
แท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถติดตั้งบนฐาน
แท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้โดยไม่ตกจากแท่น
• ฐานแท่นเครื่องจะต้องยกสูงจากพื้น อย่าง
น้อย 150 มม. หรือ 6 นิ้ว เพื่อสะดวกในการ
ซ่อมบารุงรักษาชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

16 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
26
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
กรณีฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแยกออกจากพื้นอาคาร
• น้าหนักของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องไม่น้อยกว่า 2 เท่าของน้าหนักชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อให้
สามารถต้านทานไดนามิกส์โหลดได้
• สามารถคานวณหาความหนา (h) ของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้จากสูตร
W
h = d.l.w
h = ความหนาของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
l = ความยาวของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
w = ความกว้างของฐานแท่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้า หน่วยเป็นฟุต (เมตร)
d = ความหนาแน่นของคอนกรีต
= 145 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต หรือ = 2,400 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
W = น้าหนักรวม (total wet weight of gen set) ของชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
หน่วยเป็นปอนด์ (กิโลกรัม)
17 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ตาแหน่งติดตั้ง
(Location)

18 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
29
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในตาแหน่งที่สะดวกต่อการขนย้ายชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้าหรือออกจากห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณอากาศที่ใช้ในการระบายความร้อนและการสันดาปเพียงพอ และอยู่ในตาแหน่ง
ที่อากาศดี (Fresh air) สามารถไหลเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้สะดวก
• ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะต้องอยู่ในทีป่ ลอดภัยจากน้าท่วมสาเหตุเกิดจาก น้าดับเพลิง น้าเสียอื่น ๆ
• ไม่อนุญาตให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ตู้ไฟฟ้า ตู้ควบคุมและอุปกรณ์ประกอบอื่น สาหรับโหลดระดับ 1 (Level 1) ติดตั้งอยู่
ในห้องเดียวกันกับระบบไฟฟ้าอื่นที่มีแรงดันไฟฟ้าเทียบกับดินมากกว่า 150 โวลท์ และมีพิกัดกระแสมากกว่าหรือเท่ากับ
1,000 แอมป์

19 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


การป้องกันเสียง
(Sound Proof)

20 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
27
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
การติดตั้งระบบป้องกันเสียงห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ประตูห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องเป็นชนิดเก็บเสียง (Acoustic Door) ห้ามใช้
ประตูบานม้วน (Rolling Shutter) เป็นประตูห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในการ
ติดตั้งระบบป้องกันเสียง
• ช่องลมเข้า และออกห้องเครื่องกาเนิ ดไฟฟ้าจะต้ องติด ตั้ งกล่อ งป้องกัน เสี ย ง
(Sound Attenuator) ขนาดที่เหมาะสมกับขนาดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
*มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
21 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
28
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
การติดตั้งระบบป้องกันเสียงห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ระดับเสียงวัดที่ระยะห่าง 1 เมตร จากผนังห้องด้านนอก และช่องเปิดใดๆ
ต้องมีค่าตามที่กฎหมายกาหนด
• ผนังห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องบุด้วยฉนวนป้องกันเสียง (Soundproof
Material) ชนิดไม่ติดไฟ (Non – Combustible) สามารถทนไฟได้ไม่
น้อยกว่า 2 ชั่วโมง
*มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
22 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
29
นิยาม
NRC : Noise Reduction Coefficient
is only the average of mid-frequency sound absorption coefficient
(250,500,1000 and 2000 Hz.) rounded to the nearest 5%.

STC : Sound Transmission Class ratings


represent a convenient acoustic rating in a single number form Obtained by
testing at various frequencies and Calculating the Sound Transmission Loss (STL).

23 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


30

STC

24 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


5
Units of measurement
 Noise level of a source is called Sound Power Level ( SWL )
 Noise level measured away from source is called : Sound Pressure Level
( SPL )
 EC Directive 2000/14
 From 3rd January 2006, stage II of 2000/14/EC came into effect, and the
guaranteed sound power level is calculated using formula :

SWL=95+ Log Pel = dB


 Product of 400 kW prime and above is only required to be marked with the Lwa
figure calculated from the development test results.
25 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
6 Single value noise marking

26 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


7 Generating Set Sources of Noise
Generator noise fails into 6 main categories.
 Engine noise 100 -110dB(A) @1m
 Cooling fan noise 100-105dB(A) @1m
 Alternator noise 80 – 90dB(A) @1m
 Induction noise 80 – 90dB(A) @1m
 Structural/Mechanical noise – vibration, Gears
etc.
 Engine Exhaust unsilenced 120-130dB(A) @1m
needs to be specifically taken care of
27 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
9
Effects of multiples sources
Addition of Decibels
Sound pressure levels in decibels (dB) Numerical Amount to be

or A-weighted decibels [dB(A)] are


to the
difference added
between two noise higher of the two noise

based on a logarithmic scale . They levels [dB(A)] levels [dB or dB(A)]

cannot be added or subtracted in the 0 3


usual arithmetical way. If one machine 0.1 - 0.9 2.5
emits a sound level of 90 dB, and a 1.0 - 2.4 2
second identical machine is placed 2.4 - 4.0 1.5
beside the first, the combined sound 4.1 - 6.0 1
level is 93 dB, not 180 dB. 6.1 - 10 0.5
10 0
28 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
11
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉ.15 (2540)
• ไม่เกิน 115 dBA
• เฉลีย่ 24 ชม. ไม่เกิน 70 dBA
 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉ.29 (2550) - ค่าเสียงรบกวน
• > 10 dBA
 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม - ค่าระดับเสียงรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจากการประกอบกิจการ
โรงงาน(2548)
• ไม่เกิน 115 dBA
• เฉลีย่ 24 ชม. ไม่เกิน 70 dBA
• ค่าเสียงรบกวน ไม่เกิน 10 dBA
 กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สิ่งแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่างและเสียง (2549)
• เฉลี่ยตลอดระยะเวลาทางาน 8 ชม. ไม่เกิน 85 dBA
29 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
การออกแบบระบบป้องกันเสียงจะต้องคานึงถึงและติดตั้ง
31
อุปกรณ์ป้องกันเสียงดังนี้:-
1. ผนังห้องจะต้องใช้วัสดุที่มีความอ่อนนุ่ม มีคุณสมบัติในการเก็บและดูดซึมเสียงได้ดีบุผนัง
โดยค่าของเสียงที่ถูกดูดซึม หรือ Noise Reduction (NR) สามารถหาได้จากสูตร:-
A1
NR = 10log A0

A0 = คุณสมบัติในการเก็บ และดูดซึมเสียงก่อนบุผนังห้อง
A1 = คุณสมบัติในการเก็บ และดูดซึมเสียงหลังจากบุผนังห้อง
หมายเหตุ A0 = A 0 หน่วยเป็น SABIN
A1 = A 1 หน่วยเป็น SABIN
0,1 = Coefficient of absorption
*Noise Control Reference Handbook
30 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ค่าสัมประสิทธิ์ในการเก็บและดูดซึมเสียง
(Coefficient of Sound Absorption)
32
วัสดุ 125 Hz 250 Hz 500 Hz 1000 Hz 2000 Hz 4000 Hz
อิฐไม่เคลือบเงา 0.03 0.03 0.03 0.04 0.05 0.07
อิฐทาสี 0.01 0.01 0.02 0.02 0.02 0.03
คอนกรีตบล็อก 0.36 0.44 0.31 0.29 0.39 0.25
คอนกรีตบล็อกทาสี 0.10 0.05 0.06 0.07 0.09 0.08
คอนกรีต 0.01 0.01 0.015 0.02 0.02 0.02
ไม้ 0.15 0.11 0.10 0.07 0.06 0.07
แก้ว, หน้าต่างกระจก 0.35 0.25 0.18 0.12 0.07 0.04
ปลาสเตอร์ 0.013 0.015 0.02 0.03 0.04 0.05
ไม้อัด 0.28 0.22 0.17 0.09 0.10 0.11
กระเบื้อง 6 ปอนด์/ลบ.ฟุต 0.02 0.03 0.03 0.03 0.03 0.02
ไฟเบอร์กลาส 0.48 0.82 0.97 0.99 0.90 0.86
ใยหินหนา 2 นิ้ว 0.36 0.91 1.19 1.20 1.07 1.05
(ความหนาแน่น 80 กก./ลบ.เมตร)
31 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
การออกแบบระบบป้องกันเสียงจะต้องคานึงถึงและ
ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสียงดังนี้:-
33

2. ช่องเปิดต่างๆ เช่น ช่องอากาศเข้า (Air Inlet) และช่องอากาศออก (Air Outlet) จะต้องติดตั้ง


Sound Attenuator โดยค่าของเสียงที่ถูกดูดซึม หรือ Noise Reduction (NR) สามารถ หาค่าได้จาก
สูตร:-

 L
P
NR = 12.6 S
1.4

P = ความยาวเส้นรอบรูปของลูก Sound Attenuator (นิ้ว)


S = พื้นที่ช่องว่างภายใน Sound Attenuator (ตารางนิ้ว)
L = ความยาวของ Sound Attenuator (ฟุต)
 = สัมประสิทธิ์ในการเก็บและดูดซึมเสียงของวัสดุ
*Handbook of Industrial Noise Control
32 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
การออกแบบระบบป้องกันเสียงจะต้องคานึงถึงและ
ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสียงดังนี้:-
34

3 ในพื้นที่โล่งระดับเสียงที่ลดลงเนื่องจากระยะห่างของจุดที่จะทาการวัดระดับเสียง โดยทุกๆ
ระยะทางเป็น 2 เท่าระดับเสียงจะลดลง 6 dBA หรือสามารถหาได้จากสูตร:-

X1
NR = 20log X0

X1 = ระยะห่างจากจุดกาเนิดเสียงที่จะทาการวัดระดับเสียง (เมตร)
X0 = ระยะทางมาตรฐานที่ผู้ผลิตเครื่องจักร หรืออุปกรณ์กาหนดระดับความดังของเสียงไว้ เช่นเครื่องยนต์มี
ระดับความดังของเสียง 103 DB ที่ระยะห่าง 1 เมตร เป็นต้น มีหน่วยเป็น เมตร

*Cummins-Onan Application Manual


33 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
35
งานติดตั้งผนัง Soundproof

34 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


55

รูปแสดงการติดตั้งระบบป้องกันเสียง (Soundproof System)


35 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
56

รูปแสดงการติดตั้งระบบป้องกันเสียง (Soundproof System)


36 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
57

รูปแสดงการติดตั้งระบบป้องกันเสียง (Soundproof System)


37 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ระบบระบายอากาศ
(Ventilation System)

38 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
31
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
ระบบระบายอากาศ (Ventilation system) ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• เป็นระบบระบายความร้อนที่แผ่ออกมาจากเครื่องยนต์ (Engine) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator)
และอุปกรณ์ต่างๆภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า การไล่แก๊สไอเสียที่อยู่ภายในห้องเครื่องออกไป
ภายนอกห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า รวมถึงการนาอากาศดีเข้ามาเพื่อใช้ในการจุดระเบิดของเครื่องยนต์
(Combustion air)
• การออกแบบระบบระบายอากาศจะต้องออกแบบให้ความดันภายในห้องเป็นลบเล็กน้อย และเมื่อเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าทางานประตูทุกบาน จะต้องปิดเพื่อให้อัตราการไหลของอากาศเป็นไปตามที่ได้ออกแบบไว้
• ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ที่มีการเผาไหม้ เช่น หม้อไอน้า (Boiler)ภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพราะมี
ผลกระทบกับประสิทธิภาพของการระบายอากาศภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
39 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
4
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ความเร็วลมเข้าเฉลี่ยสูงสุด 500–700 fpm (150 – 220 เมตร/นาที)
• ตาแหน่งช่องอากาศเข้า
o อยู่ด้านหลังเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
o ตรงข้ามกับ
 ชุดหม้อน้าระบายความร้อน
 หรือช่องอากาศออก
o ไม่มีสิ่งกีดขวาง
o ตาแหน่งต่าที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
40 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
9
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• อากาศเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
o นาเข้าโดยตรงจากภายนอกอาคาร
o ปริมาณเพียงพอสาหรับ
- การระบายความร้อนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
- การสันดาปของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

41 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
10
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
ตาแหน่งช่องอากาศเข้าห้องกาเนิดไฟฟ้า
• ต้องไม่ติดตั้งใกล้บริเวณปลายท่อไอเสีย
• ระยะห่างระหว่างช่องอากาศเข้าและปลายท่อไอเสียต้องห่างกัน ไม่น้อย
กว่า 5 เมตร
• ช่องอากาศเข้า (Inlet air) และอากาศออก (Outlet air) จะต้องไม่อยู่บน
ผนังเดียวกัน

42 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
7
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)

รูปแสดงการติดตั้งจานวนมากกว่า 1 ชุดและตาแหน่งของช่องอากาศเข้า
43 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
5
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ตาแหน่งช่องอากาศออก
o อยู่ด้านหน้าชุดหม้อน้า ระบายความร้อน
o ความเร็วลมออกเฉลี่ยสูงสุด 750 – 1,050 fpm.
(225- 315 เมตร/นาที)
o ตาแหน่งสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
• ช่องอากาศออกจะต้องติดตั้งเพื่อระบายลมร้อนออก
นอกอาคาร (Downwind side)
• ท่อนาอากาศออกจากรังผึ้งระบายความร้อน (Radiator
discharge duct) จะต้องเป็นชนิด Self – supporting
44 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
33

45 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
36
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
ขนาดช่องอากาศเข้าและช่องอากาศออก
A = EFFECTIVE FLOW AREA (sq.ft)
A = V/S V = VOLUMETRIC FLOW (cfm)
S = AIR VELOCITY (ft/min)
Rule of Thumb
ช่องอากาศออก = 1.2 เท่าของพื้นที่ปล่องลมหม้อน้า
ช่องอากาศเข้า = 1.5 เท่าของพื้นที่ชอ่ งอากาศออก

หมายเหตุ : ค่าข้างต้นเป็น NET OPENING AREA ของช่องเปิด


46 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
TYPICAL AIR MOTION CONDITION
AIR VELOCITY (fpm) CONDITIONS
50 OFFICES, SEATED
WORKER
100 FACTORY, STANDING
WORKER
150 CAPTURE VELOCITY,
LIGHT DUST
1,300 CAPTURE VELOCITY, RAIN
47 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
38

Air Inlet Air Outlet


Louver Louver

48 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


39

49 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


40

50 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


42

51 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• ขณะที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากาลังเดินเครือ่ งจ่ายกระแสไฟฟ้าเต็มที่ ปริมาณอากาศที่ไหลผ่านห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าต้องมีปริมาณเพียงพอที่จะรักษาอุณหภูมิสูงสุดภายในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไม่ให้สูง
เกินค่าอุณหภูมิสูงสุด ( 40 °C ทั้งนี้ให้วัดอุณหภูมิที่ทางเข้าเครือ่ งกรองอากาศ)
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 อากาศสาหรับระบายความร้อนห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและ
อากาศสาหรับใช้ในการสันดาปต้นกาลัง จะต้องนามาจากภายนอกอาคารโดยตรง กรณีใช้ระบบส่ง
อากาศจากภายนอกอาคารจะต้องส่งผ่านระบบที่สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
• ช่องลมออก (Radiator air discharge) ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 จะต้อง
ส่งผ่านระบบที่สามารถทนไฟได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่จ่ายให้โหลดระดับ 1 ไม่อนุญาตให้ใช้ Fire damper, Shutters หรือ Self –
closing devices อื่นๆ ที่ช่องลมเข้า – ออก หรือระบบท่อสาหรับดูดหรือจ่ายอากาศเข้า-ออกห้อง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
52 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
โหลดระดับ 1 (Level 1)
เป็นระบบการจ่ายไฟฟ้าสาหรับอุปกรณ์ที่กรณีเกิดความล้มเหลวของระบบการจ่ายไฟฟ้าแล้วอุปกรณ์นั้น
ไม่สามารถทางานตามปกติได้และเป็นเหตุให้เกิดการสุญเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บหนักได้
• ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินเพื่อการช่วยชีวิต (Life safety illumination)
• ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire detection and alarm systems)
• ระบบลิฟท์ (Elevators)
• เครื่องสูบน้าดับเพลิง (Fire pumps)
• ระบบสื่อสารสาธารณะ (Public safety communications systems)
• กระบวนการผลิตอื่นที่เมื่อหยุดกระบวนการแล้วเป็นเหหตุให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต หรือ สุขอนามัย (Industrial processes where
current interruption would produce serious life safety or health hazards)
• ระบบระบายอากาศและระบบระบายควันไฟที่จาเป็น (Essential ventilating and smoke removal systems)
• ระบบอื่นที่พิจารณาแล้วเห็นควรจัดให้อยู่ในระดับ 1
53 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• มีค่าไม่เกิน 125 Pa (0.50 นิ้วน้า กรณีรังผึ้งระบายความ
ร้อนติดตั้งอยู่บนฐานแท่นเดียวกับชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้าค่า
Total airflow restriction ของลมเข้า –ออกจากห้อง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ารวมระบบท่อลมที่ช่องลมออก จะต้องไม่
เกินค่า Static head ของพัดลมระบายความตาม
ข้ อ ก าหนดของบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต แต่ ถ้ า ไม่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ ห้ ค่ า
Max.air flow restriction )
• กาแพงกันลมหรือกันเสียง (Wind/ Noise barrier)
ด้านหน้าหม้อน้า จะต้องมีระยะห่างจากตัวอาคารไม่น้อย
กว่า 2 เท่าของความสูงขนาดช่องลมออก (2 x)
• อุณหภูมิที่เหมาะสมของห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องไม่เกิน
100 °F (40 °C) ให้วัดที่ด้านทางเข้าเครื่องกรองอากาศ (Air
54
Filter)
สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและความต้องการในการติดตั้ง
(Generator Room, Foundation and Installation Requirements)
• การค านวณหาปริ ม าณอากาศรวมส าหรั บ ห้ อ งเครื่ อ ง Q = ปริมาณอากศที่ต้องการ (cfm. หรือ m3/min)
กาเนิดไฟฟ้า (Total air flow calculation)ปริมาณ H Total = ปริมาณความร้อนรวมที่แผ่ออกมาจากเครื่องกาเนิด
อากาศสาหรับระบายความร้อนห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ไฟฟ้าและอุปกรณ์อื่น ๆ ภายในห้องเครื่องกาเนิด
เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในห้องให้มีค่าเหมาะสมสามารถหา
ได้จากสูตร ไฟฟ้า (BTU/min หรือ MJ/min)
Cp = ความร้อนจาเพาะความดันอากาศคงที่
= 0.241 BTU/lb-oF หรือ 1.01 x 10-3 MJ/kg- oC
T = ผลต่างของอุณหภูมิภายในและนอกห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า (oF หรือ oC)
d = ความหนาแน่นของอากาศ (Density of air)
= 0.0754 lb/ft3 หรือ 1.21 kg/m3
55 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
51
ตัวอย่างที่ 1
เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าติดตั้งอยู่ภายในห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าให้ความร้อนที่แผ่สู่บรรยากาศโดยรอบ
(Radiated heat to room) 8,764 BTU/min, ระบบท่อไอเสียประกอบด้วยท่อไอเสีย (Exhaust pipe)
เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต, ท่อไอเสียแบบอ่อน (Flexible exhaust pipe) ยาว 2 ฟุต และหม้อพักไอ
เสีย (Muffler) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ต้องการอากาศสาหรับระบายความร้อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
(Alternator) 5,700 cfm., เครื่องยนต์ขับต้องการอากาศสาหรับการจุดระเบิด (Combustion air flow
requirement) 2,775 cfm. โหลดต่าง ๆ เช่น ความร้อนจากผนัง, หลังคาและแหล่งส่องสว่าง (Heat
from wall, roof, lighting) รวมทั้งหมด 10 KW อุณหภูมิบรรยากาศภายนอกห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
35oC กาหนดให้ อุณหภูมิภายในห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าสูงไม่เกิน 40oC พัดลมเครื่องยนต์สามารถให้
ปริมาณอากาศสาหรับระบายความร้อนชุดเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า (Cooling system air flow or Radiator
cooling air) มีค่าเท่ากับ 60,000 cfm.
จงคานวณหาปริมาณอากาศที่ต้องการในการระบายอากาศเพื่อรักษาอุณหภูมิภายในห้องเครื่องยนต์กาเนิด
ไฟฟ้าไม่ให้สูงเกิน 40oC และขนาดพัดลมช่วย (ถ้ามี)
56 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
สรุปข้อมูลจากตัวอย่าง
• ความร้อนที่แผ่สู่บรรยากาศโดยรอบ 8,764 BTU/min
• ระบบท่อไอเสียประกอบด้วย
- ท่อไอเสีย ขนาด 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต
- ท่อไอเสียแบบอ่อน ขนาด 2 ฟุต
- หม้อพักไอเสีย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว
• อากาศสาหรับระบายความร้อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 5,700 cfm
• อากาศสาหรับการจุดระเบิด 2,775 cfm
• โหลดต่างๆ 10 kW
• อุณหภูมิภายนอกห้องเครื่อง 35 องศาเซลเซียส
• อุณหภูมิในห้องเครื่องสูงไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส
• ปริมาณอากาศจากพัดลมเครื่องยนต์ 60,000 cfm
57 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
• ขั้นตอนที่ 1: หาความร้อนเข้าสู่ห้องที่ปล่อยออกมาจากเครื่องยนต์ (H e)
53
ความร้อนที่แผ่ (Radiated heat) สู่บรรยากาศโดยรอบ (H e) = 8,764 BTU/min
• ขั้นตอนที่ 2: หาความร้อนที่ปล่อยออกมาสู่ห้องจากหม้อพัก (Muffler) และระบบท่อไอเสีย
(Exhaust piping)
Pipe Diameter Inches (mm) Heat Form Pipe Btu/min/ft Heat From Muffler Btu/min
(kJ/min/m) (kJ/min)
3 (76) 87 (301) 922 (973)
3.5 (98) 99 (343) 1047 (1105)
4 (102) 112 (388) 1175 (1240) ตารางค่าความร้ อนโดยประมาณที่
5 (127) 139 (481) 1501 (1584) แผ่จากระบบท่อเก็บเสียงไอเสียและ
6 (152) 164 (568) 1944 (2051) ท่อไอเสียซึ่งไม่ได้หุ้มฉนวนกันความ
8 (203) 213 (737) 2993 (3158)
ร้อน (Estimated Heat Emitted
10 (254) 268 (928) 3668 (3870) from Un-insulated Exhaust
12 (305) 318 (1101) 5463 (5764) Piping and Mufflers)
14 (356) 367 (1270) 8233 (8686)
58 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
ระบบหม้อ54พักและท่อไอเสียจะปล่อยความร้อนเข้าสู่ห้องเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า (Generator set room)
• ใช้ตารางความร้อนที่ปล่อยออกมาโดยประมาณสาหรับระบบหม้อพักและท่อไอเสียที่ ปราศจากการห่อหุ้ม
แบบอ่อน (Flexible exhaust pipe) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 2 ฟุต (Equivalent length = 2
x 2 = 4 ฟุต)
ความร้อนที่ปล่อยออกมาจากท่อไอเสียแบบอ่อน(H p1) = 4 x 164 = 656 BTU/min
ความร้อนที่มาจากท่อไอเสียขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว ยาว 20 ฟุต (H p2)
=20 x 164 = 3,280 BTU/min
ความร้อนที่มาจากหม้อพัก (Muffler) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว (H p3) = 1,944 BTU/min
ความร้อนรวมทั้งสิ้นทีป่ ล่อยจากหม้อพัก (Muffler) และท่อไอเสีย (Exhaust pipe) เข้าสู่ห้อง
Hp = H p1 + H p2 + Hp3
= 656 + 3,280 + 1,944
= 5,880 BTU/min
59 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
• ขั้นตอนที่ 3: หาความร้อนที่ปล่อยออกมาจากแหล่งความร้อนอื่นเข้าสู่ห้อง (H Aux)
55
ความร้อนจากผนัง หลังคาและแหล่งส่องสว่าง (Heat from wall, roof, lighting)
= 10 KW = 3,142.412 x 10/60 = 568.69 BTU/min
approx. 570 BTU/min

• ขั้นตอนที่ 4: คานวณหาความร้อนรวมที่ปล่อยเข้าสู่ห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดความร้อนทั้งหมด โดย


การหาผลรวมจากขั้นตอนที่หนึ่งถึงสาม ดังนี้
H TOT = H e + H p + H AUX ……………………….. (1)
= 8,764 + 5,880 + 570 BTU/min
= 14,644 BTU/min

60 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


• ขั้นตอนที่ 5: หาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดของห้องที่ยอมรับได้
การหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดของห้องเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าที่ยอมรับได้นั้น อย่างแรก คือ หาผลต่างของอุณหภูมิมาก
ที่สุดภายนอกห้อง (Maximum outdoor temperature (MAX T out)) และอุณหภูมิที่มากที่สุดของห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ที่ยอมรับได้ (Maximum acceptable room temperature (Max T room))
T = Max T room - MAX T out ………………………… (2)
= 40oC – 35oC
= 104oF – 95oF
= 9oF

• ขั้นตอนที่ 6: หาความต้องการระบายความร้อนของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator cooling air requirement)


อากาศสาหรับระบายความร้อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Alternator cooling air) มีค่า 5,700 cfm.

61 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


• ขั้นตอนที่ 7 : หาความต้องการการไหลเวียนของอากาศในการเผาไหม้ (Combustion air flow requirement)
พิจารณาได้จากดาต้าชีท Engine data sheet ซึ่งการไหลเวียนของอากาศ (Intake air flow) มีค่า 2,775 cfm.

• ขั้นตอนที่ 8 : หาความต้องการปริมาณของอากาศที่ไหลเวียนผ่านห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทั้งสิ้น
อย่างแรก ปริมาณอากาศไหลเวียนที่ต้องการเพื่อนาไปออกแบบการเพิ่มของอุณหภูมิของห้องนั้นคานวณได้จาก
Q room = H TOT …………………………. (3)
(Cp ) ( T) (d)
Where Q room = Minimum forced ventilation air flow
H TOT = Total heat emitted to room (STEP 4) = 14,644 BTU/min
Cp = Specific heat of air = 0.241 BTU/Ib/oF
T = Generator set room temperature rise (STEP 5) = 9oF
d = density of air = 0.0750 lb/ft3
14,644
Q room = cfm = 90,019.98 cfm.
0.241 9  0.075

62 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ขั้นต่อมาทาการรวมค่านี้เข้ากับความต้องการอากาศหล่อเย็นสาหรับเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าจากขั้นตอนที่ 6 และความ
ต้องการอากาศในการเผาไหม้ในขั้นตอนที่ 7
Q TOT = Q room +Q air + Q com
= 90,019.98 + 5,700 + 2,775 cfm.
ดังนั้น ผลรวมของความต้องการการไหลเวียนของอากาศสาหรับระบบระบายอากาศในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า คือ
98,494.98 cfm
• ขั้นตอนที่ 9 หาความต้องการพัดลมสาหรับระบบระบายอากาศสารอง (Auxiliary ventilation fan
requirement)
โดยที่อัตราการไหลของอากาศสาหรับระบายความร้อนชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 60,000 cfm. ซึ่งน้อยกว่า
ผลรวมของความต้องการการไหลเวียนของอากาศสาหรับระบบระบายอากาศในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (98,494.98)

ดังนั้นจึงต้องติดตั้งพัดลมช่วย (Auxiliary ventilation fan) สาหรับระบายอากาศเพื่อรักษาอุณหภูมิภายในห้องเครื่อง


กาเนิดไฟฟ้าไม่ให้สูงเกิน 40oC มีขนาดเท่ากับ 98,494.98 – 60,000 cfm. = 38,494.98 cfm.
63 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
Air Inlet with sound
Air Inlet Louver with
attenuator screen

Damper
Air Outlet Louver Gravity Shutter

64 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


ตัวอย่างที่ 2
เครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้าขนาด 500 KVA. มีปริมาณอากาศสาหรับการเผาไหม้หรือจุดระเบิด (Combustion air) 1,300 cfm,
ปริมาณอากาศสาหรับระบายความร้อนชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Cooling system air flow) 24,000 cfm กาหนดให้
ความเร็วลมเข้าห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Inlet air velocity) ไม่เกิน 700 ฟุต/นาที และความเร็วลมออกจากห้องเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้า (Outlet air velocity) ไม่เกิน 1,050 ฟุต/นาที ให้หาขนาดพื้นที่สุทธิ (Free area) ของช่องลมเข้า (Inlet air)
และช่องลมออก (Outlet air) ของห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• ข้อมูลทางด้านเทคนิค
(ก) Combustion air = 1,300 cfm.
(ข) Cooling system air flow = 24,000 cfm.
(ค) Inlet air velocity = 700 ft / min
(ง) Outlet air velocity = 1,050 ft / min

65 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


• การคานวณ
(ก) การคานวณหาขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมออก (Free area of air outlet)
สูตร:- Q = AV
Q = Cooling system air flow
= 24,000 cfm.
V = Outlet air velocity
= 1,050 ft / min
A = Free area of outlet air
A = 24,000 / 1,050 ft2
= 22.86 ft2
ดังนั้นขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมออก  2.10m2

66 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี


(ข) การคานวณหาขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมเข้า (Free area of air Inlet)
สูตร:- Q = AV
Q = Cooling system air flow + Combustion air
= 24,000 + 1,300 cfm.
= 25,300 cfm.
V = Inlet air velocity
= 700 ft/min หมายเหตุ ตัว อย่า งที่ 2 นี้ใ ช้ในกรณี ที่
A = Free area of Inlet air ผลรวมของความต้องการการใหลเวียน
A = 25,300 / 700 ft2 ของอากาศสาหรับระบบระบายอากาศ
= 36.14 ft2 ในห้องเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีปริมาณน้อย
กว่า Cooling System air flow ของ
ดังนั้นขนาดพื้นที่สุทธิของช่องลมเข้า  3.32m 2
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
67 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
End

68 สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย-นายธวัช มีชัย/นายสุชาติ จงควินิต/นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี

You might also like