You are on page 1of 91

บทที่ 1

ปรัชญาทัวไปของระบบป้
่ องกัน
( General Philosophies of Protective System )

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 1


1.1 บทนำ
- พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานที่ส ำคัญ
- การพัฒนาอุตสาหกรรมนัน้ ต้องการพลังงานไฟฟ้ า
ในปริมาณที่มาก
- การปฏิบตั ิ การของระบบไฟฟ้ า บางครัง้ อาจเกิด Fault ขึน้ ได้
Faults มีสาเหตุหลายประการ เช่น
1. ฉนวนเสียหาย
2. อุบตั ิ เหตุทางกล
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 2
เมื่อเกิด Fault กระแสไฟฟ้ าที่ไหลจะสูงมาก
เป็ นสาเหตุทำให้

- เกิดความร้อนสูง ( Overheating )
- เกิดแรงดันตกและแรงดันเกิน
( Undervoltage and Overvoltage )
- เกิดความถี่ต่ำ ( Under Frequency )
- สูญเสียซิงโครนิซึม ( Loss of Synchronism )

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 3


- ระบบไฟฟ้ าจึงจำเป็ นต้องมี
ระบบการป้ องกัน ( Protection System )
เพื่อลดความเสียหาย ต่ออุปกรณ์และระบบ

- ระบบการป้ องกันส่วนมากใช้
ระบบ Relay ป้ องกัน ( Protective Relay System )

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 4


1.2 ส่วนประกอบของระบบไฟฟ้ า

ระบบไฟฟ้ าทัวไปจะประกอบด้
่ วย 3 ส่วน คือ
- อุปกรณ์ไฟฟ้ ากำลัง ( Power Apparatus )
- อุปกรณ์ควบคุม ( Control Equipment )
- อุปกรณ์ป้องกัน ( Protective Equipment )
ดังรูปที่ 1.1

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 5


C o n tro l E q u ip m en t

P ro tectio n E q u ip m en t

P ow er A p p a ratu s

รูปที่ 1.1 ส่วนประกอบของระบบไฟฟ้ า


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 6
1 ) Power Apparatus
- Generators , Transformers
2 ) Control Equipment
- Equipment for controlling power system
at normal operating condition
e.g. Voltage , Frequency , Power Flow
3 ) Protection Equipment
- Circuit Breakers , Protective Relays

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 7


1.3 ระบบไฟฟ้ า

ระบบไฟฟ้ า แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ


- Radial System

- Network System

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 8


Radial System

- มีแหล่งจ่ายเพียงแหล่งเดียว

- กระแสไหลทิศทางเดียว

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 9


F rom T ran sm ission
N etw ork
S w itch S w itch S w itch

M ain
T ran sform er F u se

L oad L oad

L oad

รูปที่ 1.2 Radial System


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 10
ระบบ Radial System

ข้อดี

ง่ายที่สดุ และประหยัดที่สดุ

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 11


ข้อเสีย
1. ถ้าแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ าเกิดขัดข้อง
จะไม่มีกระแสไฟฟ้ าจ่ายให้กบั ระบบทัง้ ระบบ

2. ถ้าอุปกรณ์ต้นทางเปิดวงจร อุปกรณ์ที่อยู่ถดั จาก


อุปกรณ์ตวั นี้ ไปจนถึงอุปกรณ์ปลายทาง
จะไม่มีไฟฟ้ าใช้

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 12


ข้อเสีย

3. กระแส Fault ไหลจากแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ า


ไปยังจุดที่เกิด Fault ได้เพียงทิศทางเดียว

4. ความเชื่อถือได้ของระบบค่อนข้างต่ำ คือ
ถ้าแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ าเกิดความผิดพร่องขึน้
ทัง้ ระบบจะไม่มีไฟฟ้ า
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 13
Network System

- มีแหล่งจ่ายตัง้ แต่
2 แหล่งขึน้ ไป

- กระแสอาจไหลได้
2 ทิศทาง

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 14


C ircu it B reak ers
G

L o ad

L oad

L oad

รูปที่ 1.3 Network System

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 15


Network System (ต่อ)
ข้อดี
- เป็ นระบบที่มีแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ าหลายแหล่งในระบบเดียวกัน
และมีวงจรเป็ นวงจรปิดอีกหลายวงต่อเชื่อมกันอยู่

- มีความยืดหยุ่นในการจ่ายพลังงานไฟฟ้ า หากแหล่งจ่ายไฟอันหนึ่ ง
ไม่สามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้ าได้ แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้ า แหล่งอื่นๆ
ก็สามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้ าทดแทน จึงไม่ทำให้ ระบบไฟฟ้ า
ทัง้ หมดหยุดทำงาน
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 16
Network System (ต่อ )
ข้อดี
- การซ่อมบำรุงและการดูแลรักษามีความสะดวกสบาย
มากกว่าระบบ Radial

- ถ้าแหล่งจ่ายไฟตัวใดตัวหนึ่ ง หรือสายส่งเส้นใดเส้นหนึ่ ง
หลุดออกจากระบบไฟฟ้ า จะส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม
น้ อย

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 17


Network System (ต่อ)
ข้อดี (ต่อ..)
- กระแส Fault สามารถไหลหลายๆ ทิศทาง
- ความเชื่อถือได้ของระบบสูงกว่าระบบแบบ Radial คือ
โอกาสที่ไฟจะดับมีน้อยลง
จึงนิยมใช้ในการออกแบบสถานี ไฟฟ้ า ย่อย( Substation )
เพื่อทำให้ระบบไฟฟ้ ามีความเชื่อถือได้มากขึน้
มีความยืดหยุ่นในการส่งจ่ายพลังงาน และยัง
สะดวกในการบำรุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ โดยไม่ส่งผลต่อ
การจ่ายพลังงานไฟฟ้ ามากนัก
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 18
Network System ( ต่อ )
ข้อเสีย

- ระบบต้องใช้แหล่งจ่ายหลายแหล่ง
และมีราคาสูงกว่า แบบ Radial

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 19


1.4 การจัดเรียง Bus

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 20


1.4 การจัดเรียง Bus

Bus ซึ่งเป็ นจุดรวมของอุปกรณ์ก ำลังต่างๆ สามารถ


จัดเรียงได้หลายแบบ ดังนี้
- Single Bus , Single Breaker
- Two Bus , One Breaker
- Two Bus , Two Breaker
- Ring Bus
- Breaker and a Half
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 21
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)

1 ) Single Bus , Single Breaker ( Radial Bus )

- การจัดเรียงบัสด้วยวิธีนี้เป็ นการจัดเรียงบัสที่ง่าย

ที่สดุ

- เป็ นการจัดเรียงบัสแบบประหยัด แต่มีความยืดหยุ่น

ต่ำ

07/04/23 - ไม่สะดวกในการซ่ ยพัฒน์ง เนื่ องจากต้องเปิดวงจร22


ผศ. ประสิทธ์ ิ พอิ ทมบำรุ
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
M ain B u s

D isc o n n ec t
S w itc h

C ir cu it B re a k er

C ir cu it

รูปที่ 1.4 Single Bus , Single Breaker


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 23
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
2 ) Two Bus , One Breaker ( Main and Transfer Bus )
- การซ่อมบำรุงสามารถทำได้โดยไม่ต้องตัดการส่งจ่าย
พลังงานไฟฟ้ า

- เมื่อต้องการซ่อมบำรุง CB ที่ต่อกับบัสที่ 2 ก็สามารถ


ทำได้โดยการถ่ายโอนสายส่ง ที่ต่ออยู่กบั บัสที่ 2 ไปยัง
บัสที่ 1

- สามารถซ่อมบำรุง CB ได้เพียงครัง้ ละ 1 ตัวเท่านัน้


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 24
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
M a in B u s

D isc o n n ec t
S w itc h

T ra n sfe r
C ir c u it B r e a k e r
C irc u it
B re a k e r
(N .O .)

T r a n sfer
N.O.

N.O.

N.O.
S w itc h

T ra n sfe r B u s
C ir c u its C ir c u its

รูปที่ 1.5 Two Bus , One Breaker


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 25
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)

3 ) Two Bus , Two Breaker ( Double Breaker )

- ทุกๆ บัสและทุกๆ CB สามารถปลดออกจากการ


ส่งจ่ายไฟฟ้ าได้

- ถ้าหากเกิด Fault ที่สายส่ง ก็จะต้องการการเคลียร์ Fault


โดย CB 2 ตัว

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 26


1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)

3 ) Two Bus , Two Breaker ( Double Breaker ) ( ต่อ )

- ถ้าหากเกิด Fault ที่บสั จะทำให้ CB ทัง้ หมดที่ต่อกับบัส


ที่ Fault ทริพ ( Trip ) แต่จะไม่ส่งผลถึงบัสหรือสายส่ง
เส้นอื่นๆ ที่ไม่ได้ต่อกับบัสที่เกิด Fault
- เป็ นการจัดเรียงบัสที่มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูงที่สดุ
- จำนวนของ CB จะเท่ากับ 2 เท่าของจำนวนสายส่ง

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 27


1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
C ir cu its
B us N o. 1

D isc o n n e c t
S w itc h

C ir c u it B r e a k er

C ir c u it B r e a k er

B us N o. 2
C ir cu its

รูปที่ 1.6 Two Bus , Two Breaker


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 28
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)

4 ) Ring Bus
- วงแหวนจะเกิดการแยกออกจากกัน
เมื่อ CB ตัวใดตัว
หนึ่ งถูกตัดออกเพื่อการซ่อมบำรุง

- ทำให้ระบบแบบนี้ มีความยืด
หยุ่นน้ อย
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 29
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
L oad

L in e D isco n n ect
S w itch

S o u rce
D isco n n ect
S w itch
C ircu it B re a ker

S o u rce

L oad

รูปที่ 1.7 Ring Bus


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 30
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
5 ) Breaker and a Half
- เป็ นการจัดเรียงบัสที่ใช้กนั มากที่สดุ ในระบบแรงดันสูง
และแรงดันสูงพิเศษ ( Extra High Voltage System )

- เป็ นระบบที่มีความยืดหยุ่นเท่ากับระบบ Two Bus ,


Two Breaker แต่ใช้จ ำนวน CB น้ อยกว่า

- เป็ นการจัดเรียงบัสที่สามารถขยายการจ่ายไฟ
ในอนาคตได้ง่าย
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 31
1.4 การจัดเรียง Bus (ต่อ)
C ir c u its M a in B u s N o . 1

L in e D isc o n n e c t
S w itc h

D is c o n n e c t S w itc h

C ir c u it B r e a k e r

C ir c u its M a in B u s N o . 2

รูปที่ 1.8 Breaker and a Half


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 32
ตัวอย่างที่ 1.1
จงแสดงความแตกต่างเมื่อเกิด Fault ของ Network System
และ Radial System ของระบบไฟฟ้ าดังรูป
วิธีทำ ใน Network Systemเนื่ องจากมีหลาย Sources
1 j0.1 3 Network System
1.00
2 j0.1
j0.1 Radial System
1.00 4 5 6 7 8 9
j0.4 j1.0 j1.0 j1.0
j0.3 j0.6

รูปประกอบตัวอย่างที่ 1.1
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 33
ตัวอย่างที่ 1.1 (ต่อ)
- Fault Current Contribution จะต้องนำมาพิจารณา
ในการออกแบบ Protection System
- ขนาดของ Fault Current จะเปลี่ยนแปลง
ตาม System Configuration
และ Installed Generation Capacity
จากรูปในตัวอย่างที่ 1.1
- Load ที่ Bus 2 ได้รบั ไฟฟ้ าจาก 2 ด้าน
ดังนัน้ ระบบมีแหล่งจ่ายที่เชื่อถือได้สงู
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 34
ตัวอย่างที่ 1.1 (ต่อ)
ถ้าเกิด Fault ขึน้ ที่ Bus 2
IF = - j20 pu เมื่อ Line ทัง้ หมดต่ออยู่
แต่ถ้า Line 2-3 ไม่ได้ต่ออยู่ จะได้
IF = - j10 pu
จะเห็นว่าค่ากระแสผิดพร่องลดลงเหลือเพียงครึ่งเดียว
ซึ่งมีผลอย่างมากในการออกแบบระบบป้ องกัน
ลองพิจารณาส่วน Distribution Feeder
07/04/23
ตัง้ แต่ Bus 4 ถึง Bus 9 ซึ่งเป็ น Radial System 35
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์
ตัวอย่างที่ 1.1 (ต่อ)
พิจารณาเมื่อเกิด Fault ขึน้ ที่ Bus 9
IF = - j0.23 pu ถ้า Gen. ทัง้ 2 ต่ออยู่
แต่ถ้า Gen. ขาดหายไปตัวหนึ่ ง จะได้
IF = - j0.229 pu
ซึ่งจะเห็นได้ว่า
ค่ากระแส Fault เปลี่ยนไปน้ อยมาก
เนื่ องจากค่า Impedance
ของ Transformers ิ และ์ิ ิ
Lines มีค่าสูง
07/04/23 ผศ. ประสทธ พทยพัฒน์ 36
1.5 Fault ของระบบไฟฟ้ า
Fault แบ่งออกเป็ น 2 แบบ
- Shunt Fault
- Series Fault

Shunt Fault
- Short Circuit Faults
Series Fault
- Lines Break
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 37
Faults
อาจเกิดขึน้ จากหลายสาเหตุ ดังนี้
1. การลัดวงจร ( Short Circuit )
2. การเกิดภาวะแรงดันสูง ( Over Voltage )
3. การเกิดความถี่ต ่ำ ( Under Frequency )
4. การเกิด Out Of Step
5. การเกิดโหลดเกิน ( Over Load )
6. การสูญเสียซิงโครนิซึม ( Loss Of Synchronism )

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 38


1.5 Fault ของระบบไฟฟ้ า (ต่อ)
สถิตการเกิด Fault
ตารางที่ 1.1 แสดงความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ผิดปกติในระบบไฟฟ้ า
อุปกรณ์ไฟฟ้ า % Fault ทัง้ หมด
Overhead Lines 50
Cables 10
Switchgear 15
Transformer 12
CTs and VTs 2
Control Equipment 3
Miscellaneous 8
Total 100
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 39
จากตารางที่ 1.1 เห็นได้ว่า

Fault ที่เกิดกับ Overhead Lines


- คิดเป็ นประมาณ 50% ของ Fault ทัง้ หมด

สาเหตุของ Overhead Lines Fault


- การ Break Down ของฉนวน
ระหว่างเฟสกับ Ground ทำให้เกิด
Single Line to Ground Fault ( SLG )
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 40
1.5 Fault ของระบบไฟฟ้ า (ต่อ)
ตารางที่ 1.2 ความถี่โดยประมาณของการเกิด Fault ที่แตกต่างกันของ
Fault ที่ปรากฏบน Overhead Lines

ชนิดของ Fault % การเกิด Fault


1. L - G 85
2. L - L 8
3. L - L - G 5
4. L - L - L 2
Total 100
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 41
จากตารางที่ 1.2 พบว่า

- L-G Fault เกิดบ่อยที่สด


ุ ถึง ประมาณ 85%

- SLG Fault แรงดันยิ่งสูง % จะมากขึน้


เนื่ องจากระยะระหว่าง เฟสมากขึน้
โอกาสที่จะเกิด Fault แบบ L-L, L-L-L ยากขึน้

- L-L-L Fault เกิดขึน้ เพียงประมาณ 2%


แต่โดยทัวไป
่ Fault แบบนี้ จะ รุนแรงที่สดุ
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 42
1.6 ส่วนประกอบของระบบป้ องกัน
BUS
7
1 : CB
8 6 2 : R ela y
2
3 : T rip C o il
4 : T rip C ircu it

1 3 5 : B a tteries
4 6 : R ela y C o n ta cts
7 : VT
a
8 : CT
a : A u x ilia ry C o n ta cts
5

รูปที่ 1.9 ส่วนประกอบของระบบป้ องกัน


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 43
1.6 ส่วนประกอบของระบบป้ องกัน (ต่อ...)
ระบบป้ องกันทัวไปมี
่ ส่วนสำคัญ 4 ส่วน คือ
1. Circuit Breaker , CB
2. Protective Relays
3. Trip Circuit
4. Current Transformer ; CT ,
Voltage Transformer ; VT
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 44
1.7 Circuit Breaker , CB
- ใช้ส ำหรับเปิดปิดวงจรในภาวะปกติ
- ภาวะผิดปกติจะตัดอย่างรวดเร็ว
โดยอัตโนมัติ
- ต้องทำงานร่วมกับ Protective Relays

ประเภทของ Circuit Breaker , CB

- Vacuum Circuit Breaker


- SF6 Circuit Breaker
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 45
1.7 Circuit Breaker , CB (ต่อ)
Vacuum Circuit Breaker
C o n n e c te d d isc

C e r a m ic in su la to r
- เป็ นการดับอาร์กที่ความดัน
A rc ch a m b er
ต่ำมาก
C o n ta c t p ie c es
- ติดตัง้ ภายในอาคาร

- Interrupter ไม่ต้องการ
C e r a m ic in su la to r

M eta l b ello w s
G u id e การบำรุงรักษา
M o v in g c o n ta c t
p ie c e te r m in a l

รูปที่ 1.10 Vacuum Circuit Breaker



07/04/23 ผศ. ประสิทธิ พิทยพัฒน์ 46
1.7 Circuit Breaker , CB ( ต่อ)
SF6 Circuit Breaker
ุ สมบัติ ดังนี้
- ก๊าซ SF6 มีคณ
• ไม่มีสี
• ไม่มีกลิ่น
• ไม่ติดไฟ
• ไม่ช่วยให้ไฟติด
• ทนความร้อนได้สงู
- ก๊าซ SF6 มีความหนาแน่ นมากกว่าอากาศ
- ก๊าซ SF6 มีแรงดันเบรกดาวน์ สงู มาก
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 47
Graph แสดงค่า Dielectric Strength ของ Insulations แบบต่างๆ

P.477
ABB Industrial

Comparison of Dielectric Strengths


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 48
Graph

0.1 MPa = 1 BAR ( 14.7 psi ) = 1 บรรญากาศ

Air - 18 kV / cm

SF6 - 42 kV / cm

Transformer oil - 88 kV / cm

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 49


1.7 Circuit Breaker , CB (ต่อ)
SF6 Circuit Breaker

รูปที่ 1.11 SF6 Circuit Breaker ABB / GIS Type ELK0 and ELK4
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 50
1.7 Circuit Breaker , CB (ต่อ)
SF6 Circuit Breaker
SF6 Circuit Breaker มี 2 ชนิด คือ
- Single Pressure หรือ Puffer Cylinder
เมื่อหน้ าสัมผัสของ CB แยกออกจากกันก๊าซ SF6
จะถูกอัด/เป่ ามาที่ล ำอาร์ค
โดยการพ่นจากหัวฉี ด ทำให้อาร์คดับได้
- Two Pressure หรือ Double Pressure
ก๊าซ SF6 จะถูกเป่ าที่ล ำอาร์ค ลักษณะการเป่ าจะคล้ายกับ Air
ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์
07/04/23 Blast Circuit Breaker 51
1.8 ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบป้ องกัน
Protective Relays
- รับการกระตุ้น จากสัญญาณที่แปลงจากระบบไฟฟ้ า
ผ่าน CT และ VT
- ตรวจจับภาวะผิดปกติ
- เมื่อพบภาวะผิดปกติ สัง่ CB ให้ Trip
โดยทำให้วงจร Trip ครบวงจร

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 52


1.8 ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบป้ องกัน (ต่อ)
Trip Circuit และ Batteries

- วงจรทริพ ประกอบด้วย
สายไฟฟ้ าและแบตเตอรี่

- ป้ อนกระแสเข้า Trip Coil


ของ Circuit Breaker

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 53


1.8 ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบป้ องกัน (ต่อ...)
Battery (+)
Relay Seal-in 30 +
Contacts Contact
Light
Seal-in
Target
52TC Trip Coil Light

52a CB aux. contact


30 -
Battery (-)
รูปที่ 1.12 วงจรที่ใช้ในการควบคุมการทริพ
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 54
1.8 ส่วนประกอบอื่นๆ ของระบบป้ องกัน (ต่อ...)
Current Transformer ; CT , Voltage Transformer ; VT

Standard Secondary:
- หม้อแปลงกระแส
1 A หรือ 5 A

- หม้อแปลงแรงดัน
110 V หรือ 120 V

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 55


1.9 คุณสมบัติของระบบป้ องกัน
Reliability
- ความเชื่อถือได้ของ Relay
Dependability
- ระบบป้ องกันต้องทำงานทุกครัง้ ที่เกิด Fault
- อาจต้องทำงานซ้ำๆ กัน หลายๆ ครัง้
- ต้องทำงาน แม้ไม่ได้ทำงานมาเป็ นเวลานาน
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 56
1.9 คุณสมบัติของระบบป้ องกัน (ต่อ...)
Security
- ระบบป้ องกันต้องไม่ทำงาน เมื่อไม่ต้องการให้ทำงาน
- ต้องไม่ทำงาน เมื่อไม่ใช่หน้ าที่ของมัน
Selectivity
- จำกัดพืน้ ที่ให้อยู่ในขอบเขตจำกัด
- เขตนี้ เรียกว่า Zone of Protection
Speed
- ตัดวงจรได้อย่างรวดเร็ว
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 57
ประเภทของ Relay ตามความเร็ว
1. Instantaneous Relay
- ไม่มีการหน่ วงเวลา
2. Time Delay Relay
- มีการหน่ วงเวลา
3. High Speed Relay
- ทำงานภายในเวลาที่จ ำกัดค่าหนึ่ ง
- เช่น 50 ms
4. Ultra High-Speed Relay
- ทำงานเร็วเป็ นพิเศษ
- เช่น 4 ms
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 58
ตัวอย่างที่ 1.2
พิจารณาการทำงานของ Relay ในระบบไฟฟ้ า ดังรูป
ถ้าเกิด Fault ที่จดุ F บน Transmission Line
R3 R5

R1 R2
F B3 B5

B1 B2 B4

R4

ในภาวะการทำงานตามปกติ Fault ที่จดุ F นี้ จะถูกตัดออกจากระบบ


โดย Relay 2 ชุด คือ R1 และ R2 ผ่าน Breaker B1 และ B2
ถ้า R2 ไม่ทำงาน ระบบจะ Unreliable โดยการ Loss of
Dependability
07/04/23 ถ้า R5 ทำงานผ่านผศ.
Breaker
ประสิทB5
ธ์ ิ พิก่ทยพั น์ ระบบจะ Unreliable โดยเก59ิ ด
อนฒB2
1.10 เขตการป้ องกัน ( Zone of Protection )

- ความต้องการอย่างหนึ่ งของระบบการป้ องกัน คือ การแบ่ง

ระบบไฟฟ้ า
เป็ น Protective Zone

- ตัดส่วนของระบบไฟฟ้ าออกให้น้อยที่สดุ เมื่อเกิด Fault

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 60


Protective Zone แบ่งเป็ น

1. Generator Zone
2. Transformer Zone
3. Bus Zone
4. Transmission and Distribution Zone
5. Motor Zone

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 61


M o to rs
5 5

S ta tio n C
3
2

S tation A S ta tio n B
3
3 3
2 2

GEN GEN
4 4

GEN 4 4 GEN

2 2
3
S ta tio n D

รูปที่ 1.13 แสดง Typical Power System ซึ่งเป็ น Protective Zone


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 62
หลักการแบ่ง Zone of Protection
- ทุกส่วนในระบบไฟฟ้ า ต้องอยู่ภายใน Zone of Protection
อย่างน้ อย 1 Zone อุปกรณ์ที่ส ำคัญมากๆ
จะต้องอยู่ภายใน Zone อย่างน้ อย 2 Zone

- เพื่อที่จะให้ทกุ ๆ ส่วนในระบบไฟฟ้ าต้องอยู่ใน


Zone of Protection จึงมีการจัด CT ใน Zone
ที่อยู่ติดกันเป็ นแบบ Overlap

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 63


การจัดให้ Zone เกิด Overlap ทำได้โดย

- การต่อ Relays เข้ากับ CT

- ออกแบบให้ Overlap กัน

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 64


ออกแบบให้ Overlap กัน
แบ่งเป็ น 2 แบบ ตามชนิดของ Circuit Breaker ที่ใช้
1. Dead Tank CB
- แบบนี้ มีโครงห่อหุ้มอยู่ที่ Ground Potential
- Contact อยู่ที่ระดับแรงดัน
- ต้องมีฉนวนคันระหว่
่ างโครงห่อหุ้ม และ Contact
- สามารถติดตัง้ CT ทัง้ 2 ด้านของ CB ที่บริเวณ
Bushing Pocket
- ง่ายในการทำ Overlap ของ Zone of Protection
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 65
ออกแบบให้ Overlap กัน (ต่อ…)
2. Live Tank CB
- โครงห่อหุ้มและ Contact อยู่ที่ระดับแรงดันเดียวกัน
- CT จะต้องติดตัง้ แยกต่างหาก ( Free Standing )
- Overlapping Zone ทำได้โดยใช้ Secondary Windings
ของ CT

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 66


C T fo r
Zone B
C ircu it B rea k er

Zone A CB Zone B
กรณี Dead Tank CB
C T fo r
Zone A

C ircu it B reak er

Zone A CB Zone B

C T fo r
กรณี Live Tank CB
Zone A C T fo r
Zone B

รูปที่ 1.14 แสดงหลักในการทำ Overlapping Protection รอบๆ CB


07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 67
Dead Tank Circuit Breaker Live Tank Circuit Breaker
รูปที่ 1.15 Live Tank และ์
Dead
ิ ิ ิ
Tank Circuit Breaker
07/04/23 ผศ. ประสทธ พทยพัฒน์ 68
ตัวอย่างที่ 1.3
พิจารณาการป้ องกันโดยใช้ CB แบบ Dead Tank และ Live Tank
ในส่วน หนึ่ งของระบบไฟฟ้ า
1. แสดงการป้ องกัน โดย CB เป็ นแบบ Dead Tank เมื่อเกิด Fault ที่
F1,
F2 และ F3 เมื่อ Zone Overlap
B 1 ใช้ CB แบบ Dead Tank
CT F1 F2 CT F3
CB

L in e P ro te ctio n

B u s P ro tec tio n

จากรูป สมมติให้ CB ที่ใช้เป็ น Dead Tank CB ซึ่งจะมี Bushing CTs


ติดตัง้ อยู่ทงั ้ 2 ด้านของ CB โดยทางด้าน Secondaries จะถูกต่อเพื่อใช้
สำหรับ Bus และ Line Protection ซึ่งจะ Overlap กับ CB
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 69
ตัวอย่างที่ 1.3
เมื่อเกิด Fault ที่ F1
- Protection Systems ทัง้ 2 ( Bus และ Line
Protection )
จะทำงาน
- โดย Bus Differential Relay จะ Trip B1
- และ CB ทุกตัวที่ต่อกับ Bus นี้
และ Clear Fault
- ส่วน Line Protection จะเห็น Fault และ Trip B1
และ Corresponding Relays ที่ Remote End Station
07/04/23 โดยเป็ นสิ่งผศ.
ที่ไประส
ม่จ ำเป็
ิ ทธ์ ิ น
พิทแต่
ยพัห
ฒลี
น์ กเลี่ยงไม่ได้ 70
ตัวอย่างที่ 1.3

เมื่อเกิด Fault ที่ F2


- Protection Relay ทัง้ 2 ก็จะทำงาน
- สำหรับ Fault นี้ ไม่จ ำเป็ นต้องมีการ
Trip CB ทัง้ หมดของ Bus
เนื่ องจากไม่ได้ Clear Fault
แต่การ Trip ที่ปลายทัง้ สองข้างของ Line จำเป็ น

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 71


ตัวอย่างที่ 1.3

เมื่อเกิด Fault ที่ F3


- Line Protection จะทำงาน
และ Fault ถูก Clear ทัง้ สองด้านของ Line

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 72


ตัวอย่างที่ 1.3
2. พิจารณาการป้ องกันโดย CB ที่เป็ นแบบ Live Tank
เมื่อเกิด Fault ที่ F1 , F2 , F3 และ F4 เมื่อ Zone Overlap
ใช้ CB แบบ Live Tank

F1 B1 F2 CT F3 CT F4
CB CB

L in e P ro tectio n L in e P ro tectio n

B u s P ro tectio n B u s P ro te ctio n

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 73


ตัวอย่างที่ 1.3
- จากรูป สมมติให้ CB ที่ใช้เป็ นแบบ Live Tank
- ซึ่ง CT ที่ใช้กบั Live Tank CB จะเป็ น
แบบติดตัง้ แยกต่างหาก ( Free Standing )
โดยทาง Primary มีขดลวดชุดเดียว
แต่แยกใช้สำหรับทาง Secondaries 2 ชุด
ซึ่งจะแยกใช้ส ำหรับ Line Protection
และ Bus Protection จากรูป Zone Protection
จะ Overlap กัน
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 74
ตัวอย่างที่ 1.3
เมื่อเกิด Fault ที่ F1
- เฉพาะ Bus Protection ที่เห็น Fault
และจะ Trip B1 และ CBs ทุก
- ตัวที่ต่อกับ Bus ทางด้านที่เกิด Fault
ดังนัน้ การทำงานนี้ จึงถูกต้อง

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 75


ตัวอย่างที่ 1.3
เมื่อเกิด Fault ที่ F2
- การ Trip Bus CB จะไม่ Clear Fault
ทำให้ยงั คงมีกระแสไหลเข้าสายจากปลายอีกข้างหนึ่ ง
และ Line Protection ไม่ Operate
เนื่ องจากไม่เห็น Fault
ดังนัน้ จุด F2 นี้ จะเป็ นจุดบอด ( Blind Spot )

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 76


ตัวอย่างที่ 1.3

เมื่อเกิด Fault ที่ F3 , F4


- Line Protection จะทำงาน
และ Fault ถูก Clear ทัง้ 2 ด้าน ของ Line
โดย Fault ที่ F3 Bus Protection
จะเห็น Fault และจะ Trip Bus CBs ทุกตัว ซึ่งไม่จ ำเป็ น

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 77


เขตการป้ องกัน แบ่งเป็ น 2 ประเภท

1. Closed Zone
เป็ น Zone ประเภทที่มีขอบเขตการป้ องกันจำกัด
ปกรณ์ที่อยู่ภายใน Zone จะถูกตรวจจับที่ขอบเขตทัง้ 2
ด้าน ของ Zone ป้ องกัน Zone การป้ องกันแบบนี้ โดย
ทัวไปมั
่ กเรียกว่า Differential Unit , Absolutely
Selective โดยมีตวั อย่าง คือ การป้ องกันแบบ
Differential
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 78
เขตการป้ องกัน (ต่อ…)
2. Open Zone
เป็ น Zone ประเภทที่ขอบเขตการป้ องกันของ Zone จะไม่ถกู
กำหนดแน่ นอนโดย Current Transformer เช่น การที่ขอบเขตของ
Zone แปรไปตามกระแส Fault โดยทัวไปเรี่ ยกว่า Non-Unit ,
Unrestricted , Relatively Selective ตัวอย่างของ Zone การ
ป้ องกันแบบเปิด คือ Zone การป้ องกันสายส่งระยะไกลที่ยาว
มากๆ

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 79


ตัวอย่างที่ 1.4
พิจารณาระบบไฟฟ้ าดังรูป เมื่อเกิด Fault
ที่ F1 , F2 และ F3 ตามลำดับ

B1 F1 F2 B2

B4 B5 B6 F3

B3

เมื่อเกิด Fault ที่ F1


Fault นี้ อยู่ใน Closed Zone ทำให้ Breaker B1 และ B2 Trip
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 80
ตัวอย่างที่ 1.4

เมื่อเกิด Fault ที่ F2


- Fault นี้ อยู่ใน Overlap
ระหว่าง Zone ของ Transmission Line
และ Zone ของ Bus
ทำให้ Breaker B1, B2 ของ Transmission Line Zone Trip
และ Breaker B2 , B3 , B4 ของ Bus Zone
จะทำการ Trip
- จากรูปเราจะเรียก Zone ทัง้ 2 เป็ น Closed Zone
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 81
ตัวอย่างที่ 1.4
เมื่อเกิด Fault ที่ F3
- Fault อยู่ภายใน 2 Open Zone
ทำให้ Breaker B6 Trip
- สำหรับ B5 เป็ น Back up Breaker
จะ Trip เมื่อ B6 ไม่ทำงาน

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 82


1.11 การแบ่งส่วนของระบบป้ องกัน

การแบ่งส่วนของระบบป้ องกัน สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ส่วน คือ

1. Primary Protection

2. Back Up Protection

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 83


Primary Protection

- การป้ องกันลำดับแรก
- ต้องทำงานเร็วที่สดุ
- แยกส่วนของวงจรออกน้ อยที่สดุ
- เกิดความเสียหายต่อระบบน้ อยที่สดุ

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 84


Backup Protection
- ทำงานช้ากว่า Primary Protection
- ป้ องกันวงจรกรณี ที่ Primary Protection ไม่ทำงาน

Backup Protection อาจแบ่งเป็ น 2 แบบ คือ


1. Local Back Up Protection
2. Remote Back Up Protection

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 85


Local Back Up Protection

- ติดตัง้ บริเวณเดียวกับ Primary Protection

- อาจใช้อปุ กรณ์หลายอย่างร่วมกับ Primary Protection


เช่น CT , VT , Battery , CB

- Local Back Up Protection ที่นิยมใช้


คือ Breaker Failure Relay

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 86


Remote Back Up Protection

- ติดตัง้ ห่างไกลจาก Primary Protection

- อุปกรณ์ต่างๆ เช่น CT , VT , Battery และ CB จะแยก


กัน
กับ Local Back Up Protection

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 87


ตัวอย่างที่ 1.5
ระบบไฟฟ้ าดังรูปให้พิจารณา Primary
และ Back Up Protection เมื่อเกิด Fault ที่จดุ F
B
B6 B4
A C
B7 R4 B9
F
D
B5 B1 B8 B 10 R9
E
R5 R1 R 10
R2
R3

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 88


ตัวอย่างที่ 1.5
พิจารณาเมื่อเกิด Fault ที่จดุ F

- Fault เกิดภายใน Zone of Protection


ของ Transmission Line AB
- Primary Relay R1 และ R5 จะต้อง
Clear Fault ผ่าน Breaker B1 และ B5

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 89


ตัวอย่างที่ 1.5
พิจารณาเมื่อเกิด Fault ที่จดุ F

- ที่ Station B จะมี Duplicate Primary Relay R2 ซึ่งติดตัง้ เพื่อ


Trip B1 กรณี ที่ Relay R1 ไม่ทำงาน Relay R2 จะงานด้วยเวลา
เท่ากับ R1 และอาจใช้หลักการอันเดียวกัน หรืออุปกรณ์เดียวกัน
หรือต่างกัน เช่น ในระบบ EHV อาจใช้ CT แยกกัน Breaker ไม่
ได้ใช้ Duplicate แต่ Battery อาจใช้คนละชุด

07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 90


ตัวอย่างที่ 1.5
- Local Back Up Relay R3 ออกแบบให้ทำงาน
ที่เวลาช้ากว่า R1 และ R2
- Relay R3 จะต้องพยายาม Trip B1 และ Breaker Failure Relay
จะ Trip Breaker B5 , B6 , B7 และ B8 ซึ่งเรียกกระบวนการนี้ ว่า
Local Back Up Relaying บางครัง้ เรียกว่า Breaker Failure
Protection
- Relay R9 , R10 และ R4 เป็ น Remote Back Up สำหรับ Breaker
B1 ซึ่งจะตัดส่วนของระบบไฟฟ้ าเพิ่มขึน้ คือ Line BC , BD
และ BE สวัสดี
07/04/23 ผศ. ประสิทธ์ ิ พิทยพัฒน์ 91

You might also like