You are on page 1of 73

บทที่ 15

หลักการออกแบบระบบไฟฟ้ ากำลัง

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 1


15.1 บทนำ
- ในการออกแบบระบบไฟฟ้ ากำลังของอาคารต่างๆ
วิศวกรไฟฟ้ าต้องพิจารณา
ลักษณะเฉพาะของแต่ละอาคาร
ข้อกำหนดในการออกแบบระบบไฟฟ้ าของทางการไฟฟ้ า
และ มาตรฐานการออกแบบ
และต้องประสานงานกับทีมผูอ้ อกแบบระบบอื่นฯ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 2


- ผลงานขัน้ สุดท้ายของกระบวนการออกแบบคือ
แบบแปลนอาคาร ( Building Plans ) ของทุกระบบ

- รายละเอียดข้อกำหนด ( Specifications )

- Bill of Quantities ( BOQ )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 3


15.2 แบบแปลนอาคาร
การกำหนดแบบตามลำดับและนำหน้ าแบบ
ตามตัวอักษรดังนี้
A สำหรับงานสถาปัตยกรรม ( Architecture )

C สำหรับงานวิศวกรโยธา ( Civil Engineering )

EE สำหรับงานวิศวกรไฟฟ้ า ( Electrical Engineering )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 4


15.2 แบบแปลนอาคาร ( ต่อ )
M สำหรับงานวิศวกรเครื่องกล
( Mechanical Engineering )
A/C สำหรับงานวิศวกรรมปรับอากาศ
( Air Condition Engineering )
SN วิศวกรรมสุขาภิบาล ( Sanitary Engineering )

เช่น แบบที่ EE-20 Grounding Details


หมายถึง แบบแปลนระบบไฟฟ้ าแผ่นที่ 20
เรื่องรายละเอียดการต่อลงดิน
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 5
15.3 รายละเอียดข้อกำหนด
รายละเอียดและข้อกำหนดต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ฝี มือการทำงาน ( Workmanship )

2. วัสดุที่อนุมตั ิ ( Approved Materials )

3. วิธีการที่ประกอบ ( Method of Assembly )

4. ขัน้ ตอนการก่อสร้าง ( Sequence of Construction )


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 6
5. สภาพพิเศษ ( Special Conditions )

6. การจัดการกับแบบที่ขดั แย้งกัน
( Handling of Drawing Conflicts )

7. ใบอนุญาตก่อสร้าง ( Construction Permit )

8. แบบแสดงการติดตัง้ ( Shop Drawings )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 7


- ผูอ้ อกแบบแต่ละสาขาจะเตรียมรายละเอียดในงานส่วน
ของตนเองและจัดทำตามบทที่ก ำหนดให้

- Construction Specification Institute ( CSI )


แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา
ได้พฒ
ั นา Format สำหรับการเขียน
รายละเอียดข้อกำหนดขึน้
และได้ความนิยมใช้กนั มาก

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 8


- ตาม CSI รายละเอียดข้อกำหนด
ของงานก่อสร้างแบ่งเป็ น Division
ตัง้ แต่ 0 ถึง 16 ดังต่อไปนี้ คือ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 9


Division : 0 Bidding Requirements , Contract Forms
and Condition of the Contract
การประมูล , แบบฟอร์มสัญญา และรายละเอียด
ของสัญญา

Division : 1 General Requirements


สรุปงานทัง้ หมด , การทดสอบในห้องทดสอบ ,
วัสดุและอุปกรณ์

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 10


Division : 2 Site Work
งานดิน , การควบคุมปลวก , การเจาะดิน

Division : 3 Concrete
โครงสร้างคอนกรีต , คอนกรีตเสริมเหล็ก
คอนกรีตหล่อกับที่

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 11


Division : 4 Masonry
งานอิฐ , งานปูน

Division : 5 Metals
โครงสร้างเหล็ก , การเชื่อมต่อ ,
การประกอบโลหะ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 12


Division : 6 Wood and Plaster
งานช่างไม้ , งานไม้

Division : 7 Thermal and Moisture Protection


ฉนวนอาคาร , งานหลังคา ,
ระบบประกบ ( Cladding )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 13


Division : 8 Doors and Windows
ประตูโลหะ , ประตูอลูมิเนี ยม , หน้ าต่าง

Division : 9 Finishes
กระเบือ้ งเซรามิก , Accoustical Ceiling ,
พรม ,การทาสี

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 14


Division : 10 Specialties
การกัน้ ห้องน้ำ , การกัน้ ด้วยลวด

Division : 11 Equipment
อุปกรณ์ขนส่ง

Division : 12 Furnishings
ที่กนั แดด , พรมทางเท้า

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 15


Division : 13 Special Construction
โครงการกัน้ ภายใน

Division : 14 Conveying Systems


ลิฟต์ , บันไดเลื่อน , สายพาน

Division : 15 Mechanical Systems


ความต้องการทัวไปของระบบเครื
่ ่องกล ,
ปัม๊ , Sprinkle System , ระบบปรับอากาศ
และระบบอากาศ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 16
Division : 16 Electrical Systems
ระบบไฟฟ้ าเป็ นระบบใหญ่ประกอบด้วยระบบย่อย
หลายระบบแต่ละระบบจะมีรายละเอียดมาก
รายละเอียดข้อกำหนดของระบบไฟฟ้ าโดยทัวไป ่
จะประกอบด้วย
- ความต้องการทัวไป่ ( General Requirements )
- การต่อลงดิน ( Grounding )
- อุปกรณ์ไฟฟ้ า ( Electrical Equipment )
- ระบบการจ่ายกำลังไฟฟ้ า ( Electrical Distribution System )
- ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ( Lightning Protection System )
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้ าสำรอง ( Standby Generator )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 17
Division : 16 Electrical Systems ( ต่อ )

- ระบบโทรศัพท์ ( Telephone System )


- ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ( Fire Alarm System )
- ระบบเสาอากาศทีวีและวิทยุรวม ( MATV System )
- ระบบเสียง ( Sound System )
- ระบบโทรทัศน์ วงจรปิด ( CCTV System )
- ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ
( Building Automation System )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 18
15.4 พระราชบัญญัติและกฎข้อบังคับ
การก่อสร้างอาคารและการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า

- การก่อสร้างอาคารทุกหลังจะต้องทำตาม
พระราชบัญญัติและกฎข้อบังคับการก่อสร้าง
ระดับชาติและระดับท้องถิ่น

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 19


- กฎข้อบังคับเหล่านี้ มีไว้เพื่อให้ขณะการ ก่อสร้างอาคาร
มีความปลอดภัยต่อคนงานก่อสร้าง
และผูส้ ญ
ั จรไปมา และหลังจากสร้างเสร็จต้อง
ให้ความ ปลอดภัยต่อผูใ้ ช้อาคาร

- การป้ องกันไฟไหม้ เป็ นเรื่องสำคัญมาก


พระราชบัญญัติเหล่านี้ จะกล่าว ถึง
เรื่องนี้ อย่างละเอียด

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 20


การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า

มีข้อแนะนำและข้อกำหนดอยู่มากมาย เช่น

1. มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ า
สำหรับประเทศไทยของ วสท.

2. มาตรฐาน NEC

3. มาตรฐาน IEC
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 21
15.5 การแบ่งขัน้ ตอนการออกแบบ
อาจแบ่งขัน้ ตอนการออกแบบเป็ น 3 ขัน้ ตอนคือ

1. การออกแบบขัน้ หลักการ ( Conceptual Design )

2. การออกแบบขัน้ ต้น ( Preliminary Design )

3. การออกแบบขัน้ รายละเอียด ( Detailed Design )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 22


15.5.1 การออกแบบขัน้ หลักการ ( Conceptual Design )

- วิศวกรไฟฟ้ าต้องทำความเข้าใจ ความต้อง


การการใช้งานของอาคาร

- ความต้องการของเจ้าของโครงการและ
ความต้องการเฉพาะของอาคาร

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 23


การออกแบบขัน้ หลักการ (ค่อ )

- นำข้อมูลเหล่านี้ มาทำการศึกษา

- เสนอหลักการต่างๆและ ระบบต่างๆ

- ทำ Single Line Diagrams และ Riser Diagrams

- ประมาณราคาอย่างคร่าวๆ ของระบบต่างๆ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 24
15.5.2 การออกแบบขัน้ ต้น ( Preliminary Design )

- เมื่อเจ้าของโครงการได้ศึกษา Conceptual Design


อย่างละเอียดแล้ว อาจมีความคิดเห็นหรือ
ข้อเสนอแนะต่างๆ เช่น

1. แก้ไขหลักการบางอย่าง
2. ตัดงานบางระบบออก เนื่ องจากราคาแพงเกินไป
3. เพิ่มเติมงานบางอย่าง
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 25
การออกแบบขัน้ ต้น ( ต่อ )

- เมื่อได้ข้อยุติเบือ้ ง วิศวกรไฟฟ้ าจะต้อง

นำข้อมูลใหม่ทงั ้ หมดมาออกแบบเบือ้ งต้น

- วิศวกรไฟฟ้ าจะต้องประมาณราคาใหม่

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 26


15.5.3 การออกแบบขัน้ รายละเอียด ( Detailed Design )

- หลังจากที่ได้อนุมตั ิ การออกแบบเบือ้ งต้นแล้ว

- ในหลักการไม่ควรมีการแก้ไขใดๆ อีก

- วิศวกรไฟฟ้ าจึงทำการออกแบบ

รายละเอียดต่างๆ ของระบบต่างๆ ให้ครบ


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 27
การออกแบบขัน้ รายละเอียด ( ต่อ )

- แบบที่เสร็จนี้ จะเป็ นแบบสำหรับประมูลมี

รายละเอียดข้อกำหนด ( Specification )
การทำ BOQ List ( Bill Of Quantity List )
เพื่อให้ผรู้ บั เหมากรอกรายละเอียด
แล้วมีการทำราคากลางให้เจ้าของด้วย

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 28


15.6 การวางแผนการออกแบบระบบไฟฟ้ า
งานที่ต้องติดต่อกับผูอ้ อกแบบในสาขาต่างๆ เช่น
1. งานด้านสถาปัตยกรรม
2. งานด้านเครื่องกล
3. งานด้านประปาและน้ำเสีย
4. การไฟฟ้ านครหลวงหรือส่วนภูมิภาค
5. องค์การโทรศัพท์หรือบริษทั เอกชนผูท้ ำการ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 29


15.6.1 ด้านสถาปัตยกรรม

- ในช่วงเวลาของการออกแบบสถาปนิก
ซึ่งเป็ นหัวหน้ าโครงการจะต้องศึกษาถึง
ความต้องการของสถานประกอบการ
และเจ้าของโครงงาน

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 30


ด้านสถาปัตยกรรม ( ต่อ )

- แล้วจึงทำแบบร่าง ( Preliminary Plan )


ของอาคารซึ่งประกอบด้วย
1. ผังบริเวณ
2. แปลนพืน้ ที่ของทุกชัน้
3. ภาพตัดต่างๆ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 31


- วิศวกรไฟฟ้ าจะต้อง ทำงานร่วมกับสถาปนิกอย่างใกล้ชิด
โดยจะต้องบอกถึงขนาดพืน้ ที่ที่ต้องการสำหรับ
อุปกรณ์ไฟฟ้ าและระบบไฟฟ้ าต่างๆ เช่น

1. พืน้ ที่ส ำหรับติดตัง้ หม้อแปลง


2. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
3. แผงสวิตช์ต่างๆ แผงจ่ายไฟ
4. ห้องรักษาความปลอดภัย

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 32


- วิศวกรไฟฟ้ ายังต้องการ
แบบฝ้ า ( Ceiling System )
จากสถาปนิกซึ่งเป็ นส่วนประกอบสำคัญ
ในการกำหนดรูปแบบของดวงโคมไฟฟ้ า
ก่อนที่จะกำหนดรูปแบบของอุปกรณ์อื่นๆ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 33


15.6.2 ด้านเครื่องกล/สุขาภิบาล

- วิศวกรเครื่องกลและสุขาภิบาลจะต้องให้
ข้อมูลเบือ้ งต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ไฟฟ้ า

เช่น ขนาดพิกดั และตำแหน่ งที่ตงั ้ ระบบปรับอากาศ ,


ระบบระบายอากาศ , ระบบประปา ,
ระบบกำจัดน้ำเสีย , ระบบลิฟต์

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 34


ด้านเครื่องกล/สุขาภิบาล ( ต่อ )

- ข้อมูลเหล่านี้ จะเป็ นประโยชน์


ในการประมาณโหลดไฟฟ้ าเบือ้ งต้น
เพื่อหาขนาดโหลดของสถานประกอบการ
และเพื่อช่วยในการออกแบบระบบจ่ายไฟฟ้ า

- การติดต่อและให้ข้อมูลแก่กนั จำเป็ นต้อง


ทำเป็ นลายลักษณ์ อักษรเสมอ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 35


15.6.3 เจ้าของโครงการ

- ถ้าเจ้าของโครงการไม่มีความต้องการอะไร
เป็ นพิเศษสำหรับระบบไฟฟ้ า
วิศวกรไฟฟ้ าจึงมีอิสระในการออกแบบระบบ

- ในบางโครงการเจ้าของโครงการอาจ
มีประสบการณ์อย่าง มากในอาคารที่ก่อสร้าง
อาจมีข้อกำหนดต่างๆ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 36
เจ้าของโครงการ ( ต่อ )

- วิศวกรไฟฟ้ าต้องการข้อมูลต่างๆ
จากเจ้าของโครงการอย่างละเอียด

- การจะติดต่อกับเจ้าของโครงการ
ควรทำเป็ นลายลักษณ์อกั ษร

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 37


15.6.4 การไฟฟ้ านครหลวงหรือส่วนภูมิภาค

- การไฟฟ้ าฯ มีข้อกำหนดหลายอย่างที่วิศวกรไฟฟ้ า
จะต้องศึกษาข้อกำหนดต่างๆ ของการไฟฟ้ าให้เข้าใจ
และติดตามข้อกำหนดซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอ

- วิศวกรไฟฟ้ าจะต้องออกแบบระบบไฟฟ้ า
ให้ตรงตามกฎข้อบังคับของ การไฟฟ้ า

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 38


การไฟฟ้ านครหลวงหรือส่วนภูมิภาค ( ต่อ )
- สถานประกอบการขนาดเล็กหรือขนาดกลาง
กฎข้อบังคับของการ ไฟฟ้ าจะค่อนข้างแน่ นอน
การออกแบบจึงสามารถทำให้คล้องจองกับ
ข้อกำหนดของการไฟฟ้ า ได้เลย
- โครงการขนาดใหญ่
มีการใช้กระแสไฟฟ้ าปริมาณมากๆ
วิศวกรไฟฟ้ าจะต้องติดต่อ
การไฟฟ้ าถึงจ่ายไฟฟ้ าให้แก่โครงการ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 39
การไฟฟ้ านครหลวงหรือส่วนภูมิภาค ( ต่อ )

1. จะต้องสร้างสถานี ไฟฟ้ าย่อยหรือไม่


2. ระดับแรงดันที่ใช้ควรเป็ น HV หรือ MV
3. สายป้ อนจะเป็ นแบบ Over Head หรือ Under Ground
4. ตำแหน่ งที่จะจ่ายไฟให้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 40


การไฟฟ้ านครหลวงหรือส่วนภูมิภาค ( ต่อ )
ข้อมูลที่ต้องนำไปให้การไฟฟ้ าใช้ประกอบในการพิจารณาคือ

1. ตำแหน่ งสถานที่ของโครงการ
2. ลักษณะธุรกิจของโครงการ
3. พืน้ ที่โดยประมาณ
4. โหลดไฟฟ้ าที่คาดคะเนจะใช้
5. กำหนดเปิดใช้ของโครงการ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 41


15.6.5 องค์การโทรศัพท์หรือบริษทั เอกชนผูท้ ำการ

- โครงการใหญ่ๆ ที่ใช้ค่สู ายโทรศัพท์จ ำนวนมาก

- วิศวกรไฟฟ้ าจะต้องติดต่อกับองค์การโทรศัพท์
หรือบริษทั เอกชนซึ่งได้รบั สัมปทานจากองค์การโทรศัพท์
เพื่อการขอใช้บริการและจะได้สามารถ
วางแผนการเดินสายโทรศัพท์ ( ซึ่งอาจเป็ น Fiber Optic )

เข้าโครงการ หรืออาจพิจารณาถึง
ความจำเป็ นว่าจะต้องตัง้ ชุมสายในโครงการหรือ ไม่
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 42
องค์การโทรศัพท์หรือบริษทั เอกชนผูท้ ำการ ( ต่อ )

- ข้อมูลที่จ ำเป็ นมาประกอบการพิจารณา


ที่องค์การโทรศัพท์หรือ
บริษทั เอกชนผูท้ ำการ
ต้องการก็คือ
1. สถานที่ตงั ้ โครงการ
2. ลักษณะธุรกิจ
3. จำนวนคู่สายที่คาดว่าจะใช้
4. เวลาที่จะเปิดใช้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 43
15.7 การวางแผนการออกแบบระบบการจ่ายไฟฟ้ า
การออกแบบระบบไฟฟ้ าของสถานประกอบการ
- เริ่มด้วยการรวบรวมโหลดทางไฟฟ้ า
- ศึกษาโหลดเหล่านี้
- ออกแบบระบบไฟฟ้ า
- กำหนดตำแหน่ งของแผงจ่ายไฟกับแผงสวิตช์บอร์ด
- โหลดรวมทัง้ หมดเป็ นข้อมูลให้การไฟฟ้ าเพื่อ
ใช้ในการกำหนดการจ่ายไฟฟ้ าให้
สถานประกอบการแห่งนัน้ ๆ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 44
15.8 ขัน้ ตอนการออกแบบระบบไฟฟ้ ากำลัง
การออกแบบระบบไฟฟ้ ากำลัง
อาจแบ่งเป็ นขัน้ ตอนดังต่อไปนี้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 45


1. ศึกษาแบบทางด้านสถาปัตยกรรมอย่างละเอียด

- จำนวนชัน้ ความสูงของแต่ละชัน้
และความสูงทัง้ หมด
- การใช้งานส่วนต่างๆ ของอาคาร
เช่น สำนักงานห้อง พักทางเดิน ฯลฯ
- แบบฝ้ า เป็ นฝ้ าแบบ T-BAR หรือ ฝ้ าเรียบ
- ห้องที่ใช้เป็ นห้องไฟฟ้ า
- บริเวณที่เหมาะที่จะเป็ นช่องเดินสายไฟฟ้ า
( Electrical Shaft ) เป็ นต้น
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 46
2. ออกแบบไฟฟ้ าแสงสว่างตาม
ความต้องการการใช้งานส่วนต่างๆ ของอาคาร
เช่น ห้องทำงานต้องการความสว่าง 500 lux เป็ นต้น
และเลือกชนิดของดวงโคมตามความเหมาะสม

3. ให้ตำแหน่ งดวงโคมตามแบบดวงโคม
และจำนวนที่ได้จาก Lighting Design ลงบนแปลนพืน้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 47


4. ให้ตำแหน่ งเต้ารับตามความเหมาะสม
ซึ่งส่วนมากจะวางตามเสาหรือตามผนังบนแปลนพืน้

5. ให้ตำแหน่ งและชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้ า
ที่ได้จากเจ้าของโครง การหรือตามกระบวนการผลิต

6. กำหนดตำแหน่ งของแผงจ่ายไฟฟ้ า
ที่จะจ่ายไฟฟ้ าให้โหลดเหล่านี้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 48


7. ออกแบบวงจรย่อยสำหรับโหลดต่างๆ ให้ครบ

โดยต้องคำนึ งว่าแผงจ่ายไฟฟ้ ามี วงจรย่อยสูงสุด 42 วงจร


และ วงจรใช้งานไม่ควรเกิน 32 วงจร
ส่วนที่เหลือเป็ นวงจรย่อยสำรองและวงจรย่อยว่าง
ถ้าวงจรใช้งานมีมากกว่า 32 วงจร
หรือ อาคารใหญ่มากหรือยาวมาก
ควรเพิ่มจำนวนแผงจ่ายไฟฟ้ า

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 49


8 . ให้ครบทุกแผงทำ Load Schedule ของแผงจ่ายไฟฟ้ า

9. ถ้ามีแผงจ่ายไฟฟ้ าหลายแผงอยู่ใกล้กนั
แผงเหล่านี้ อาจได้ไฟฟ้ าจาก
แผงสวิตช์จ่ายไฟ ( Distribution Board , DB )

10. ทำ Feeder Schedule ของแผง DB

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 50


11. รวบรวมโหลดของระบบอื่นๆ ที่ใช้ไฟฟ้ า
จากวิศวกรสาขา
ที่เกี่ยวข้อง เช่น
- ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
- ระบบสุขาภิบาล
- ระบบลิฟต์
เป็ นต้น

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 51


12. ทำ Main Schedule เพื่อหา
ขนาดของ Main Distribution Board ( MDB )

13. หาขนาดมิเตอร์หรือขนาดหม้อแปลง

14. หาขนาด Standby Generator Set ถ้ามี


จากแผงจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิน
( Emergency Main Distribution Board , EMDB )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 52


15. ออกแบบระบบประธาน

16. จาก Panelboard และ Distribution Board


ออกแบบระบบ การจ่ายไฟฟ้ า

17. ออกแบบ Single Line Diagrams

18. ออกแบบ Riser Diagrams

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 53


15.9 ข้อมูลของระบบไฟฟ้ าที่จะให้สถาปนิก
- ตอนเริ่มต้นการออกแบบนัน้ สถาปนิก
ซึ่งเป็ นหัวหน้ าโครงการต้องการการใช้พืน้ ที่ของ
อุปกรณ์ในระบบต่างๆ เพื่อจัดสรรการใช้พืน้ ที่
ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด
- ดังนัน้ วิศวกรที่เกี่ยวข้องจำเป็ น
จะต้องแจ้งความต้องการการใช้พืน้ ที่ให้สถาปนิกทราบ
- สำหรับระบบไฟฟ้ านัน้ อุปกรณ์และระบบต่างๆ
ที่ต้องแจ้งให้สถาปนิกทราบมีดงั นี้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 54
ระบบไฟฟ้ ากำลัง

สายป้ อนแรงดันสูง ( High Voltage )


สายป้ อนเหนื อดิน ( OH Line )
จาก............................….. ถึง ....................................

สายป้ อนใต้ดิน ( UG Line )


จาก..............................…. ถึง ...................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 55


ระบบไฟฟ้ ากำลัง ( ต่อ )

หม้อแปลง
นอกอาคาร .................................... ในคอกหม้อแปลง
.................... ติดตัง้ แบบ Pad-mounted , Unit Substation
ในอาคาร .........................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 56


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

นอกอาคารในคอกหม้อแปลง
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 57


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

นอกอาคารแบบ Pad-mounted หรือ Unit Substation


ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 58


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

ภายในอาคาร
จำนวน .....................................
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ..................................... m
ความสูง ...................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 59


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

ห้องไฟฟ้ า
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 60


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

เครื่องกำเนิดไฟฟ้ า
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 61


ระบบไฟฟ้ ากำลัง (ต่อ)

ช่องเดินสายไฟฟ้ า
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 62


ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

Air Terminals
ตำแหน่ ง .....................................

Horizontal AT
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 63


ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ( ต่อ )

Down Conductors
แบบแยก...................... ใช้เสาโครสร้าง ..............................
แบบแยก
ตำแหน่ ง ..............................
เสาโครงสร้าง
ตำแหน่ ง ..............................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 64


ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า(ต่อ)

Earth Termination
Foundation................... Grounding Electrode ...................
Foundation
ตำแหน่ ง ...........................….
Grounding Electrode
ตำแหน่ ง ..............................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 65


ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ( FAS )

ห้องควบคุม
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 66


ระบบโทรศัพท์
Direct Line ...................................
EPABX ...................................
ห้อง EPABX
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 67
ระบบสายอากาศทีวีรวม ( MATV )
TV .................................................
CABLE TV ...................................
Satellite TV ................................…
ห้อง Main Equipment ( Channel Amplifier , Power Supplies )
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 68
ระบบสายอากาศทีวีรวม ( MATV )(ต่อ)

ห้องควบคุม
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 69


ระบบเสียง

ห้องควบคุม
พืน้ ที่ ........................................ m2
ความกว้าง ..................................... m
ความยาว ...................................... m
ความสูง ....................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 70


ระบบ CCTV

ห้องควบคุม
พืน้ ที่ ....................................... m2
ความกว้าง .................................... m
ความยาว ..................................... m
ความสูง ...................................... m
ตำแหน่ ง .....................................

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 71


คำถามท้ายบท
1. แบบแปลนอาคารควรจะประกอบด้วยแบบระบบ
อะไรบ้าง และแต่ละระบบในแบบควรใช้อกั ษรย่ออะไร
2. ระบบไฟฟ้ าประกอบด้วยระบบย่อยอะไรบ้าง
3. ขัน้ ตอนการออกแบบแบ่งได้อย่างไร จงอธิบาย
4. การออกแบบขัน้ หลักคืออะไร จงอธิบาย
5. การออกแบบขัน้ ละเอียดคืออะไร จงอธิบาย

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 72


คำถามท้ายบท ( ต่อ )
6. การวางแผนการออกแบบระบบไฟฟ้ าควรทำอย่างไร
7. การออกแบบระบบการจ่ายไฟฟ้ ามีขนั ้ ตอนอย่างไร
8. ข้อมูลของระบบไฟฟ้ าที่วิศวกรไฟฟ้ าต้องแจ้งให้
สถาปนิกทราบมีอะไรบ้าง

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 73

You might also like