You are on page 1of 39

1

การควบคุมกระแสผิดพร่ อง
Fault Control

1) Protective Relaying and Coordination


1.1 Introduction

2) Motor Protection
2.1 General Aspects
2.2 Two Type of Overcurrent Protection
2.3 Small Three Phase Asynchronous Motor ( Max. 200 kW )
2.4 Large Three Phase Motors ( Above 300 kW )
2.5 Short - Circuit Protection
2.6 Phase Fault Protection
2.7 Stator Overheating
2.8 Rotor Overheating
2.9 Starting Current Considerations
2.10 Acceleration and Deceleration Time
2.11 Feedback of Fault Current Into the Power System
2.12 Phase to Earth Fault Protection
2.13 Undervoltage Protection
2.14 Differential Relays
2.15 Bearing Temperature Protection

3) Transformer Protection
3.1 General Aspects
3.2 Gas Detection or Buchholz Relay
3.3 Winding Temperature Protection
3.4 Transformer Differential Relay
3.5 Special Earth Fault Protection
2

4) Generator Protection
4.1 General Aspects
4.2 Stator Winding Protection
4.3 Phase to Phase Fault
4.4 Turn to Turn Fault
4.5 Phase to Earth Fault
4.6 Field Earth Fault
4.7 Generator Motoring
4.8 Negative Phase Sequence Protection
4.9 Generator Overvoltage
4.10 Field Winding Overvoltage
4.11 Loss of Excitation
4.12 Bearing Temperature
4.13 Vibration
4.14 Other Types of Protection
3

1) Protective Relaying and Coordination


1.1 Introduction
- การควบคุมความผิดพร่ อง ( Fault Control ) ดูคล้ายเป็ นของใหม่ แต่ระบบป้ องกันก็คือ
การควบคุม Fault นัน่ เอง
- Protective Relaying and Coordination ในระบบไฟฟ้ากําลัง เป็ นระบบควบคุม (
Control System ) ที่มี Intelligence ซึ่ งจะตรวจวัด Fault หรื อ Abnormal Conditions
ตัดสิ นใจ และจัดการตัดส่ วนที่มี Fault ออกจากระบบ ส่ วนที่เหลือของระบบไฟฟ้าก็ยงั
สามารถจ่ายไฟได้ต่อไป
- ปั จจุบนั ระบบควบคุมนี้จะใช้ “ Microprocessor ” มากขึ้น

โรงงานอุตสาหกรรม
- มีระบบการจ่ายไฟฟ้า ( Power Distribution System ) ที่หลากหลายมาก
- โรงงานขนาดเล็ก อาจมีระบบเป็ นแบบ Radial และมีเฉพาะการใช้ Fuse หรื อ LVCB เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันเท่านั้น
- โรงงานขนาดใหญ่ อาจมี HV , MV และ LV Substations , UPS , Cogeneration ซึ่ งทํางานขนาน
( Parallel Operation ) กับระบบของทางการไฟฟ้า
- ความต้องการในการเพิ่มผลผลิต ทําให้ตอ้ งการระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีความเชื่อถือได้
( Reliability ) สู ง
- อาจใช้ระบบ Meshed Network และ Parallel กับระบบของทางการไฟฟ้า

∴ ทําให้มีกระแสลัดวงจรสู ง , ระบบการจ่ายไฟฟ้ามีราคาแพง และเสี ยเวลามากในการซ่อมบํารุ ง


หรื อเปลี่ยนอุปกรณ์ที่เสี ยหายเนื่องจาก Fault เช่น Motors , Transformers , Cables , CBs , etc.

∴ ระบบการป้ องกันจึงเป็ นส่ วนที่สาํ คัญมากของระบบไฟฟ้า


4

ความเสี ยหายและการทีไ่ ฟฟ้ าถูกตัดออก


- อุปกรณ์และระบบไฟฟ้าเสี ยหาย
- การทํางานของเครื่ องจักรหยุดชะงัก
• สู ญเสี ยการผลิต
• ผลผลิตเสี ยหาย
- โรงงานเคมี
• สู ญเสี ยการผลิต
• มีปัญหาในการทําความสะอาด การเริ่ มเดินกระบวนการผลิตใหม่

∴ บางครั้งอาจยอมให้อุปกรณ์ทาํ งานเกินโหลดเป็ นเวลาสั้นๆ ซึ่ งทําให้อายุการใช้งานของอุปกรณ์


ลดลง

- โรงกลัน่ นํ้ามัน , กระดาษ , ผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์ , ผลิตเหล็กกล้า


• ผลกระทบเนื่องจากไฟฟ้าขาดหายไปเหมือนกัน
- กระบวนการผลิตบางประเภท
• การที่แรงดันตกชัว่ ครู่ อาจต้องหยุดกระบวนการผลิตทั้งหมด

∴ ธรรมชาติของการปฏิบตั ิงานของโรงงานอุตสาหกรรมจะกําหนด “ Degree of Protection ”


5

2) Motor Protection
2.1 General Aspects
- กฎด้านความปลอดภัย
• กําหนดการป้ องกันขั้นตํ่าสําหรับมอเตอร์
∴ ต้องพิจารณาการป้ องกันเพิ่มขึ้นตามความเหมาะสม
- อุปกรณ์ที่ขบั โดยมอเตอร์ ตอ้ งนํามาพิจารณาด้วย
- การขับมอเตอร์ จน
• เสี ยหายหมด
• หยุดทันที
ว่าแบบไหนจะดีกว่ากัน
- ความเสี ยหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
• Bearing
• ขดลวด
• การระบายความร้อน
• การกลับเฟส
- ท้ายที่สุดจะต้องพิจารณา
• ราคาระบบการป้ องกัน ( Cost of Protection )
- การพิจารณรวมทั้งหมด ซึ่ งหมายถึง
• ค่าการหยุดกระบวนการผลิต
• ความสู ญเสี ยของการผลิต
• การซ่อมส่ วนที่เสี ยหาย
• การติดตั้งอุปกรณ์ใหม่
∴ ทั้งหมดนี้จะต้องเปรี ยบเทียบกับราคาระบบป้ องกัน
- การพิจารณาเรื่ องดังกล่าวมานี้ แตกต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั ผูใ้ ดเป็ นคนตัดสิ น
6

• วิศวกรเคมี ( Chemical Engineer ) อาจตัดสิ นว่า Process อาจไม่ Stable เมื่อหยุด


มอเตอร์ จึงต้องให้มอเตอร์ ทาํ งานต่อไปจนไหม้
• นักบัญชี ( Accountant ) คิดว่า Downtime น้อยลงจะดี ดังนั้นถ้าจ่ายเพิ่มขึ้นอีก
หน่อยก็ไม่เป็ นไร
- การให้มอเตอร์ ทาํ งานต่อไปอีก 2-3 นาที อาจมีประโยชน์มากสําหรับการทําความสะอาด
สําหรับระบบก๊าซ ( Gas Process System )
∴ ไม่มีคาํ ตอบง่ายๆ ( Easy Answer ) แต่มีคาํ แนะนําเฉพาะที่จะให้ดงั ต่อไปนี้

2.2 การป้ องกันกระแสเกิน 2 ประเภท


- ไม่วา่ จะเป็ น LV หรื อ MV วงจรมอเตอร์ จะได้รับไฟฟ้าผ่าน CB หรื อ Fuesd Contactor
เหล่านี้เป็ น O/C Device ตัวสุ ดท้าย
- มี 2 Type of Protection สําหรับวงจรมอเตอร์
1) Motor และ Motor Feeders ป้องกัน Short – circuit โดย CB หรื อ Fuses
2) Protection สําหรับป้ องกันการเพิ่มโหลด ( Increase in Load ) ซึ่ งมีการป้ องกัน
กระแสเกินและความร้อนเกิน

2.3 มอเตอร์เหนี่ ยวนําขนาดเล็ก ( ≤ 200 kW )


- มอเตอร์ เหนี่ยวนํา 3 เฟส มีใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมเป็ นจํานวนมาก
- พิกดั ถึง 200 kW ปกติเป็ น LV Motors
- การป้ องกันตามปกติมีใน “ กฎการเดินสายไฟฟ้า ” ซึ่ งก็เพียงพอ ยกเว้นมอเตอร์ที่มี High
Inertia Load
- การ Setting ของ Motor O/C Device จะใช้ป้องกันสายและ Starters จาก Short–circuit
และอุณหภูมิเพิ่ม
- Motor Running O/L Protection ตามปกติใช้ 3 Thermal Heaters ติดตั้งที่ Starters
- เป็ นแบบ Fixed Rated Units
∴ ต้องเลือกให้ถูกต้อง
- กฎการติดตั้งทัว่ ไป O/L Protection จะตั้งไว้ที่ 1.15 In
- ต้องมีการพิจารณาเมื่อมีการติดตั้ง Switched Capacitors กับ Motors ด้วย
- Motors แบบ 2 ความเร็ ว ต้องการ Thermal O/L 2 แบบ ซึ่ง Setting ต่างกัน
7

2.4 มอเตอร์เหนี่ ยวนําขนาดใหญ่ ( > 300 kW )


- มอเตอร์ > 300 kW ส่ วนมากใช้ MV 3kV – 11kV
- ทําให้มอเตอร์ , อุปกรณ์อื่นที่ใช้ราคาแพงขึ้น
- MV Motors ถือว่าเป็ นอุปกรณ์เฉพาะ ซึ่ งมีการใช้เฉพาะงาน
- ขั้นแรกจะต้องตัดสิ นว่า มอเตอร์ มีความสําคัญมากหรื อไม่สาํ คัญ ( Essential or Non-
Essential )
- ถ้ามอเตอร์ เป็ นแบบสําคัญมากจะต้องมีการป้ องกันดังนี้
• ใช้ Basic Short-circuit Protection
• O/L Devices จะให้การเตือน ( Alarm ) ไม่ใช่ Shut Down เพื่อให้ Operators มีเวลา
ที่จะลดโหลด ถ้าโหลดเกิน หรื อ ทําขั้นตอนการหยุดเดินเครื่ อง ( Start a Shutdown
Procedure ) ก่อนที่จะเดินเครื่ อง
- ถ้ามอเตอร์ เป็ นแบบไม่สาํ คัญมากนัก O/L และ Other Protective Devices จะต้องตัดไฟ
จากมอเตอร์ “ เร็ วที่สุดเท่าที่ทาํ ได้ “ เพื่อป้ องกันความเสี ยหายกับมอเตอร์
- มอเตอร์ ขนาดใหญ่ ( Large Motors )
• มีหลายขนาด
• ราคาต่างกัน
• คุณสมบัติต่างกัน
∴ การป้ องกัน ( Protection Schemes ) ดังต่อไปนี้
เป็ นมาตรฐานทัว่ ๆ ไป

2.5 การป้องกันลัดวงจร ( Short Circuit Protection )


- การป้ องกันแบบนี้ใช้ป้องกัน
• สายป้ อน ( Feeder Cable )
• ขดลวด ( Stator Winding )
• และ Motor Starter
- ใช้ตวั ป้ องกันสําหรับแต่ละเฟส
- ถ้าใช้ CB อาจใช้วธิ ี ตรวจสอบ Fault ภายในหรื อภายนอก และจะต้องตัดไฟเข้ามอเตอร์ ทุก
เฟส
- ถ้าใช้ Fuse อาจมี Fuse ตัวหนึ่งขาด
∴ ไฟอีก 2 เฟส ยังจ่ายให้มอเตอร์ ทําให้มอเตอร์ วงิ่ ต่อไป แต่ให้กาํ ลังขาออกลดลง
∴ จะทําให้เกิดความร้อนเพิ่ม
8

∴ ต้องตัดไฟจ่ายให้มอเตอร์ ออก เพื่อป้องกันมอเตอร์ เสี ยหาย

2.6 การป้องกันลัดวงจรเฟส ( Phase Fault Protection )


- Phase Fault Protection ทําได้โดยใช้ Current Limiting Fuse ซึ่ งออกแบบให้ใช้กบั มอเตอร์
โดยเฉพาะ
- Instantaneous O/C Relays สามารถใช้ได้โดยให้มี Setting สู งกว่า Starting Current ของ
มอเตอร์ และกระแสย้อนกลับ ( Feedback Current ) ในกรณี เกิด External Fault
- Instantaneous O/C Devices ซึ่ง D.C. Component มีผล จะต้อง Set ค่าให้สูงกว่าค่า
Symmetrical Value ของกระแสเริ่ มเดินเครื่ อง
- Modern Electronic Relays จะมี Instantaneous O/C Function ซึ่ง D.C. Component ไม่มี
ผลต่อมัน
- อีกวิธีหนึ่งคือใช้ Inverse Time O/C Relays ซึ่งมี Setting เพื่อป้ องกันการทํางาน เนื่องจาก
Starting Current

2.7 ขดลวดสเตเตอร์ร้อนเกินไป ( Stator Overheating )


- สําหรับมอเตอร์ ขนาดใหญ่ ความร้อนเกินที่ขดลวดสเตเตอร์ จะสร้างความเสี ยหายมากกว่า
มอเตอร์ ขนาดเล็ก
- นอกเหนือจากที่จะทําให้ฉนวนเสี ยหาย ( Insulation Damage ) สามารถทําให้โครง
มอเตอร์ บิดเบี้ยว ( Frame Distortion ) , แบริ่ งเสี ยหาย
- สําหรับมอเตอร์ ขนาดเล็ก การป้ องกันจะใช้
• Bimetallic Heater
• Electronic Replica Type Relays
- สําหรับมอเตอร์ ขนาดใหญ่ การป้ องกันใช้
• RTD ( Resistance Temperature Detectors ) ซึ่ งติดตั้งใน Slots ของขดลวด เพื่อ
ตรวจวัดค่าอุณหภูมิจริ ง ( Actual Hot-spot Temperature ) ขั้นแรกจะให้การเตือน (
Alarm ) แล้ว Trip CB เมื่ออุณหภูมิถึงค่าๆ หนึ่ง
∴ ไม่ตอ้ งมีการป้ องกันอย่างอื่น นอกจากการป้ องกันลัดวงจร
- การป้ องกันเพิ่มเติมอาจใช้ Current Balance Relays ซึ่งจะให้ Single Phasing Protection
และอาจรวมถึง Phase-sequence Combination
- สําหรับมอเตอร์ ขนาดใหญ่มากๆ ( Very Large Motors ) ≥ 1500 kW
9

O/L Protection จะเป็ นทางเลือกระหว่าง Inverse Time O/C Relays และ Thermal หรื อ
Electronic Replica Type Relays
- Thermal Replica Type Relays
• พยายามทําได้ตาม Heating Curve ของมอเตอร์
• ที่ Light Load หรื อ Long Time O/L มันจะทําให้ Best Performance
• ที่ Heavy Load มันจะทํางานช้า
- Inverse O/C Relay จะทํางานแบบตรงกันข้าม จะให้ Best Protection ที่ Heavy Load แต่
จะไม่ค่อย Sensitive ที่ Light Load
∴ การรวมการป้ องกันทั้ง 2 แบบ ( Combination ) จะให้การป้ องกันที่ดีที่สุด และ
RTDs จะต้องใช้เสมอกับมอเตอร์ขนาดใหญ่
- ทั้ง Replica และ Inverse O/C Relays สามารถรวมให้มี Instantaneous Trip เพื่อป้ องกัน
การลัดวงจร
- Microprocessor Type Replica Relays ทํางานได้หลายแบบ และสามารถให้ได้ตาม Motor
Heating และ Cooling Curves ได้ใกล้เคียงกว่า Thermal หรื อ Electromechanical Relays

2.8 โรเตอร์ร้อนเกินไป ( Rotor Overheating )


- ใน Squirrel Cage Motor วิธีที่ใช้ตรวจวัดความร้อนที่ Stator สามารถให้การป้ องกัน O/L
โดยทัว่ ไปได้
- แต่เมื่อเกิด Locked Rotor จะต้องใช้อุปกรณ์ตรวจวัดมากกว่า RTDs
- RTDs ที่ขดลวดสเตเตอร์ มีการหน่วงเวลา ดังนั้นระหว่างการเริ่ มเดินเครื่ อง ( Starting ) มัน
จะไม่สะท้อน ( Reflect ) ค่าความร้อนที่โรเตอร์ อย่างถูกต้อง
- เมื่อความร้อนเกินที่โรเตอร์ ( Rotor Heating ) เนื่องจากการเริ่ มเดินเครื่ องหลายครั้ง
สามารถทําความเสี ยหายกับ Rotor โดยที่ทางด้าน Stator ยังไม่เป็ นไร
∴ จึงสําคัญมากที่ตอ้ งตกลงกับบริ ษทั ผูผ้ ลิตเกี่ยวกับ Rotor Protection เมื่อโรเตอร์ เป็ น
แบบ “ Rotor Limited ”
- ใน Synchronous Motor โดยทัว่ ไปโรเตอร์ จะเป็ นขดสนาม ( Field )
∴ โดยการใช้ Replica Thermal Relay ที่ Field Current การป้ องกันทําได้ เมื่อมอเตอร์
สตาร์ ทไม่ได้
- การป้ องกันอีกอย่างหนึ่งคือ Out of Step Device ซึ่ งจะต้องหยุดมอเตอร์เมื่อเกิด Out of
Step Condition ของ Synchronous Motor กล่าวคือ มอเตอร์ ไม่ได้อยูใ่ น Synchronism กับ
Supply
10

2.9 การพิจารณากระแสเริ่ มเดินเครื่ อง( Starting Current Considerations )


- Symmetrical Starting Current ของมอเตอร์ มีค่า
Isym = ( 3 – 9 ) In
- Asymmetrical ( Offset )
Isym = ( 6 – 16 ) In
= 1.8 Isym
- Asymmetrical Current ซึ่งมี DC Component มีค่าสู งที่ Cycle แรก ( 1st Cycle ) แล้วค่อยๆ
ลดลง ( Decays )
อัตราการลดลง ( Rate of Decays ) เป็ น Function ของ X/R ของวงจร
∴ Asymmetrical เกิดขึ้นที่ 1st Cycle
∴ Instantaneous Relay จะเห็น Asymmetrical Current
แต่ Thermal Element จะเห็นค่า Symmetrical Current
∴ Setting ของ Instantaneous Device
= ( 12 – 15 ) In
ส่ วนของ Setting Time Delay Device ต้องทําตาม Symmetrical Starting Current

2.10 เวลาความเร่ ง และ ลดลง ( Acceleration and Deceleration Time )


- เวลาความเร่ ง ( Motor Acceleration Time ) ของมอเตอร์ ข้ ึนอยูก่ บั ความเฉื่ อย ( Inertia
Wk2 ) ของ Motor + Load
- ค่านี้จะต้องพิจารณาเมื่อ Setting Inverse Time O/C Relays และ Replier Type Thermal
Time Constant Relays
- มอเตอร์ ที่ระบายความร้อนด้วยนํ้า ( Motor with Water Cooling ) อาจมีถึง 3 Time
Constant จาก Heating up เมื่อ Starting และ Cooling Down
- Time Constant
• สําหรับ Copper Winding
• สําหรับ Iron
• สําหรับ Cooling Water is Included
- การคํานวณเวลาความเร่ ง ( Acceleration Time ) ทําได้ง่ายเมื่อทราบโหลด
11

2.11 การย้อนกระแส Fault เข้าระบบไฟฟ้า ( Feedback of Fault Current Into


Power System )
- ระหว่างเกิด Fault มอเตอร์ ทุกตัวจะจ่ายกระแสเข้าที่จุดที่เกิด Fault
- ปริ มาณกระแสย้อนกลับจะแปรกลับ ( Inverse ) กับค่า Xd” ( Subtransient Reactance )
- มอเตอร์ เหนี่ยวนํามีค่า Xd” = 15-20%
Synchronous Motor ( High Speed ) Xd” = 10-25%
Synchronous Motor ( Low Speed ) Xd” = 25-45%
- ระหว่าง 2-3 Cycles แรก ซึ่ง Subtrantient ยังมีอยู่
Symmetrical Value ของ Feedback มีปริ มาณดังนี้
Induction Motor ( 4-7 ) In
Synchronous Motor ( High Speed ) ( 4-10 ) In
Synchronous Motor ( Low Speed ) ( 2-4 ) In
- ค่า Setting ของ Instantaneous O/C Relay จะต้องพิจารณาถึง Sensitivity ของ Relay ต่อ
DC Component ของ Feedback Current

2.12 ป้องกันการลัดวงจรลงดิน ( Phase to Earth Fault Protection )


- Fault ที่เกิดบ่อยที่สุดในวงจรมอเตอร์ คือ Phase to Earth Fault ที่ Stator
- ระบบไฟฟ้าที่ต่อลงดินโดยตรง ( Solidly Earthed ) หรื อ Low Impedance Earthed System
Earth Fault จะทําให้เกิดความเสี ยหายอย่างมากที่แกนเหล็กของ Stator ( Stator Iron )
- ดังนั้นการป้ องกันที่ดีที่สุดคือทําระบบไฟฟ้าให้เป็ น High Impedance Earthed System ซึ่ง
จะลด Earth Fault Current ไป จะไม่ทาํ ความเสี ยหาย
- วิธีของการตรวจวัด Phase to Earth Fault คือการให้สายทั้ง 3 เฟส ผ่าน “ Window ” CT
- กระแสมอเตอร์ ปกติ ( Normal Load Current ) จะหักล้างกันเอง เนื่องจากมันจะทํามุม
120° ซึ่งกันและกัน แต่เมื่อเกิด Earth Fault จะมี Zero Sequence Current ไหล ซึ่งจะให้
Output จาก CT ไปยัง Instantaneous O/C Relay
วิธีน้ ีจะให้การป้ องกันที่ไวมาก ( Sensitive Protection ) และจะกําจัดการ Trip ที่ผดิ พลาด
เนื่องจาก High Inrush Current
- อีกวิธีหนึ่งคือ Residual Connection ซึ่ง O/C Relay ต่อใน Neutral ของ CT ที่ต่อแบบ Wye
Setting ของ Relay < 10% Imax Earth Fault

2.13 การป้องกันแรงดันตํ่าเกินไป ( Undervoltage Protection )


12

- UV Protection ของมอเตอร์ ขนาดใหญ่ เป็ น Standard Protection


- แรงบิดของ Asynchronous Motor จะแปรตามแรงดันกําลังสอง
T α V2
และเมื่อ Contactor Drop out ที่ 65-70% Vn แรงบิดจะลดเหลือเพียง 40% Tn
- ถ้าแรงดันลดลงระหว่างการเริ่ มเดินเครื่ อง ( Starting ) แบบ DOL
Rotor จะ Overheat เร็ วกว่า Stator
- UV Relay อาจเป็ นแบบมี Time Delay เพื่อป้องกัน Transient หรื อ Voltage Dip
- การต่ออาจให้เป็ น
• การเตือน ( Alarm )
• ตัดวงจร ( Disconnect )

2.14 รี เลย์ผลต่าง ( Differential Relay )


- การลัดวงจรระหว่างเฟส ( Phase to Phase Short-circuit ) ของมอเตอร์ เกิดขึ้นยาก แต่ถา้
เกิดจะมีกระแสสู งและทําความเสี ยหายมาก
- Phase O/C Relays จะต้องมี High Setting หรื อ Long Time Delay เพื่อให้สามารถเริ่ ม
เดินเครื่ องได้
- มอเตอร์ พิกดั > 500 kW ควรพิจารณาใช้ Differential Relays
- แต่ละเฟสจะมี Differential Relay เปรี ยบเทียบกระแสขาเข้าและออก
- สําหรับ Solidly Earthed หรื อ Low Impedance Earthed Networks
Differential Relay จะ Operate สําหรับ Phase to Phase Fault ได้

2.15 การป้องกันแบริ่ งเกินไป ( Bearing Temperature Protection )


- มอเตอร์ บางตัวมี Bearing ซึ่งเป็ นแบบ Force-Lubricated โดยใช้ Pump
- Failure อาจเกิดขึ้นใน Oil Line
∴ วิธีเดียวที่ป้องกัน Overheating คือ ตรวจวัด Fault ใน Lube Oil System โดยการ
ติดตั้ง RTD ที่ Bearing และเดินสายกลับไปยัง Dial Thermometer และมี
Adjustable Trip Switch
- Switch ตัวนี้สามารถให้
• การเตือน ( Alarm )
13

• ตัดออก ( Trip )

52 Locked
E rotor 2
50 51N 49 49 46
CR

M
รู ปที่ 1 Small and Medium sized motors < about 1 MW

52
Locked
rotor 2

50 49 49 46 37
CR

E 37
7XR96
1) 51G 67G
60/1A
49T 87M
Speed
switch
M RTD's 4)
optional

รู ปที่ 2 Large HV motors > about 1 MW

3) การป้ องกันหม้ อแปลง ( Transformer Protection )


3.1 General Aspects
การเลือกการป้ องกันที่เหมาะสมสําหรับหม้อแปลง ขั้นแรกจะต้องพิจารณา ” หน้าที่ ” ของหม้อแปลง
ในระบบไฟฟ้าก่อน
1) ขนาดและความสําคัญของหม้อแปลง มี 2 แบบ คือ
หม้อแปลงเป็ นส่ วนที่สาํ คัญและมีราคาแพงในระบบไฟฟ้า การเสี ยหายของหม้อแปลงจะมีผลทํา
ให้เกิดการสู ญเสี ยในการผลิต และไม่มีหม้อแปลงสํารอง ( Spare Transformer )
14

2) ชนิดของฉนวนหม้อแปลง ใช้น้ าํ มันหรื อฉนวนแห้ง


3) ระดับแรงดันและประเภทการต่อลงดิน ด้าน Primary หรื อ Secondary ในบางกรณี อาจต้อง
พิจารณาการต่อลงดินของขดลวด Tertiary ด้วย

รีเลย์ ป้องกันสํ าหรับหม้ อแปลง ( Transformer Protective Relaying )


มีเพื่อ
- จํากัดผลของ Fault เช่น Short-circuit ซึ่ งเกิดภายในหม้อแปลง และสายที่ต่อจากหม้อแปลง Fault
ดังกล่าวแม้เกิดได้ยาก แต่เมื่อเกิดขึ้นมันอาจพัฒนาเร็ วมาก ซึ่ งระบบป้ องกันอาจไม่สามารถ
ป้ องกันความเสี ยหายแก่ได้
∴ การตัดวงจรอย่างรวดเร็ ว ( Fast Disconnection ) จะจํากัดความเสี ยหายได้ และป้ องกัน
ไม่ให้เกิดไฟไหม้หรื อระเบิด
- ในระบบที่ Neutral ไม่ได้ต่อลงดิน ( Isolated Neutral System ) หรื อ High Impedance Earthing
การลัดวงจรลงดินจะมีค่าน้อย
∴ ความไว ( Sensitivity ) และ Selectivity สําคัญมากกว่า High Speed Clearing
- ความผิดพร่ องภายในหม้อแปลง ( Internal Transformer Failure ) อีกแบบคือสายขาด ( Broken
Circuit ) หรื อสายต่อกันไม่ดี ( Bad Conductor Joint ) ซึ่ งจะทําให้เกิดมีก๊าซเพิ่มขึ้น ( Gas Build-
up ) หรื อเกิดความร้อนเฉพาะที่ ( Local Heating ) และอาจทําให้เกิดการระเบิดได้
- หม้อแปลงพิกดั < 1,000 kVA การป้ องกันอาจใช้ Primary Fuse สําหรับ Short - circuit
O/L + EF จะใช้ Relays
- หม้อแปลงพิกดั > 1,000 kVA มีการป้ องกันโดยใช้อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ ( Gas Detector Devices
) เช่น Buchholz Relay ซึ่งมี 2 Levels of Detection
• การเตือน ( Alarm )
• การตัดวงจร ( Trip )
- ขึ้นอยูก่ บั ขนาดและหม้อแปลง และแรงดัน O/C Relays และ Fuses จะให้ Additional S/C
Protection

3.2 การตรวจวัดก๊าซหรื อ Buchholz Relay


- การป้ องกันแบบนี้ใช้กบั หม้อแปลงนํ้ามันซึ่ งมี Conservation สําหรับการขยายตัวของ
นํ้ามัน
- Gas Relay ติดตั้งที่ Connecting Pipe ระหว่างตัวถัง ( Tank ) และ Conservation
15

- การกักเก็บก๊าซอย่างช้าๆ ในนํ้ามัน จะไหลผ่านท่อต่อไปยัง Detector Relay และลูกลอย


( Float ) จะทําให้หน้าสัมผัสต่อถึงกันและให้ Alarm ทํางาน
- ก๊าซที่สะสมไว้สามารถนํามาวิเคราะห์ได้ ก๊าซที่ติดไฟ ( Flammable Gas ) จะแสดงถึงการ
ละลายตัวของนํ้ามันหรื อกระดาษ
- สําหรับการเกิด Fault ภายในแบบหนักๆ ซึ่ งเกี่ยวกับการเกิด Arcing จะทําให้ความดัน
เพิ่มขึ้นทันที ( Sudden Pressure Rise ) และ Surge of Oil and Gas สามารถตรวจจับได้
โดย Buchholz Surge Detector ซึ่งจะ Trip CB โดยทันที

3.3 Winding Temperature Protection


- อุปกรณ์น้ ีเป็ นตัวตรวจการทํางานเกินโหลด ( Overload Sensor ) ไม่ใช่ Fault Detector
- มันจะวัดอุณหภูมิของส่ วนบนนํ้ามัน ( Top Oil Temperature ) แต่มีอุปกรณ์ปรับแต่ง (
Compensating Device ) ซึ่งจะแสดงถึงอุณหภูมิจุดสู งสุ ด ( Hot–Sport Temperature ) ได้
∴ แสดงว่า Temperature Rise Curve สามารถติดตามได้อย่างดี
- สามารถทําให้ทาํ งานเป็ นการเตือน ( Alarm ) หรื อให้พดั ลมทํางาน
- เป็ นอุปกรณ์ราคาถูก

3.4 Transformer Differential Relay


- Relay แบบนี้ทาํ งานทันที สําหรับ Fault ภายใน Zone of Protection ซึ่ งอยูร่ ะหว่าง CT 2
ชุด ( สําหรับ 2 Windings Transformer )
- เพื่อให้ Relay ไม่ทาํ งาน ( Stable ) สําหรับ Fault ภายนอกจะต้องใช้แบบที่มี Harmonic
Restraint สําหรับ Harmonic ที่ 2
- ต้องมี Compensate สําหรับ CT Error และ Phase Shift
ต้องใช้ Interposing CT หรื อ ปรับภายในตัว Relay ในขณะนี้ Digital Relay ส่ วนมากจะใช้
วิธีน้ ีโดยให้ CT ทางด้าน Primary และ Secondary ต่อแบบ Wye เสมอ Software ภายในจะชดเชย
เมื่อทราบรายละเอียดของหม้อแปลง ซึ่ งผูใ้ ช้จะต้องให้ขอ้ มูลแก่ Relay

3.5 Special Earth Fault Protection


บางครั้งอาจให้มี Earth Fault Protection แบบดังต่อไปนี้
16

- Restricted Earth Fault Relay เป็ น Instantaneous Differential Earth Fault Relay ใช้ได้ดี
กับ Solidly Earthed Neutral System ซึ่ง Earth Fault จะให้ค่าสู งและทําความเสี ยหายมาก
- Tank Protection เป็ น Current Relay ซึ่งต่อผ่าน CT ระหว่างตัวถังหม้อแปลงและ Earth

HV Infeed
52 ,t E 2
,t
50 51 50N 49 46
Optional resistor or
63 reactor
N

87N 51G
52 E
Distribution bus
52

O/C relay Fuse

Load Load

รู ปที่ 3 Small Transformer Infeed


17

HV Infeed High voltage, e.g. 115 kV.


52
,t E 2 ,t
50 51 51N 49 46

51G
63

87N 87T
,t E ,t
50 50N
51 51N

52
Load bus, e.g. 22 kV
52 52

Load Load

รู ปที่ 4 Large or Important Transformer Infeed


18

Protection line 1 Protection line 2


same as line 2 21/21N or 87L+51+optionally 67/67N
52 52

,t E ,t
50 51 51N

46 49
2
63 87N 87T

51G

51 51N
52 E
Load bus
52 52 52

Load Load Load

รู ปที่ 5 Dual Infeed with Single Transformer


19

HV Infeed 1 HV Infeed 2
52 ,t ,t ,t 52
E 2
50 51 51N 49 46
63
Protection
same as
,t
E Infeed 1
E ,t
51G E ,t
51 51N 67 67N

52 52
Load bus
52 52 52

Load Load Load

รู ปที่ 6 Parallel Incoming Transformer Feeders

4) การป้ องกันเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า ( Generator Protection )


4.1 General Aspects
- Generatorเป็ นอุปกรณ์ที่สาํ คัญที่สุดชิ้นหนึ่งในระบบไฟฟ้า
• Cogenerator เดินขนาน ( Parallel ) กับระบบของทางการไฟฟ้า
• Standby Unit
• Emergency Generating Set
- ถ้าไม่มี Generator ระบบไฟฟ้าทั้งระบบก็จะมีปัญหา
∴ ความเชื่อถือได้และการป้ องกัน Generator จึงมีความสําคัญอย่างมาก
- การที่จะต้องซ่อมแซมด้วยเวลาสั้นๆ ( Short Repair Time ) สําคัญมาก
∴ หมายถึง Fast Shut Down และแสดงให้ทราบแต่เผินๆ ว่ามี Fault ( Early
Indication of Fault )
- ค่าใช้จ่ายของการป้ องกันทั้งหมด ต้องพิจารณา ร่ วมกับ Effect of System Generator Shut
Down
20

- สําหรับ Industrial Power System ( IPS ) ผูอ้ อกแบบอาจไม่ตอ้ งออกแบบป้ องกัน


Generator แต่ตอ้ งรู ้ขอ้ แนะนําต่างๆ ของบริ ษทั ผูผ้ ลิต
∴ ผูอ้ อกแบบเพียงต้องเข้าใจถึงการที่บริ ษทั ผูผ้ ลิตแนะนํา เพื่อตัดสิ นใจเลือกการ
ป้ องกันพื้นฐานของ Generator มีดงั ต่อไปนี้
1) Stator Winding Protection
2) Phase to Phase Fault
3) Turn to Turn Fault
4) Phase to Earth Fault
5) Field Earth Fault
6) Generator Motoring
7) Negative Phase Sequence Protection
8) Generator Over Voltage
9) Field Winding Over Voltage
10) Loss of Excitation
11) Bearing Temperature
12) Vibration
13) Other Types of Protection

4.2 Stator Winding Protection


- เมื่อมี Fault ที่ Stator Winding การเปิ ดวงจรของ CB เพียงกําจัด Fault Current ที่มาจาก
Network แต่ Fault ยังคงอยูต่ ่อไป แต่ถา้ Field Supply ถูกตัดออก Flux จะลดลงและ
Current จาก Generator ก็จะลดลงและหายไป

4.3 Phase to Phase Fault


- Fault แบบนี้ตอ้ งการการตรวจวัดที่รวดเร็ ว ( Fast Detection ) และต้องตัดไฟออกโดย
ทันที แม้ CB จะเปิ ดวงจร แต่ Generator ยังคงจ่ายไฟให้ Fault ได้ ถ้า Fault ยังคงมีอยู่
∴ Relay ที่ใช้ป้องกันจะต้อง Detect Fault และ
• ตัดไฟจากโหลด ( Disconnect the Load )
• เปิ ดวงจรสนาม ( Open the Field CB )
• และสัง่ หยุดเครื่ องต้นกําลัง ( Shut Down the Prime Mover )
21

- Phase O/C หรื อ Impedance Relay ที่ใช้ป้องกันจะต้อง Set ค่าให้สูงกว่า Maximum


Load Current และ Time Setting จะต้องให้มี Selectivity กับ External Fault
∴ Relay แบบนี้จึงไม่เป็ นด่านแรกของการป้ องกัน ( Primary Protection ) แต่อาจใช้
เป็ น Back–up Protection ได้
∴ Relay ที่ควรใช้คือ Sensitive Differential Relay
4.4 Turn to Turn Fault
- Short Circuit แบบนี้เกิดขึ้นระหว่าง 2 Coil Turn ของ Phase เดียวกัน
- Fault แบบนี้ไม่สามารถ Detect ด้วย Phase O/C Relay หรื อ Generator Differential Relay
- สําหรับ Generator With Split Neutrals การป้ องกันอาจใช้
• Time Lag Low Set O/C Relay ซึ่ งจะตรวจวัดกระแสใน Connection ระหว่าง
Stator
Neutral Time Delay จะต้องสั้น ( Short ) เนื่องจาก Interturn Fault Current อาจจะมีค่าสู ง แต่
ต้องป้ องกันไม่ให้ทาํ งานเนื่องจาก External Fault
- อีกวิธีหนึ่งของการป้ องกันคือ ใช้ Low-burden “ Very Inverse ” O/C Relay พร้อมกับ
Specially Designed Split-phase CTs

4.5 Phase to Earth Fault


- Phase to Earth Fault แบบกระแสสู งเป็ น Fault ที่ทาํ ความเสี ยหายมากที่สุดอย่างหนึ่ง มัน
อาจทําให้เหล็กของสเตเตอร์ เสี ยหาย
- Generator ส่ วนมากต่อแบบ Wye โดยมี Neutral ต่อลงดิน
- Neutral อาจจะต่อลงดินโดยตรง ( Solidly ) หรื อผ่าน Impedance
Resistance Earthed ใช้สาํ หรับ Generator ที่แรงดัน
LV 500-690 V หรื อ MV 3-11 kV
- ถ้าการต่อลงดินผ่านความต้านทานตํ่า ซึ่งจะมี High Fault Current ก็สามารถใช้
Differential Relay ได้ ซึ่งจะป้ องกันขดลวด Generator ได้ถึง 80 %
- High Resistance Earthing จะลด Fault Current ให้เหลือ 5 -10A ซึ่งทําให้ใช้ Differential
Relay ไม่ได้ แต่ก็สามารถลดความเสี ยหายกับแกนเหล็กได้เหล็กมาก ในกรณี เช่นนี้
จะต้องใช้ Separate Earth Fault Relay
- อีกวิธีหนึ่งในการต่อลงดินของ Generator คือใช้ Distribution Transformer ต่อระหว่าง
จุด Neutral และ Earth
การ Detect Fault อาจใช้ Voltage Relay ซึ่งมี 3rd Harmonic Filter
22

4.6 Field Earth Fault


- Field ของ Generator เป็ น DC และโดยทัว่ ไปจะไม่ตอ่ ลงดิน
∴ เมื่อเกิด Earth Fault ที่จุดหนึ่งจะไม่เป็ นไรแต่ถา้ เกิด 2nd Earth Fault ส่ วนหนึ่งของ
Field จะถูกลัดวงจร
∴ Magnetic Flux จะเป็ นแบบ Unbalanced สําหรับ High Speed Turbo Generators
ซึ่งมี Small Air Gap Distortion ที่เกิดจากการ Unbalanced นี้ สามารถทําให้ Rotor
สี กบั Stator ซึ่ งจะทําความเสี ยหายมาก

4.7 Generator Motoring


- เมื่อ Prime Mover ของ Generator ไม่สามารถจ่ายกําลังให้กบั GEN ระบบไฟฟ้าจะจ่าย
พลังงานเข้าไปที่ Prime Mover ผ่าน Generator ซึ่ งเรี ยกว่า ‘’ MOTORING ”
- Reverse Power Relay สามารถป้ องกัน Motoring ได้

4.8 Negative Phase - Sequence Protection


- Negative Sequence เป็ นเทอมที่ใช้ใน Symmetrical Component ซึ่ งประกอบไปด้วย
• Positive Sequence ( 1 )
• Negative Sequence ( 2 )
• Zero Sequence ( 0 )
Negative Sequence เป็ น Vector 3 Phase ซึ่ งหมุนตามเข็มนาฬิกาและตรงข้ามกับ Positive
Sequence
- เมื่อเกิด Phase to Phase หรื อ Unbalanced Loading จะทําให้เกิด Negative Sequence
Current ไหล กระแสนี้จะมีความถี่เป็ น 2 เท่าของความถี่ปกติ
∴ Eddy Current ใน Rotor ทําให้เกิด Loss มากขึ้น

4.9 Generator Overvoltage


- Overvoltage ที่ Generator อาจเกิดขึ้นจาก
• Overspeed
• Fault Voltage Regulator
- ทั้ง 2 ปั ญหาดังกล่าวอาจมากพอที่จะต้องหยุดเดินเครื่ อง Generator ( Shut Down )
- Relay ที่ใช้แก้ปัญหา Overvoltage จะต้อง
• ไม่คิดค่า Transient ซึ่ งอาจมีได้
23

- ยอมให้มี Voltage Rise ภายใน Limit หนึ่ง


- Overvoltage Relay จะใช้ป้องกัน
• Overspeed เนื่องจาก Faulty Regulator หรื อ Faulty Governor
- Time Delay Setting ควรปรับตั้งค่าไว้ประมาณ 10 %
- Instantaneous Setting ควรปรับตั้งให้มากกว่าค่า Expected Transient Voltage แรงดันเพิ่ม
เนื่องจาก Load ถูกตัดออก

4.10 Field Winding Overvoltage


- Overvoltage Protection ของ Field Winding ตามปกติเกิดกับ Self-excited , Slow-running
ที่ Hydro-Generator ซึ่ งทางการไฟฟ้าจะมีมาตรการป้ องกันเอง

4.11 Loss of Excitation


- Loss of Excitation จะทําให้ Generator ทํางานเป็ น Inductive Generator ซึ่ งจะทําให้
• Oscillating และ Temporary Instability
- Loss of Excitation จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง Reactive Power , Power Factor System
Stability และ Real Power Output
- การป้ องกันทําได้โดยใช้ Directional Distance Relay ซึ่ งเป็ น Field Loss Relay

4.12 Bearing Temperature


- มีหลายวิธีในการวัด Temperature ของ Bearing
• Contact–marking Thermometer
• Bulb Type
• Resistance Temperature Detectors ( RTDs )
• Thermocouples
- อุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น RTDs , Thermocouples ควรจะได้รับการป้ องกันจาก Cold และ
Incorrect Location ซึ่ งจะมีผลต่อค่า Reading

4.13 Vibration
- Vibration สามารถทําให้เกิด Electrical และ Mechanical Faults ได้
24

- Vibration สามารถใช้เป็ น “ Back up ” Indication ของ Electrical Failure ซึ่ งทําให้เกิด


Unbalance Magnetic Force
- Loss of Dynamic Balance ของ Rotor สามารถทําให้เกิด Vibration และทําให้เกิด
Mechanical Faults ได้
- เมื่อ Generator Units เป็ น High Speed Turbine , Vibration Records ซึ่งมี Alarm Contact
อาจใช้ได้
- สําหรับ Low Speed Type Prime Movers ไม่ตอ้ งใช้ Vibration Protection

4.14 Other Types of Protection


- Cooling Water สําหรับ Bearing อาจรั่วเข้า Bearing Oil ได้
• Oil Level Indicator สามารถใช้เพื่อให้ Alarm ได้
- Creep Indicators ใช้กบั Hydro Type Generator เพื่อให้ Alarm ได้
- Voltage Transformer Fuse Protection จะทํางานเมื่อ Fuse Blow
มีรูปวงจรการป้ องกัน GEN
1) ขนาดปานกลาง
2) ขนาดใหญ่
25
MV
52

Field
G 64R
,t 2 L.O.F.
51 32 46 40

51G
E ,t

รู ปที่ 7 Small Generator , typically 1MW

MV
52

51
87
27
87G

49 81

G 64R R E Field < 59


,t 2 L.O.F.
Field
51 32 46 40 49

E ,t
51G
26

รู ปที่ 8 Large Generator > 1MW

52 63 Transf. fault press


Unit
trans 71 Oil low
87
TU

51
TN Transf. neut. OC
87U
Unit diff
51 Unit
back-up
Oil low
Transf. 71
Over volt 59 fault press
63 Unit
81N aux.
78 Over freq
Loss of 24
sync 51
Stator 40 Volt/Hz TN
O.L. A Transf. 87T
E Loss of neut. OC
49S field Transf.
32 diff
G 87G
Reverse
power
Gen
diff
64 Field
64R grd.
R2 46 21
Field
grd. Neg. Sys.
seq. back-up

59
GN
Gen.
neuet. OV
51
GN

รู ปที่ 9 Generator Transformer Unit


27

5) การป้ องกันคาปาซิเตอร์ ( Capacitor Banks Protection )


- High Voltage Capacitor โดยทัว่ ไปจะมี Individually Fused Unit
- Large Capacitor Banks > 1 MVAR
โดยทัว่ ไปต่อแบบ Double Star การป้ องกันจะใช้ Current Relay with 3rd Harmonic Filter ต่อ
ผ่าน CT ระหว่างจุด Neutral
- Unbalance Protection สามารถทําได้โดยใช้ Voltage ที่ Neutral เมื่อค่าที่วดั ได้เกิน Certain Value
จะ Trip ออก
- Individual Capacitor อาจ Switch โดย Contactor หรื อ CB ซึ่ งต้องมี Rated อย่างน้อย 1.5 In
และต้องทน Inrush ได้ 100 In

6) การป้ องกันสายเคเบิล ( Cable Feeder Protection )


- สายป้ อนทัว่ ไปสําหรับ High Voltage Distribution ป้องกันโดย
• Phase O/C Relay
• Earth Fault Relay
- Differential Protection ใช้กบั All High Voltage Feeder ซึ่ง Operate แบบ Parallel หรื อต้องการ
Instantaneous Trip
- Low Voltage Cable Feeder ป้องกันโดย
• Fuse
• MCCB , ACB
ซึ่ งจะทําให้ Short – circuit และ Earth Fault Protection

7) การป้ องกันสายเหนือดิน ( Overhead Line Protection )


- ป้ องกันโดย CB ซึ่งมี
Phase และ Earth Fault Relays
- ถ้ามี Distance Protection ต้องมี O/C และ Earth Fault เป็ น Back up Protection
- 3 Phase Autoreclosing Protection ใช้กบั บริ เวณที่มี Lightning บ่อยๆ
28

Infeed
Transformer
protection,
A

B ,t E ,t 2 ,t ARC
Further 51 51N 46 79
feeders
C ,t E ,t 2 ,t
51 51N 46
Load
D ,t E ,t 2 ,t
51 51N 46
Load Load

รู ปที่ 10 Radial Feeder Circuit


29

Infeed Infeed
Transformer
protection,
52 52

52 ,t ,t ,t 52 ,t ,t ,t
E 2 E 2
51 51N 46 49 51 51N 46 49

รู ปที่ 11 Ring Main Circuit


30
Infeed

E 2 ,t
52 52
,t E ,t
50 50N 46
51 51N

79 Auto-
reclose
Recloser Further
feeders
Sectionalizers

Fuses

รู ปที่ 12 Distribution Feeder with Reclosers

Infeed Infeed
52
52 52
,t E ,t 2 ,t
51 51N 49 46
Protection
O.H. line or O.H. line or same as
cable 1 ,t
E
,t
cable 2 line or cable 1
E
67 67N 51 51N

52 52

52
52 52

Load Load

รู ปที่ 13 Parallel Feeder Circuit


31
Infeed Infeed
52 52
52
52 79 52

51N
51N 87L 49 Same
protection
51N
for parallel line
51N 87L 49 if applicable

52 79 52
52
52 52 52 52

Load Back feed Load Back feed

รู ปที่ 14 Cables or Short Overhead Lines with Infeed from Both Sides

Infeed Infeed
52 52
52
52 52

21 67N
21N

Line or 85 79 Same
cable protection
85 79
for parallel line,
if applicable
21 67N
21N

52 52
52
52 52 52 52

Load Back feed Load Back feed


รู ปที่ 15 Overhead Lines or Longer Cables with Infeed from Both Sides
32

DEVICE NUMBERS

Device Definition and function Device Definition and function


Number Number
1. Master Element 27. Undervoltage Relay
2. Time-Delay Starting or Closing Relay 28. Flame Detector
3. Checking or Interlocking Relay 29. Isolating Contactor
4. Master Contactor 30. Annunciator Relay
5. Stopping Device 31. Separate Excitation Device
6. Starting Circuit Breaker 32. Directional Power Relay
7. Anode Circuit Breaker 33. Position Switch
8. Control Power Disconnecting Device 34. Master Sequence Device
9. Reversing Device 35. Brush-Operating or Slip-Ring Short-
10. Unit Sequence Switch Circuiting Device
11. Reserved For Future Application 36. Polarity or Polarizing Voltage Device
12. Over-Speed Device 37. Undercurrent or Underpower Relay
13. Synchronous-Speed Device 38. Bearing Protective Device
14. Under-Speed Device 39. Mechanical Condition Monitor
15. Speed or Frequency Matching Device 40. Field Relay
16. Reserved For Future Application 41. Field Circuit Breaker
17. Shunting or Discharge Switch 42. Running Circuit Breaker
18. Accelerating or Decelerating Device 43. Manual Transfer or Selector Device
19. Starting-to-Running Transition 44. Unit Sequence Starting Relay
20. Electrically Operated Valve 45. Atmospheric Condition Monitor
21. Distance Relay 46. Reverse-Phase or Phase-Balance
22. Equalizer Circuit Breaker Current Relay
23. Temperature Control Device 47. Phase-Sequence Voltage Relay
24. Reserved For Future Application 48. Incomplete Sequence Relay
25. Synchronizing or Synchronism-Check 49. Machine or Transformer Thermal
Device Relay
26. Apparatus Thermal Device
33

Device Definition and function Device Definition and function


Number Number
50. Instantaneous Overcurrent or Rate- 78. Phase-Angle Measuring or Out-of-
of-Rise Relay Step Protective Relay
51. AC Time Overcurrent Relay 79. AC Reclosing Relay
52. AC Circuit Breaker 80. Flow Switch
53. Exciter or DC Generator Relay 81. Frequency Relay
54. Reserved For Future Application 82. DC Reclosing Relay
55. Power Factor Relay 83. Automatic Selective Control or
56. Field Application Relay Transfer Relay
57. Short-Circuiting or Grounding Device 84. Operating Mechanism
58. Rectification Failure Relay 85. Carrier or Pilot-Wire Receiver Relay
59. Overvoltage Relay 86. Lockout-out Relay
60. Voltage or Current Balance Relay 87. Differential Protective Relay
61. Reserved For Future Application 88. Auxiliary Motor or Motor Generator
62. Time-Delay Stopping or Opening 89. Line Switch
Relay 90. Regulating Delay
63. Pressure Switch 91. Voltage Directional Relay
64. Ground Protective Relay 92. Voltage and Power Directional Relay
65. Governor 93. Field-Changing Contactor
66. Notching or Jogging Device 94. Tripping or Trip-Free Relay
67. AC Directional Overcurrent Relay
68. Blocking Relay
69. Permissive Control Device
70. Rheostat
71. Level Switch
72. DC Circuit Breaker
73. Load-Resistor Contactor
74. Alarm Relay
75. Position Changing Mechanism
76. DC Overcurrent Relay
34

77. Pulse Transmitter

มาตรฐาน IEC ได้ให้ชื่อรี เลย์ตามสัญลักษณ์ ดังนี้

I> Overcurrent Protection

I Current Directional Protection


IN >
Zero Sequence Overcurrnet Protection
Ii >
Negative Phase Sequence Component Protection
I Thermal Image

∆I
Differential Protection
∆IN Earth Fault Differential Protection
U<
Undervoltage Protection
>f >
Maximum and Minimum Frequency Protection
U>
Overvoltage Protection
P
Active Reverse Power Protection
Q
Reactive Reverse Power Protection
UN >
Zero Sequence Overvoltage

Buchholz
35

การปรับตั้งอุปกรณ์ ป้องกันระบบไฟฟ้ าของโรงงานอุตสาหกรรม


( Selectivity in Industrial Power Systems )
• ต่อไปนี้เป็ นการกล่าวโดยย่อเกี่ยวกับ Selectivity Analysis
• มีกฎหลายข้อ ( Set of Rule ) เพื่อใช้ทาํ Relay Coordination Study
• เป็ น Check List เพื่อใช้ทาํ ตรวจสอบ Selectivity ( Auditing Selectivity ) ซึ่ งทําโดยคนอื่น
• Selectivity หมายถึง Series Connected O/C Protection ควรทํางานระหว่าง S/C และ Earth
Fault เพื่อตัดส่ วนของวงจรให้ออกน้อยที่สุดเท่าที่ทาํ ได้
UK. Discrimination , Selectivity
US. Coordination

Setting the Selectivity Stage


การทํา Selectivity เบื้องต้น
• Preliminary Selectivity Study โดยทัว่ ไปทําระหว่างการวางแผนการออกแบบระบบไฟฟ้า (
Early in the Power System Planning )
• เป็ นส่ วนต่อจากการออกแบบและการปฏิบตั ิงาน ( Design and Operation )
• การวิเคราะห์ ( Analysis ) ประกอบด้วย
การเขียนกราฟ ( Drawing ) t-I Curve บน Log-Log Paper เพื่อกําหนดประเภท ( Establish
Type ) และ Settings of O/C Devices
• Selectivity Study ยังรวมถึงการคํานวณและหาว่าอุปกรณ์ป้องกันจะทํางานอย่างไรเมื่อเกิดการ
ทํางานเกินโหลด ( Overload ) และลัดวงจร
1
• นอกจากนี้ Let-through Energy ( I2 t ) ระหว่าง Cycle แรกของ S/C จะต้องพิจารณาสําหรับ
2
หา Current-limiting Fuse หรื อ CBs ด้วย
• ผูผ้ ลิตจะให้ Characteristics Curve ของ O/C Devices
• Inverse or Constant Timer / Current Relay ใช้สาํ หรับ O/L และ S/C Protection
การศึกษา Selectivity เบื้องต้ นสํ าหรับระบบไฟฟ้ าของโรงงานใหม่
( Preliminary Selectivity Study for a New Plant )
36

• เพื่อให้ได้การป้ องกันที่ถูกต้อง ( Correct Protection ) จําเป็ นต้องทําประเมินการ Selectivity แต่เนิ่นๆ


• การประเมินแบบนี้เพื่อหาอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสมที่สุด และให้การป้ องกันที่ดีที่สุด
• การวิเคราะห์เบื้องต้น ( Preliminary Analysis ) นี้ โดยทัว่ ไปเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาขั้นหลักการ
(
Conceptual Study ) พร้อมกับ S/C และ Fault Protection Philosophy
การศึกษาการ Selectivity อย่ างละเอียดของโรงงานใหม่
( Detailed Selectivity Study for a New Plant )
• เมื่อเลือกอุปกรณ์ป้องกันทั้งหมด ( All Protective Devices ) แล้ว
• และได้กาํ หนด t-I Characteristics Selectivity อย่างละเอียด ก็จะทํา Detailed Selectivity Plan
• ทําทดสอบการใช้งานของระบบป้ องกัน ( Commissioning ) เช่น ปรับค่าใหม่และทดสอบ
(Calibration and Testing )

การทํา Selectivity สํ าหรับโรงงานอุตสาหกรรมเก่า


( Selectivity for Existing Plants )
• Selectivity Plan ของ New Plant เป็ น Effective Diagnostic Tool สําหรับ Operating Personnel
เมื่อ Trouble Shooting หลังจากเกิด Faults
• Graph แสดง t , I เป็ นกุญแจสู่ ความเข้าใจของอุปกรณ์ป้องกันระหว่าง O/L และ S/C
• ดังนั้นจึงจําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องปรับปรุ ง Selectivity Plan เป็ นระยะๆ หรื อเมื่อมีการเปลี่ยน
ระบบไฟฟ้า

A Typical Selectivity Report


• รายงาน Selectivity อาจประกอบด้วยสิ่ งต่อไปนี้
1) Scope of Work , Describing the Extent of , and the Criteria for , the Analysis
2) Single Line Diagram , Overall Diagram for the Whole Plant
3) General Criteria for Settings and Margins
4) Short-circuit Calculations
5) Time-current Charts
6) Tables of Device Settings
7) Comments on the Time-current Charts
8) Summary and Conclusions
Scope of Work , Describing the Extent of , and the Criteria for , the Analysis ( 1 )
37

• ในส่ วนนี้จะอธิ บายถึงขอบเขตของงาน


• ข้อกําหนด ( Criteria ) ที่ใช้ในการทํา Selectivity
• หลักการวิเคราะห์ ( Analysis )
• อธิ บายการทํางานทั้งหมดของระบบไฟฟ้า

Single Line Diagram ( 2 )


• หา Single Line Diagram ของระบบไฟฟ้าทั้งโรงงาน ซึ่ งจะใช้ในการวิเคราะห์
• เมื่อเพียงบางส่ วนของระบบไฟฟ้าเท่านั้นที่จะใช้ในการวิเคราะห์ จะต้องแสดงอย่างชัดเจนใน
Single Line Diagram
Criteria for Settings and Margins ( 3 )
รายงานจะต้องมีส่วนหนึ่ง ซึ่ งจะอธิ บายถึงข้อกําหนดทัว่ ไปสําหรับการทํา Selectivity เช่น
• Time and/or Current Margin ระหว่าง Relay Curves ของ Inverse Time Characteristics ซึ่งใช้
MV หรื อ HV และมีการใช้ CTs
• Time and/or Current Margins ใช้การวิเคราะห์ระหว่าง LV Characteristics
Margins เหล่านี้อาจให้เป็ น 2 แบบ คือ
1) Curves เขียนด้วย Tolerances Bands ซึ่งรวมทั้ง Opening หรื อ Melting Times
2) Curves เขียนด้วย Single Lines ซึ่ง Margins จะต้องกล่าวไว้ที่อื่น

• Margins ของ Device Setting จะต้องให้โดยคํานึงถึง


a) กระแสพิกดั มอเตอร์ และ Starting Current และ Locked Rotor Withstand Time
b) กระแสพุง่ เข้าของหม้อแปลง ( Transformer Inrush Current ) และ Thermal Withstand
Current เมื่อ Secondary เกิด S/C
c) Cable Thermal Withstand Current หรื อ I2t Curve

Short-circuit Calculations ( 4 )
• การคํานวณ S/C เป็ นรากฐานของการทํา Selectivity
• สรุ ปของ S/C Calculations ซึ่งใช้สาํ หรับ Protection จะต้องแสดงใน Separate Section ของ
Report และ All Impedance และ Time Constants ที่ใช้ในการคํานวณจะต้องแสดงให้ดูดว้ ย

Time-current Charts ( 5 )
38

• ประกอบด้วย Characteristic Curve และ Setting ของแต่ละ Protective Device Plotted บน


กระดาษใส
• แต่ละ Time-current Chart จะต้องมี Single Line Diagram ของระบบไฟฟ้าที่เกี่ยวกับ Chart นี้
• แต่ละ Time-current Chart จะต้องมี Table ของ Setting ของ Protective Devices และ CTs ที่
เกี่ยวข้อง
• แต่ละ Protective Devices Characteristics จะเขียนให้ชดั เจนทั้งใน Single Line Diagram และใน
Table
• ไม่ควรมี Protective Devices มากเกินไปในหนึ่ง Chart
• Maximum และ Minimum Available Symmetrical S/C Current จะต้องแสดงในแต่ละ Chart
• เมื่อมี Several Voltage Levels แสดงใน Chart เดียวกัน แสดง Current Scale ของแต่ละ Voltage
Level และมีตวั คูณ ( Multiplication Factors ) เพื่อแปลงกระแสไปแต่ละ Voltage Level ได้
• เมื่อ System Neutral ต่อลงดินผ่าน Impedances , Selectivity ของ Earth Fault Devices จะต้อง
แสดงใน Separate Earth Fault Charts

Tables of Device Settings ( 6 )


• หลังจากทํา Selectivity แสดงเรี ยบร้อย ค่า Setting ของ Protective Devices ต่างๆ จะต้องแสดง
เป็ นตาราง เพื่อให้เห็นได้ชดั เจน

Comments on the Time-current Charts ( 7 )


• อาจมี Comment ของ Time-current Charts ของแต่ละแผ่น เพือ่ ให้ผอู ้ ่านหรื อผูศ้ ึกษาภายหลังจะ
ได้เข้าใจได้ดีข้ ึน

Summary and Conclusions( 8 )


• อาจมีการสรุ ปให้

Data ทีต่ ้ องการ


เพื่อให้การทํา Selectivity ดําเนินไปได้ จะต้องมี Data ดังต่อไปนี้
• Single Line Diagram ของ Electrical System ซึ่ งแสดง
- Power , Voltage , Impedance , Connections ของ Transformers
- Normal and Emergency Switching Conditions
- Nameplate Ratings และ Subtransient Reactances ของ All Major Motors & Generators
39

- Transient Reactance ของ Generators


- Synchronous Reactances ของ Generators
- Conduction Sizes , Type & Configurations
- CT Ratios
- Identification of all O/C Devices
• Ratings , Time-current Characteristics Ranges of Adjustment of all Relays , O/C Releases and
Fuses
• Complete S/C Study for Both 1st Cycle และ Interrupting Duties Maximum และ Minimum
Currents as will as Available S/C Current for all Sources
• Expected Maximum Loading
• Any Special O/C Device Setting Requirement Stipulated by the Supply Company
• เมื่อมี EX ( e ) Motors ที่ตอ้ ง Study ด้วย จําเป็ นต้อง Included Rated Current และ Starting
Current และ Thermal Time Limit
• เมื่อมี Direct-started Motors และ Protection Part เป็ นส่ วนหนึ่งของการวิเคราะห์ Starting
Current และ Starting Time และ Maximum Allowable Starting Time จะต้องใช้ดว้ ย

You might also like