You are on page 1of 8

*Outdoor Substation*

คือสถานีไฟฟ้ าแรงสู งที่ติดตั้งอยูภ่ ายนอกอาคาร และต่อวงจรการควบคุม


อุปกรณ์จากภายนอกเข้ามาภายในอาคาร แต่ในกรณี ที่การควบคุมภายใน
ห้องมีปัญหาก็สามารถปลดหรื อสับอุปกรณ์ได้โดยตรงที่ตวั อุปกรณ์
สถานี้ไฟฟ้ าย่อยแบบนี้ จะใช้พ้ืนที่ในการติดตั้งมาก แต่ค่าใช่จ่ายในการ
ก่อสร้างจะมีราคาถูกและสามารถจัดวางอุปกรณ์ได้สะดวก ระบายความร้อน
ได้ดี โรงไฟฟ้ าแบบนี้ จะใช้อากาศเป็ นฉนวน
*Indoor Substation*
คือสถานีไฟฟ้ าแรงสู งที่ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าแรงสู งอยูใ่ นอาคาร มี Gas
เป็ นฉนวน (Gas SF6) โดยสถานีไฟฟ้ าแบบนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในย่านตัวเมือง
หรื อบริ เวณที่เสี่ ยงต่อการทำให้เกิดเบรกดาวน์กบั อุปกรณ์ได้ง่าย
*ส่ วนประกอบหลักของสถานีไฟฟ้ า*
1.หม้อแปลงไฟฟ้ ากำลัง
2.หม้อแปลงเครื่ องมือวัด
3.ตัวนำและฉนวน (ลูกถ้วย)
4.สวิตช์ปลดวงจร
5.บัสบาร์
6.อุปกรณ์ป้องกันฟ้ าผ่า/กับดักล่อฟ้ า
7.อุปกรณ์ป้องกันไฟกรรโชก
8.เซอร์กิตเบรกเกอร์
9.สวิตช์เกียร์
10.รี เลย์
11.ระบบสายดิน
12.ระบบควบคุมและสังเกตการณ์
*ข้อพิจารณาในการออกแบบสถานีไฟฟ้ า*
1.สถานที่
-ตำแหน่งที่ต้ งั
-การเข้าถึงถนน
-ศูนย์กลางโหลดปั จจุบนั และอนาคต
-แหล่งกำลังไฟฟ้ าที่มีอยูแ่ ละในอนาคต
2.สิ่ งแวดล้อม
-อากาศ
-อุณหภูมิ
-ความปลอดภัยสาธารณะ
-เสี ยงรบกวน
-ผลกระทบแวดล้อม

*การออกแบบสถานีไฟฟ้ า*
1.สถานีฟ้าต้องมีความน่าเชื่อถือความยืดหยุนความต่อเนื่องในการ
ให้บริ การ โดยที่จะต้องมีตน้ ทุนการลงทุนต่ำที่สุดและตอบสนอง
ความต้องการของระบบ
2.ความต้องการของระบบ
-ระดับแรงดันที่เหมาะสมซึ่ งขึ้นกับความต้องการของโหลด
และความยาวสายส่ ง
-ราคาที่ต้ งั ต่ำ
-ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด
-แหล่งน้ำในการระบายความร้อนพอเพียงและหาได้ง่าย และแหล่ง
เชื้อเพลิงที่ประหยัด
3.ต้นทุนหลักของสถานีไฟฟ้ าจะมาจาก หม้อแปลง เซอร์กิตเบรกเกอร์
สวิตช์ตดั ตอน และรู ปแบบบัสและการจัดเรี ยง
4.รู ปแบบการจัดเรี ยงบัสของสถานีไฟฟ้ าจะต้องสอดคล้องกับความต้อง
การของระบบและสถานีไฟฟ้ านั้น เช่น จำนวนวงจรที่จะต้องการจ่ายไฟ
5.รู ปแบบการจัดเรี ยงบัสมีผลต่อการทำงาน การบำรุ งรักษา ราคาและ
การป้ องกันของสถานีไฟฟ้ า
6.การออกแบบสถานีไฟฟ้ า ทราบจำนวนของสายส่ งที่เข้าและออกจาก
สถานีหม้อแปลงและอื่นๆ
7.การจัดเรี ยงอุปกรณ์ทางกายภาพของสถานีไฟฟ้ า

*สิ่ งที่ควรพิจารณาในการออกแบบจัดเรี ยงอุปกรณ์ทางกายภาพของสถานีไฟฟ้ า*


1.ความต้องการในการทำสวิตช์ชิง สำหรับการทำงานปกติและไม่ปกติ
เช่น เกิดโหลดเกิน เกิดการลัดวงจร
2.ความยืดหยุน่ ในการทำงาน ง่ายต่อการใช้ง่าย
3.ความต้องการในการบำรุ งรักษา พื้นที่สำหรับการเข้าถึงแต่ละอุปกรณ์ในการบำรุ งรักษา
4.ถนน ทางรถไฟเส้นทางสำหรับการขนส่ งอุปกรณ์หลักและเสริ ม
5.ความปลอดภัยของบุคลากร
6.การป้ องกันระบบไฟฟ้ ากำลัง (หลักและสำรอง)
7.ความต้องการทางเทนิค เช่น ค่าพิกดั อุปกรณ์ต่างๆ ช่องว่างระหว่างอุปกรณ์
ระบบสายดิน การป้ องกันฟ้ าผ่า
8.ความต้องการสำหรับ SCADA และการสื่ อสาร

*การจัดเรี ยงบัสบาร์*
บัสบาร์เป็ นอุปกรณ์จะใช้ในการเชื่อมต่อไฟฟ้ า โดยบัสบาร์มีหน้าที่ในการ
นำกระแสไฟฟ้ า รู ปแบบการจัดเรี ยงบัสบาร์ มีหลายรู ปแบบในการเลือก
รู ปแบบจัดเรี ยงบัส ดังนี้
-ระบบไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน
-บำรุ งรักษาอุปกรณ์ต่างๆได้ง่าย
-การดับของไฟ ระหว่างการบำรุ งรักษาน้อยที่สุด
-การขยายระบบในอนาคตตามการเพิ่มขึ้นของความต้องการทางไฟฟ้ า
-การเลือกรู ปแบบการจัดเรี ยงบัสที่เหมาะสมจะทำระบบไฟฟ้ ามีความน่า
เชื่อถือและปลอดภัย
*การจัดเรี ยงบัสบาร์ มี 6 แบบ*
1.Single bus บัสเดียว
2.Double bus double breaker บัสคู่เบรกเกอร์คู่
3.Main and transfer bus บัสหลักและบัสผ่าน
4.Double bus single breaker บัสคู่เบรกเกอร์เดี่ยว
5.Ring bus บัสแบบวงแหวน
6.Breaker and half เบรกเกอร์ครึ่ ง,แบบครึ่ งหนึ่ง

1.Single bus บัสเดียว


เป็ นการจัดบัสแบบมีหนึ่งบัสหลักต่อกับทุกวงจร การจัดเรี ยงบัสแบบนี้ ง่าย
แต่มีความน่าเชื่อถือต่ำ แนะนำสำหรับสถานีไฟฟ้ ามีโหลดน้อยๆ

*ข้อดี
-ราคาถูก
-ใช้พ้ืนที่นอ้ ย
-ง่ายต่อการขยายวงจร
*ข้อเสี ย
-ความน่าเชื่อถือต่ำ
-ถ้าเกิด Fault ที่บสั จะเกิดการสู ญเสี ยทั้งสถานีไฟฟ้ า
-การตัดต่อวงจรเพื่อการบำรุ งรักษาจะค่อนข้างยุง่ ยาก และไม่ยดื หยุน่

2.Double bus double breaker บัสคู่เบรกเกอร์คู่


การจัดเรี ยงบัสแบบนี้ จะมีเบรกเกอร์แยกสำหรับแต่ละวงจร มีราคาและความ
น่าเชื่อถือสู ง การบำรุ งรักษาสามารถแยกทำได้โดยปราศจากการรบกวนวงจรอื่น
การจัดเรี ยงบัสแบบนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในสถานีก ำเนิดไฟฟ้ า หรื อสถานีไฟฟ้ าใหญ่
ที่ตอ้ งการความน่าเชื่อถือสู ง
*ข้อดี
-มีความยืดหยุนในการใช้งานและมีความน่าเชื่อถือสู ง
-สามารถแยกวงจรได้โดยไม่กระทบวงจรอื่น
-มีการจ่ายไฟสองทางต่อหนึ่งวงจร
*ข้อเสี ย
-มีราคาสู ง

3.Main and transfer bus บัสหลักและบัสผ่าน


จะเป็ นบัสหลักที่ใช้ในการทำงาน (Operating bus) แต่ Transfer bus จะทำหน้าที่
เป็ นบัสส่ งผ่านหรื อบัสสังเกตการณ์ และจะมีเบรกเกอร์เชื่อมต่อระหว่าง Main bus
และ Transfer bus ทุกวงจรจะถูกต่อกับ Main bus ไม่มีรีเลย์ป้องกันที่ Transfer bus
*ข้อดี
-สามารถจ่ายไฟได้ระหว่างทำการบำรุ ง
รักษาเซอร์กิตเบรกเกอร์
-ราคาสมเหตุสมผล
-ใช้พ้ืนที่ค่อนข้างน้อย
-ง่ายต่อการขยายวงจร
*ข้อเสี ย
-จะต้องเพิ่มเบรกเกอร์สำหรับการเชื่อมต่อระหว่างบัส
-การออกแบบการป้ องกันและรี เลย์ค่อนข้างยุง่ ยาก
-ถ้าเกิดบัส Fault ที่ Main บัสจะเกิดการสู ญเสี ยทั้งสถานี

4.Double bus single breaker บัสคู่เบรกเกอร์เดี่ยว


เป็ นการจัดเรี ยงบัสที่ประกอบด้วย 2 บัส ต่อเข้ากับเบรกเกอร์หนึ่งตัว และมี 1 เบรก
เกอร์เชื่อมต่อระหว่างบัส โดยปกติ Bus tie breaker อยูท่ ี่ต ำแหน่งสวิตช์ Closed position
ก็จะสามาทำงานได้ท้ งั สองบัส การทำงานล้มเหลว ของ Bus tie breaker อาจก่อให้เกิด
ไฟฟ้ าขัดข้องได้

*ข้อดี
-มีความยืดหยุน่ ในการใช้งานและมีความน่าเชื่อถือ
-สามารถแยกวงจรได้โดยไม่กระทบวงจรอื่น
-สามารถเลือกรับหรื อจ่ายไฟจากบัสใดก็ได้
-ถ้าเกิด Fault ที่บสั ใดบัสหนึ่งก็ไม่กระทบต่อวงจร
*ข้อเสี ย
-การออกแบบการป้ องกันและรี เลย์ค่อนค้างยุง่ ยาก

5.Ring bus บัสแบบวงแหวน


บัสจะถูกต่อเป็ นวง หากเกิดการล้มเหลว 1 วงจรจะส่ งผลกระทบแค่ 2 เบรกเกอร์ที่ใกล้กนั
การบำรุ งรักษาสามารถจัดการได้โดยไม่รบกวนวงจรอื่นๆ แต่การออกแบบรี เลยป้ องกัน
จะซับซ้อนเหมาะกับบริ เวณที่มีพ้ืนที่จ ำกัด

*ข้อดี
-มีความยืดหยุน่ ในการใช้งาน
-มีการจ่ายไฟจาก 2 ทางไปยังแต่ละวงจร
-ราคาถูกกว่า Double bus , Main and transfer bus
-สามารถขยายเป็ นการจัดบัสแบบ Breaker and half ได้
-การแยกบัสและเบรกเกอร์สำหรับการบำรุ งรักษาสามารถทำได้โดยไม่กระทบวงจรอื่น
*ข้อเสี ย
-เกิดการลัดวงจร การแยกออกจอง Ring bus อาจก่อให้เกิดรู ปแบบวงจรที่ไม่พ่ งึ ปรารถนาได้
-ไม่เหมาะกับระบบที่ก ำลังพัฒนา ยากต่อการขยายวงจร

6.Breaker and half เบรกเกอร์ครึ่ ง,แบบครึ่ งหนึ่ง


การต่อบัสแบบนี้จะมีบสั หลักอยู่ 2 บัส โดยแต่ละวงจรจะต่ออยูร่ ะหว่างเบรกเกอร์
2 ตัว การล้มเหลวใดๆของวงจรจะกระทบกับเบรกเกอร์แค่ 2 ตัว

*ข้อดี
-มีความยืดหยุน่ ในการใช้งานและมีความน่าเชื่อถือสู ง
-สามารถแยกบัสออกจากกันได้โดยไม่กระทบกับการให้บริ การ
-สามารถแยกเบรกเกอร์สำหรับการบำรุ งรักษาได้โดยไม่กระทบกับการให้บริ การ
-มีการจ่ายไฟจาก 2 ทางไปยังแต่ละวงจร
-หากเกิดการลัดวงจรบัสใดบัสหนึ่งก็ไม่กระทบกับการให้บริ การแก่วงจรใดๆในระบบ
*ข้อเสี ย
-การออกแบบรี เลย์ป้องกันจะยุง่ ยากขึ้นที่เบรกเกอร์ต ำแหน่งกลางซึ่ งต้องป้ องกันผลของ
การลัดวงจรที่อาจเกิดขึ้นจาก 2 วงจร
*อุปกรณ์สวิตช์ชิงแรงสู ง*
1.สวิตช์ปลดวงจร
-อุปกรณ์ตดั ตอนในการปลดวงจร ตัดหรื อต่อวงจรไฟแรงสู งขณะ
ไม่มีโหลด
-ใช้เป็ นสะพานไฟฟ้ าสำหรับแยกอุปกรณ์ที่ตอ้ งการปลดออกจาก
การจ่ายไฟฟ้ าเพื่อทำการซ่อมบำรุ งรักษา
2.สวิตช์สำหรับตัดโหลด
-อุปกรณ์ตดั ตอนในการปลดวงจร ตัดหรื อต่อวงจรไฟแรงสู งขณะ
มีกระแสไหลผ่านตัวเองได้ (ขณะมีโหลด)
-มีอุปกรณ์ดบั ประกายไฟฟ้ าหรื ออาร์ค ขณะตัดหรื อต่อวงจร
-เพิ่มความเร็ วในการทำงานเพื่อขัดขวางการเกิดอาร์ค
3.สวิตช์ต่อลงดิน
-อุปกรณ์ใช้สำหรับต่อส่ วนโลหะของบริ ภณั ฑ์ไฟฟ้ าลงดิน
-สามารถทนกระแสขณะเกิดการลัดวงจรได้
-ใช้มอเตอร์ในการทำงาน ตัดหรื อต่อวงจร
-เป็ นอุปกรณ์ที่มีความเร็ วสู ง
4.ฟิ วส์ก ำลัง
-เป็ นอุปกรณ์ป้องกันอุปกรณ์จากกระแสเกิน ตัดขาดหรื อหลอม
ละลายของสายฟิ วส์หรื อกระบอกฟิ วส์
-ฟิ วส์ขาดหรื อหลอมละลาย ไม่สามารถนำมาใช้ได้อีก
-ขนาดของฟิ วส์ก ำลังที่ระดับแรงดันไม่เกิน
-ราคาถูกกว่าสวิตช์วงจรและเซอร์กิตเบรกเกอร์
5.สวิตช์วงจร
-เป็ นอุปกรณ์ตดั ต่อไฟฟ้ า ป้ องกันกระแสเกิน
-หลักการทำงานจะเป็ นการผสมกันระหว่างเซอร์กิตเบรกเกอร์
และสวิตช์ปลดวงจร
-แก้ไขแรงดันไม่สมดุล ป้ องกันแรงดันเกินและโหลดเกินชัว่ ครู่
-ป้ องกันสำหรับหม้อแปลง สายไฟ คาปาซิ เตอร์แบงค์ และอิ่นๆ
6.เซอร์กิตเบรกเกอร์
-เป็ นอุปกรณ์ตดั ตอน ใช้ตดั กระแสโหลดหรื อกระแสที่มีค่าสู งที่
เกิดจากการลัดวงจรได้ในเวลาที่เหมาะสม
-สามารถตัดต่อและให้กระแสไหลผ่านในเวลาที่ก ำหนด และตัด
กระแสในขณะที่เกิดสิ่ งผิดปกติได้
*อันตรายในสถานีไฟฟฟ้ า*
1.แรงดันบนดิน
2.แรงดันสัมผัส
3.แรงดันช่วงก้าว
4.แรงดันเมช
5.แรงดันสัมผัสโลหะกับโลหะ
6.แรงดันส่ งผ่าน
*ระบบรากสายดิน*
Grounding System ของสถานีไฟฟ้ าส่ วนใหญ่จะเป็ นแบบระบบกริ ด (Grid system)
ตัวนำไฟฟ้ าฝังใต้ดินลึกประมาณ 0.15 เมตร (0.5 ฟุต) และวางตัวเป็ นรู ปตาข่ายสี่ เหลี่ยม
ช่วงห่างระหว่างตัวนำจะขั้นอยูก่ บั แรงดันของสถานี ไฟฟ้ า โดยทัว่ ไปประมาณ 3.0-3.7
เมตร (10-12 ฟุต) จุดตัดของตัวนำทุกแห่งจะต้องเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน แล้วต่อเข้ากับอุปกรณ์
ทั้งหมดในสถานี รวมถึงรั้วและโครงสร้างโลหะด้วย นอกจากนี้ พ้ืนผิวกริ ดรอบสถานีตอ้ งใช้
หิ นกรวดโรยให้ทวั่ เพื่อลดอันตรายจากแรงดันช่วงก้าว ในกรณี เกิดการลัดวงจรอย่างรุ นแรง
*การป้ องกันฟ้ าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง*
การป้ องกันไม่ให้ฟ้าผ่า ผ่าลงอุปกรณ์ภายในสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง แต่จะให้ผา่ ไปยังตัวล่อฟ้ าแทน
*การออกแบบป้ องกันฟ้ าผ่า*
1.High Mast Air Terminal (การป้ องกันโดยใช้เสาล่อฟ้ า)
-การป้ องกันฟ้ าผ่าโดยการใช้ตวั นำล่อฟ้ า ติดตั้งบนเสาสู ง
2. Overhead Ground Wire (การป้ องกันโดยใช้สายดินล่อฟ้ าวางเหนือระบบ)
-เป็ นการป้ องกันฟ้ าผ่าโดยการใช้ตวั นำล่อฟ้ า ติดตั้งเหนือระบบ ใช้กบั งานออกแบบ-ก่อสร้าง
ในระบบสายส่ งและลานไกไฟฟ้ า
3.High Mast Air Terminal และ Overhead Ground Wire (การป้ องกันโดยใช้ท้ งั เสาล่อฟ้ าและ
สายดินล่อฟ้ าวางเหนือระบบ)
-เป็ นการป้ องกันฟ้ าผ่าโดยการใช้ท้ งั สองวิธีมารวมกัน ซึ่ งหากมีการติดตั้งอุปกรณ์สถานีไฟฟ้ า
ห่างออกไปเกินขอบเขตพื้นที่ปลอดภัยของวิธีสายดินล่อฟ้ าก็สามารถใช้เสาล่อฟ้ ามาเสริ มได้
ในระบบได้
*ระบบรากสายดินของสถานีไฟฟ้ าแรงสู ง*
-ระบบนำกระแสฟ้ าผ่าที่เข้ามาในสถานี ไฟฟ้ าให้ไหลลงดิน ค่าความต้านทานของระบบรากสาย
ดินควรมีค่าต่ำ (Rg) ระบายกระแสฟ้ าผ่ารวมถึงกระแสฟอลต์ ต่างๆให้ไหลลงดินได้อย่างรวดเร็ ว
-ช่วยลดความเสี ยหายของระบบให้นอ้ ยลงได้ กรณี เกิดฟ้ าผ่าให้ผา่ /เกิดฟอลต์
-ช่วยทำให้ระบบป้ องกันฟ้ าผ่ามีประสิ ทธิภาพในการล่อฟ้ าให้ผา่ ลงมาที่ตวั ล่อฟ้ าได้ดีข้ ึน
- Grounding System ของสถานีไฟฟ้ าส่ วนใหญ่จะเป็ นแบบระบบกริ ด (Grid system)

*กับดักฟ้ าผ่า*
-เป็ นอุปกรณ์สำหรับป้ องกันแรงดันเกิน ซึ่ งอาจเกิดจากฟ้ าผ่าหรื อการปิ ดเปิ ดวงจร
-ทำหน้าที่ลดแรงดันเกินให้ต ่ำลง ซึ่ งประกอบด้วยความต้านทานไม่เป็ นเชิงเส้น
ความต้านทานจะน้อยลงเมื่อกระแสมากขึ้น โดยในสภาวะปกติกบั ดักฟ้ าผ่าจะมี
ลักษณะเป็ นฉนวน
-Spark Gap Arrester ตัวต้านทานที่ข้ ึนกับแรงดันแบบไม่เป็ นเชิงเส้น (Varistor) ต่อ
อนุกรมกับ Spark Gap
- Arrester Without Spark Gap ตัวต้านทานโลหะออกไซด์ ที่มีลกั ษณะขึ้นกับแรงดัน
แบบไม่เป็ นเชิงเส้นอย่างมาก

*ระบบสถานียอ่ ยอัตโนมัติ SAS*


-ให้บริ การในการเข้าถึงข้อมูลทางระบบไฟฟ้ าทั้งระยะไกลและใกล้ เช่น
ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์ไฟฟ้ า หรื อแก้ไขการตั้งค่า (ค่าเชตติ้ง) ของระบบ
ป้ องกัน
-ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการควบคุมและสังเกตการณ์ โดย IDEs ประกอบด้วย
รี เลย์ป้องกัน,มิเตอร์ต่างๆ, PLC, ทรานสดิวเซอร์ เป็ นต้น
-ควบคุมการทำงานอุปกรณ์จ่ายไฟฟ้ าโดยบุคคลและโดยระบบอัตโนมัติ ทั้งในเหตุ
การณ์ปกติและไม่ปกติ เช่น การรักษาระดับแรงดันไฟฟ้ า
-การจัดการระบบสื่ อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์จ่ายไฟฟ้ าและระบบควบคุมศูนย์สัง่ การ
SCADA

You might also like