You are on page 1of 12

1

เฉลยคำถามบทที่ 8
การป้ องกันมอเตอร์

1. มอเตอร์ที่ใช้มากในโรงงานอุตสาหกรรมมีชนิ ดใดบ้าง
ตอบ
มอเตอร์ขนาดใหญ่ทใ่ี ช้ในงานอุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1. มอเตอร์เ หนี่ย วนำชนิด กรงกระรอก ( Squirrel Cage Induction Motor ) มีข นาดระหว่า ง
0.20-10 MW ใช้กบั แรงดันระหว่างสาย ( Line Voltage ) 3-10 kV การเริม่ เดินเครือ่ งจะเป็ นแบบ
Direct On Line หรือ Reduce Voltage Starting
2. มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบ Slip Ring ( Slip Ring Induction Motor ) มีขนาดระหว่าง 0.20-10 MW
ใช้กบั แรงดันระหว่างสาย ( Line Voltage ) 3-10 kV การเริม่ เดินเครือ่ งจะเป็ นแบบ Rotor Start
3. มอเตอร์แบบ Synchronous ( Synchronous Motor ) มีขนาดระหว่าง 1-20 MW การเดินเครือ่ ง
จะเป็นแบบ Direct On Line Start , Induction Start หรือ Transformer Start

2. ความเสียหายที่อาจเกิ ดกับมอเตอร์ มีอะไรบ้าง


ตอบ
สาเหตุความเสียหายเนื่องจากความผิดพร่องทีเ่ กิดขึน้ กับมอเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ชนิดคือ
1. ความผิดพร่องทีเ่ กีย่ วกับโหลด ( Faults Related to Driven Load )
2. ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้า ( Power Supply Faults )
3. ความผิดพร่องภายในตัวมอเตอร์ ( Internal Motor Faults )

3. ความผิ ดพร่องที่เกี่ยวกับโหลดเป็ นอย่างไร จงอธิ บาย


ตอบ
ความผิดพร่องทีเ่ กีย่ วกับโหลด มีดงั ต่อไปนี้
- การทำงานเกิ นพิ กดั ( Overload )
ถ้ามอเตอร์ทำ งานเกินกำลังจะทำให้มอเตอร์ตอ้ งดึงกระแสเพิม่ ขึน้ เป็ นสาเหตุทำ ให้กำ ลังสูญเสียและ
อุณหภูมเิ พิม่ ขึน้ ตาม
- การเริ่ ม เดิ น เครื่อ งยาวนานเกิ น ไปหรือ การ Start บ่อ ยครังเกิ้ น ไป ( Too Long Too
Frequent Start-Up )
ในขณะเริม่ เดินเครือ่ งมอเตอร์ตอ้ งมีกระแสสูง ซึง่ ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแต่อย่างใดถ้าระยะเวลาสัน้
ถ้าการ Start บ่อยครัง้ เกินไปหรือระยะเวลายาวเกินไปอาจทำให้ความร้อนทีเ่ กิดขึน้ อาจมากเกินไปเป็ นเหตุให้
มอเตอร์เสียหายได้

- โรเตอร์ถกู ตรึงไว้ ( Jamming )


ถ้าโรเตอร์ถกู ตรึงให้หยุดจะทำให้มอเตอร์ดงึ กระแสเข้าเท่ากับกระแสเริม่ เดินเครือ่ ง ประกอบกับไม่มกี าร
ระบายความร้อนจะทำให้มอเตอร์มอี ุณหภูมสิ งู ขึน้ อย่างรวดเร็ว
- การใช้งานปัม๊ ขณะไม่มีโหลด ( Pump De-energizing )
2

ั๊
ถ้ามอเตอร์ฉุดปมในขณะที ไ่ ม่มนี ้ำให้ดดู จะเป็ นเหตุให้มอเตอร์ทำงานเบาและกระแสลดลงอย่างมากใน
ั๊
ส่วนตัวมอเตอร์จะไม่มผี ลเสียแต่ปมอาจจะเสี ยหายได้
- การจ่ายกำลังย้อนกลับ ( Reverse Power )
เหตุการณ์น้เี กิดขึน้ กับ Synchronous Motor เนื่องจากแรงดันตกจะทำให้มอเตอร์จะจ่ายกำลังย้อนกลับ
เข้าสูร่ ะบบ

4. ความผิ ดพร่องของระบบไฟฟ้ าที่มีผลต่อมอเตอร์ มีอะไรบ้าง จงอธิ บาย


ตอบ
ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้าทีม่ ผี ลต่อมอเตอร์มดี งั นี้
- การเกิ ดแรงดันไฟฟ้ าตก
ถ้าแรงดันแหล่งจ่ายไฟตก มีผลทำให้แรงบิดของมอเตอร์ และความเร็วลดลง ซึง่ การลดลงลักษณะนี้จะ
ทำให้กระแสของมอเตอร์เพิม่ ขึน้ กำลังสูญเสีย และความร้อนจะเพิม่ ขึน้ ตาม
- การเกิ ดแรงดันไม่สมดุล
แรงดันไม่สมดุลของแหล่งจ่ายไฟ จะทำให้ม ี Negative Sequence Current เป็ นเหตุให้กำ ลังสูญเสีย
เพิม่ ขึน้ อย่างมาก ทำให้โรเตอร์มอี ุณหภูมเิ พิม่ สูงขึน้

5. ความผิ ดพร่องในตัวมอเตอร์เอง มีอะไรบ้าง จงอธิ บาย


ตอบ
ความผิดพร่องทีเ่ กิดขึน้ ภายในตัวมอเตอร์ ได้แก่
- การลัดวงจรระหว่างเฟส ( Phase-to-Phase Short Circuit )
การลัดวงจรระหว่างเฟสจะทำความเสียหายอย่างมากแก่มอเตอร์ เนื่องจากกระแสลัดวงจรมีคา่ สูงมาก
- การลัดวงจรลงโครงโลหะ ( Frame Faults )
ผลของการลัดวงจรจากขดลวดมอเตอร์ลงโครงโลหะขึน้ อยู่กบั ระบบการต่อลงดินและตำแหน่งของการ
ลัดวงจร ถ้าการลัดวงจรรุนแรงมากอาจต้องพันขดลวดใหม่ รวมทัง้ วงจรแม่เหล็กอาจได้รบั ความเสียหายด้วย
- การสูญเสียซิ งโครนัส ( Loss of Synchronism )
สำหรับ Synchronous Motor การสูญเสีย Synchronism อาจเกิดจากการทีโ่ หลดเพิม่ ขึน้ มากเกินไป
ทำให้มอเตอร์ไม่สามารถขับโหลดได้ รวมทัง้ กระแสไหลเข้ามากในสภาวะที่ Power Factor มีคา่ ต่ำ นอกจาก
นี้ยงั เกิดจากกรณีทข่ี ดลวดสนามของมอเตอร์ไม่มไี ฟเลีย้ ง ผลคือ Synchronous Motor จะทำงานเป็ น Motor
Asynchronous ซึง่ จะมีกำลังสูญเสียเพิม่ ขึน้ มาก

6. สิ่ งที่ต้องพิ จารณาในการป้ องกันมอเตอร์ มีอะไรบ้าง จงอธิ บาย


ตอบ
สิง่ ทีต่ อ้ งพิจารณาในการป้องกันมอเตอร์ประกอบด้วย
1) Motor Characteristics ลักษณะสมบัตขิ องมอเตอร์จะพิจารณาถึงชนิด ความเร็ว แรงดัน พิกดั
กำลัง พิกดั Power Factor เป็ นต้น
2) Motor Starting Condition เงือ่ นไขการเริม่ เดินเครือ่ งของมอเตอร์จะพิจารณาถึงแรงดันพิกดั หรือ
แรงดันทีล่ ดต่ำลง แรงดันตก (Voltage Drop) และขนาดของกระแสทีเ่ พิม่ สูง ขึน้ ขณะเริม่ เดิน
เครือ่ งซ้ำ ความถี่ ฯลฯ
3

3) Ambient Conditions ดูค า่ อุณ หภูม สิ งู สุดและต่ำสุด แหล่ง กำเนิด ความร้อ น การระบายอากาศ
เป็นต้น
4) Driven Equipment ลักษณะทีจ่ ะเกิดขึน้ จากผลกระทบของการยึดโรเตอร์ ( Locked Rotor) การที่
มอเตอร์หมุนไม่ถงึ ความเร็วปกติ ทำให้เกิดความร้อนเกินขึน้ ขณะเร่งความเร็วมอเตอร์คอื การ
เกิดโหลดเกิน เป็นต้น
5) Power System ระบบไฟฟ้ ากำลังจะพิจารณาถึง ชนิดการต่อลงดินของระบบ การได้รบั ผลจาก
ฟ้าผ่า และ Switching Surges ขนาดของความผิดพร่อง การเกิดขึน้ ของ Single-Phasing และ
กรณีของโหลดอื่นๆ ทีส่ ามารถก่อให้เกิดแรงดันไม่สมดุล
6) Motor Importance จะพิจารณาเรือ่ งราคาของตัวมอเตอร์ มูลค่าหรือความสูญเสียในช่วงการหยุด
ซ่อมบำรุงและดูแลรักษามอเตอร์ในระหว่างการทำงาน เป็ นต้น
7) Load Side Faults For Motor Controllers กระแสความผิดพร่องทีเ่ กิดขึน้ ในวงจรซึง่ ฟิวซ์และ
เบรกเกอร์ จะเป็นตัวป้ องกันสายป้อนในวงจรและสายจำหน่าย โดยมีพกิ ดั ตามกระแสความผิด
พร่องทีเ่ กิดขึน้
8) การพิจารณาในเรือ่ ง Arcing Ground Faults
9) การปรับปรุงระบบการป้ องกันโหลดเกิน จะต้องมีค วามปลอดภัยเพียงพอทีจ่ ะสามารถป้ องกัน
เหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ โดยไม่ตงั ้ ใจ คือ Accident Normal Vibration หรือ Ambient Condition

7. ชนิ ดของการป้ องกันที่จะใช้กบั มอเตอร์ มีอะไรบ้าง


ตอบ
ชนิดของการป้องกันมอเตอร์มดี งั นี้
- การป้องกันแรงดันต่ำ ( Undervoltage Protection )
- การป้องกันเฟสไม่สมดุล ( Phase Unbalance Protection )
- การป้องกันกระแสเกินเฟสแบบทันทีทนั ใด ( Instantaneous Phase Overcurrent Protection )
- การป้องกันกระแสเกินเฟสแบบหน่วงเวลา ( Time-Delay Phase Overcurrent Protection )
- การป้องกันกระแสเกินโหลดเฟส ( Overload Phase Overcurrent Protection )
- การป้องกันลัดวงจรลงดินแบบทันทีทนั ใด ( Instantaneous Ground Overcurrent Protection )
- การป้องกันลัดวงจรลงดินแบบหน่วงเวลา ( Time-Delay Ground Overcurrent Protection )
- การป้องกันผลต่างกระแสเฟส ( Phase Current Differential Protection )
- การป้องกันเฟสไม่สมดุลแบบแยกขดลวด ( Split Winding Current Unbalance Protection )
- การป้องกันอุณหภูมสิ งู ของขดลวดสเตเตอร์ ( Stator Winding Overtemperature Protection )
- การป้องกันอุณหภูมสิ งู ของขดลวดโรเตอร์ ( Rotor Overtemperature Protection )
- การป้องกันมอเตอร์ซงิ โครนัส ( Synchronous Motor Protection )
- การป้องกันการเริม่ เดินเครือ่ งไม่สมบูรณ์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำ
( Induction Motor Incomplete Starting Sequence Protection )
- การป้องกันการเริม่ เดินเครือ่ งบ่อยเกินไป ( Protection Against Too Frequent Starting)
- การป้องกันลัดวงจรลงดินของขดลวดโรเตอร์ ( Rotor Winding Ground Fault Protection)
- การป้องกันฟ้าผ่าและเสิรจ์ ( Lightning and Surge Protection )
- การป้องกันการไม่หมุนหรือหมุนกลับทิศทาง
4

( Protection Against Failure to Rotate or Reverse Rotation Protection )


- การป้องกันทางกล ( Mechanical and Other Protections )

8. Phase Unbalance Protection สำหรับมอเตอร์จะต้องทำอย่างไร


ตอบ
ใช้รเี ลย์ในการป้องกันเฟสไม่สมดุลรวมทัง้ Single-Phasing ซึง่ โดยทัวไปจะใช้
่ ซึง่ รีเลย์สามารถแบ่งออก
ได้ดงั นี้ คือ
- Phase Current Balance Relay รีเลย์ชนิดนี้จะตรวจจับกระแสทีไ่ ม่สมดุลในทัง้ 3 เฟส
- Negative-Sequence Voltage Relay รีเ ลย์ช นิด นี้จ ะทำงานแบบ Instantaneously โดยใช้ฟิล
เตอร์ แรงดัน Negative Sequence

9. Overload Protection ของมอเตอร์จะต้องทำอย่างไร


ตอบ
- ตัง้ ค่าให้รเี ลย์ป้ องกันกระแสเกิน เป็ น Alarm เท่านัน้ โดยสัมพันธ์กบั Low Pickup และค่า Fast
Time Setting
- ตัง้ ค่าการ Trip ให้สงู กว่าค่า Pick up หรือช่วงเวลาทีต่ ่ำกว่าค่าตัง้ ไว้กบั Overload Alarm Relay
10. Stator Winding Overtemperature จะต้องทำอย่างไร
ตอบ
ต้องติดตัวตรวจวัดอุณหภูมิ กับตัวมอเตอร์ ซึง่ จะทำการตัง้ อุณหภูมไิ ว้ 2 ค่า คือ ทีอ่ ุณหภูมติ ่ำจะมีการ
ส่งสัญญาณ Alarm และทีอ่ ุณหภูมสิ งู จะสังให้่ Trip โดยอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมมิ ดี งั นี้
- Resistance Temperature Detectors ( RTD )
- Thermocouple
- Thermistors
11. Incomplete Starting Sequence สำหรับ Induction Motor ทำได้อย่างไร
ตอบ
การป้ อ งกันแบบนี้ป กติแล้ว จะมีต วั Timer ทำการ Block การ Tripping ของ Field Current Failure
Protection และป้ อ งกัน การเกิด Pull out ในระหว่า งการสตาร์ท ตามปกติ ตัว Timer จะเริม่ ทำงานโดย
Auxiliary Contact ใน Motor Startor โดยช่วงเวลาทีต่ งั ้ ไว้น้จี ะหาได้ในระหว่างการทดสอบการสตาร์ท ซึง่ จะ
มากกว่าช่วงเวลาปกติของมอเตอร์จากการเริม่ เดินเครื่องจนถึง Full Field Current เพียงเล็กน้อย

12. Protection Against Too Frequent Starting สำหรับ Induction Motor จะทำได้อย่างไร
ตอบ
การป้องกันการ Start บ่อยครัง้ เกินไป สามารถทำได้ดงั นี้
1) ใช้ต วั Timer เพือ่ Block การ Start ครัง้ ทีส่ อง ถ้า ยัง ไม่ถงึ เวลา Preset Timing Interval ของ
มอเตอร์
2) ใช้ Stator Thermal Overcurrent Relays ในการป้องกัน โดยจะขึน้ อยูก่ บั
5

- Normal Duration และขนาดของ Inrush Motor


- เวลาในการทำงานของรีเลย์ท่ี Inrush Motor และเวลา Cool-Down ของรีเลย์
- การป ้ อ งก นั แบบว ดั อุณ หภ มู ขิ องขดลวด Damper Winding ของมอเตอร แ์ บบ
Synchronous
- การป้องกันอุณหภูมเิ กินของตัวโรเตอร์

13. Mechanical Protection สำหรับมอเตอร์ มีอะไรบ้าง


ตอบ
ระบบ Mechanical Protection แยกเป็ นระบบได้ 5 ระบบ ดังนี้
- Bearing and Lubricating Systems
- Ventilation and Cooling Systems
- Vibration Detectors
- Liquid Detectors
- Fire Detection and Protection

14. จงเขียนวงจรแสดง Protection ของ Induction Motor ขนาดสูงกว่า 1000 kW


ตอบ

อุปกรณ์หมายเลข 27 คือ Undervoltage Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันมอเตอร์เมือ่ เกิด Undervoltage ขึน้


อุปกรณ์หมายเลข 46 คือ Current Balance Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิดการไม่สมดุลย์ของกระแส
เฟส
อุปกรณ์หมายเลข 49 คือ Temperature Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิด Overload โดยวัดอุณหภูม ิ
ของ Stator Winding
อุป กรณ์ห มายเลข 49/50 คือ Time Overcurrent Stalled Rotor Relay ทำหน้า ทีป่ ้ อ งกัน การ Lock
Rotor
6

อุป กรณ์ห มายเลข 50 คือ Instantaneous Overcurrent ทำ หน้า ทีป่ ้ อ งกัน การเกิด Short Circuit
ระหว่างเฟส ภายในมอเตอร์
อุปกรณ์หมายเลข 50GS คือ Instantaneous Overcurrent Ground Sensor Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกัน
การเกิด Ground Fault
อุปกรณ์หมายเลข 87 คือ Differential Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิด Phase to Phase Fault และ
Phase to Ground Fault
อุปกรณ์หมายเลข 48 คือ Incomplete Sequence Timer ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเริม่ เดินเครื่อง เมือ่ เกิด
Incomplete Sequence ในขณะลดแรงดัน และป้องกันการเดินเครือ่ งซ้ำในขณะทืม่ อเตอร์เดินเครือ่ งด้วย
ความเร็วไม่ปกติ

15. จงเขียนวงจรแสดง Protection ของ Synchronous Motor ขนาดสูงกว่า 1000 kW

ตอบ
อุปกรณ์หมายเลข 27 คือ Undervoltage Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันมอเตอร์เมือ่ เกิด Undervoltage ขึน้
อุปกรณ์หมายเลข 46 คือ Current Balance Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิดการไม่สมดุลย์ของกระแส
เฟส
อุปกรณ์หมายเลข 49 คือ Temperature Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิด Overload โดยวัดอุณภูมขิ อง
Stator Winding
อุป กรณ์ห มายเลข 50/51 คือ Time 0vercurrent relay with Instantaneous Attachment ทำ หน้า ที่
ป้องกันการเกิด Overcurrent และการเกิด Short Circuit ภายในมอเตอร์
อุปกรณ์หมายเลข 50GS คือ Instantaneous Overcurrent Ground Sensor Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกัน
การเกิด Ground Fault
7

อุปกรณ์หมายเลข 40 คือ Field Undercurrent Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิด Out-of –Step และการ
เกิด Loss of Field
อุปกรณ์หมายเลข 87 คือ Differential Relay ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเกิด Phase to Phase Fault และ
Phase to Ground Fault
อุปกรณ์หมายเลข 48 คือ Incomplete Sequence Timer ทำหน้าทีป่ ้ องกันการเริม่ เดินเครือ่ งเมือ่ เกิด
Incomplete Sequence ในขณะลดแรงดัน และป้ องกันการเดินเครือ่ งซ้ำ ในขณะทีม่ อเตอร์เดินเครือ่ ง
ด้วยความเร็วปกติ

16. จงอธิ บายถึง Multifunction Relay ที่ใช้ป้องกัน HV Motors


ตอบ คือ Digital Relay ซึง้ ใช้กบั Motors มีทงั ้ Function การป้องกันหลายอย่างและ Function สำหรับการ
Monitoring ด้วย Motor Multifunction Relay

Device Functions
49 Thermal Overload
8

50/51 Short-Circuit
48/51 Excessive Start Time
50S/51LR Locked-Rotor While Running or at Start-Up
46 Unbalance,Loss of Phase and Single Phasing
50N/51N Earth Fault
37 Loss of Load
66 Limitation of the Number of Start, Time
Between Start
86 Latching of Trip Output relay
30 Annunciator Relay
14 Under-Speed Device
38 Bearing Protective Device
74 Alarm Relay
52 AC Circuit Breaker

17. จงออกแบบระบบป้ องก นั ของ Induction Motor ขนาด 300 kW, 3.3 kV , 3 ph In = 60 A
LRC = 330 A
ตอบ

Motor In = 60 A
LRA = 330 A ( 10 s )
MSA = 545 A ( 0.1 s )

In = 60 A CT 100/5A
LRA = 330 A

 Maximum Starting Current


= Locked Rotor x Offset x Safety Factor
= LRA x 1.5 x 1.1
= 1.65 x LRA
= 1.65 x 330
= 545 A

O/L Protection ( 49 )
9

Overload Relay is Set to Override Motor Full Load Current and Not Exceed Motor Accelerating
Current
 Over 60 A and Not Over 330 A at 11 s

Setting Limit
60/20 to 330/20
3.0 – 16.5 A

O/C Protection ( 50 )
In Selecting the Instantaneous Unit Desirable to Exceed the Motor Starting Current
 Over 545 A
CT Secondary 545/20 = 27.2 A
 Select 30 A

18. จงออกแบบระบบป้ องกัน ของ Induction Motor ขนาด 2400 kW , 6.6 kV , 3 ph I n = 244 A
LRC = 1250 A
ตอบ
Motor In = 244 A
LRC = 1250 A

1) Device ( 49/50 )
Time O/C Unit
The Setting is Chosen to Override the Motors Full Load Current Plus 10% Margin
CT 500/5A ( 100/1 )
 1.1 In = 1.1 x 244 = 268.4 A
 Secondary Current = 268.4/100 = 2.68 A

19. จงออกแบบระบบป้ องกันของ Synchronous Motor ขนาด 2000 kW , 12 kV , 3 ph In = 110 A


LRC = 640 A
ตอบ
Synchronous Motor
In = 110 A MSA = 1126 A at 0.1 s
LRA = 640 A , t = 4 s

Maximum Stall Time ( MST )


Hot = 11 s at 640 A
10

Cold = 15 s

CT 200 / 5 A

Device Time Overcurrent ( 51 )


Tap Setting
To overcome In = 110 A, but less than MST ( 640 A at 11 s )

Device Overcurrent Instantanous ( 50 )


Choose to override MSA ( 1126 A)

คำถามเพิ ม่ เติ ม

1 Fig below shows a 7500 hp , find the phase overcurrent , instantaneous and differential
relays settings.

In = 918 A
Pick up of Phase Overcurrent Relays ( 51 )
11

= 1.15 x 1.25 x 918


= 1320 A

Select a CT 1500 / 5 A ( 300/1 )


Relay Pick up tap = 1320 / 300 = 4.4
Use the 5.0 A tap

Pick up during starting = 5512 / ( 5 x 300 ) = 3.7 pu


And the time delay must exceed 3 s

The Residual Overcurrent Relay ( 53G )


Set at one third of the limited ground fault
1200 / 300 = 4 or 1.33 A
Use 1 A tap

For the motor of this size we would use


Three Differential Relays ( 87 )
There is no setting required, the Sensitivity of the Differential Relay is
independent of the starting current.

2 Determine the Correct Setting for the Time-Overcurrent


Relays Protecting a 400 Hp 3 Ph , 4160 V
( In = 55.5 A ) Induction Motor
Protective Relay Ranges are
a) Time Overcurrent Unit Taps
2 , 2.5 , 3 , 3.5 , 4 , 5 and 6A
b) High-dropout Instantaneous Unit 4-8 A
c) Standard Instantaneous Unit 20-80 A

Solution
1) Motor Full Load Current
In = 55.5 A
Select CT = 75/5 A
2) Select Relay Tap on Time-Overcurrent Unit to Provide
115 % Overload Protection
- Try Tap 5 , CT 75/5 = 15/1
- % Overload =
12

Too High
Try Tap 4
% Overload =

3) Select Time Dial Setting on Protective Relay


- The Time Dial
Must Coordinate With Motor Starting Curve
4) Select Setting or High-Dropout Instantaneous Trip ( IT )
Unit for Stalled Rotor Protection
- The Desired Setting
= 160 % In
= 1.6 X 55.5
= 88.8 A
Use 90 A Setting

Select 34 A Setting

You might also like