You are on page 1of 21

วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 1/19

electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส


รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ

จุดประสงค์ ทวั่ ไป
1. เข้าใจการปฏิบตั ิการเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส แบบ STAR – DELTA
จุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรม
1. อธิบายหลักการทางานของวงจรควบคุม แบบ STAR – DELTA
2. มีทกั ษะในการเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส แบบ STAR – DELTA
3. ปฏิบตั ิการทดสอบการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส แบบ STAR – DELTA

เนือ้ หา
1. การสตาร์ ทมอเตอร์ แบบ สตาร์ – เดลต้ า
เนื่องจากการเริ่ มเดินมอเตอร์ จะมีกระแสไฟฟ้ าเริ่ มเดินสู งกว่าค่ากระแสไฟฟ้ าที่กาหนดในเนมเพลท
( Name Plate ) อันเนื่ องมาจากโครงสร้างและหลักการทางานของมอเตอร์ นนั่ เอง ซึ่ งกระแสไฟฟ้ าขณะ
เริ่ มเดินนี้ทาให้ตอ้ งพบกับความยุง่ ยากในการออกแบบอุปกรณ์ป้องกันวงจร นอกจากนี้ยงั อาจเป็ นสาเหตุ
ให้วงจรไฟฟ้ าอื่น ๆ กระทบกระเทือนด้วย เช่น เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าตก แรงเคลื่อนในวงจรกาลังตกทา
ให้มอเตอร์ ไม่สามารถทางานได้ หรื อถ้าเป็ นวงจรแสงสว่างก็จะเป็ นสาเหตุให้ไฟหรี่ หรื อไฟดับได้ใน
กรณี ของหลอดไฟบางประเภท ซึ่ งล้วนเป็ นผลเสี ยหายแก่วงจรไฟฟ้ าทั้งสิ้ น ยิ่งถ้าเป็ นการเริ่ มเดิน
มอเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่มาก ๆ แล้วก็จะยิง่ ทาให้กระแสขณะเริ่ มเดินสู งมากยิง่ ขึ้นไปอีก ถ้าวงจรดังกล่าว
โดยเฉพาะวงจรกาลังไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ดีแล้ว ก็จะเกิดความเสี ยหายในที่สุด นอกจากวงจร
นั้นจะมีอุปกรณ์ในการควบคุมที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้ า ดังนั้นเพื่อเพื่อให้การเริ่ มเดิน
มอเตอร์ เป็ นไปโดยไม่กระทบต่อวงจรไฟฟ้ าอื่น ๆ จาเป็ นที่จะต้องหาวิธีการลดกระแสไฟฟ้ าขณะเริ่ มเดิน
ให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะทาได้ ซึ่ งนอกจากจะไม่ทาความเสี ยหายให้กบั มอเตอร์แล้ว วงจรไฟฟ้ าอื่น ๆ
จากรู ป 16.1 เป็ นวงจรกาลังสาหรับการเริ่ มเดินแบบ สตาร์ – เดลต้า คอนแทคเตอร์ K1 เป็ นคอน
แทคเตอร์ หลัก ( Main ) ที่จะทาหน้าที่จ่ายไฟให้กบั มอเตอร์ โดย K1 จะต่อตลอดเวลาที่มอเตอร์
ทางานคอนแทคเตอร์ K2 ทาหน้าที่ต่อวงจรให้มอเตอร์ ต่อแบบสตาร์ ซึ่ งจะสังเกตว่า ถ้าคอนแทคเตอร์
K2 ทางานจะทาให้ขดลวดปลายของมอเตอร์คือด้านV2 , U2 , W2 ต่อรวมกันเป็ นจุดเดียว ซึ่ งเรี ยกว่า
การต่อแบบสตาร์ นนั่ เอง แต่ถา้ ให้คอนแทคเตอร์ K2 หยุดทางานแล้วให้คอนแทคเตอร์ K3 ทางานแทน
คอนแทคเตอร์ K3 จะทาหน้าที่ต่อวงจรให้มอเตอร์ ต่อแบบเดลต้า ซึ่ งจะสังเกตว่า ถ้าคอนแทคเตอร์ K2
ทางานแล้วจะทาให้ U2 ต่อกับ V1 , V2 ต่อกับ W1 และ W2 ต่อกับ U1 ซึ่งเรี ยก
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 2/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
ว่าการต่อแบบเดลต้านั่นเอง จากวงจรกาลังนี้ หากต้องการที่ จะให้มอเตอร์ เริ่ มเดิ นแบบสตาร์ และ
ทางานปกติแบบเดลต้าก็สามารถทาได้โดยควบคุ มให้คอนแทคเตอร์ K1 ทางานร่ วมกับ K2 ในจังหวะ
แรก และหลังจากที่มอเตอร์ ทางานตามปกติแล้วก็ควบคุมให้คอนแทคเตอร์ K1 ทางานร่ วมกับคอนแทค
เตอร์ K3 แต่มีขอ้ ที่ตอ้ งระมัดระวังคือต้องไม่ให้ K2 มี โอกาสทางานพร้ อมกับ K3 เพราะจะเกิ ดการ
ลัดวงจรขึ้น การควบคุมทาโดยการต่อวงจรตามรู ปที่ 16.2
จากรู ปที่ 16.2 เมื่อกดสวิตซ์ S2 จะทาให้คอนแทคเตอร์ K2 ทางาน ในขณะเดียวกัน timer K4T
ก็ จ ะท างานด้ว ย คอนแทคปกติ เปิ ดของ K2 จะสั่ ง ให้ ค อนแทคเตอร์ K1 ท างานและ Maintaining
contact ของ K1 จะล๊อคตัวมันเอง ทาให้ K1 ทางานพร้ อมกับ K2 ในขณะนี้ มอเตอร์ จะถู กต่อแบบ
สตาร์ จนกระทัง่ ถึ งเวลา ที่ต้ งั K4T ไว้ จะทาให้คอนแทคของ K4T ตัดการทางานของ K2 และตัด
การทางานของตัวเอง เมื่อ K2 หยุดทางานจะทาให้ Interlock K2 ในแถวที่ 4 ทางาน ต่อวงจรให้ K3
ทางาน ทาให้มอเตอร์ ถูกต่อแบบเดลต้า K2 และ K3 ไม่มีโอกาสทางานพร้อมกันเนื่ องจาก Interlock
ซึ่ งกันและกันไว้
การใช้แมกเนติกคอนแทคเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ ในการต่อให้มอเตอร์ เริ่ มเดินแบบสตาร์ -เดลต้า สามารถ
ต่อเป็ นวงจรกาลังได้ดงั รู ป 16.1 และต่อวงจรควบคุมดังรู ปที่ 16.2
L1
L2
L3
F1

K1 K2 K3

F3

W Y

V M X

U 3 Z

รู ปที่ 16.1 วงจรกาลังสาหรับการเริ่ มเดินแบบ สตาร์ – เดลต้า


วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 3/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
L1
F2

F3

S1

S2
K1

K3 K1

K4T K2

K2 K4T K1 K3
N

รู ปที่ 16.2 วงจรควบคุมสาหรับการเริ่ มเดินมอเตอร์ แบบ สตาร์ -เดลต้า

อย่างไรก็ตามจะต้องคานึ งเสมอว่า การเริ่ มเดิ นมอเตอร์ โดยวิธีการลดแรงเคลื่ อนแบบ สตาร์ -เดลต้า


นั้นจะทาให้แรงบิด ( Torque ) และกาลังของมอเตอร์ ลดลงในขณะเริ่ มเดินประมาณ 1/3 ของแรงบิดและ
กาลังปกติ ดังนั้นการเริ่ ม เดิ นด้วยวิธีน้ ี ม อเตอร์ ต้องไม่ มี โหลดมากกว่า 50 % ของโหลดปกติ ถ้ามี
โหลดมากกว่าจะสตาร์ ทไม่ออกหรื อไม่ยอมเริ่ มเดิน ทั้งนี้ เพราะขึ้นอยูก่ บั อัตราเร่ งและความเร็ วที่เพิ่มขึ้น
ถ้าความเร็ วของมอเตอร์ ไม่ยอมเพิ่มขึ้นจะทาให้ระยะเวลาของการเริ่ มเดิ นยาวนานออกไป ซึ่ งจะเป็ นผล
ให้ฟิวส์ขาดหรื อโอเวอร์ โหลดตัดวงจร ดังนั้นจึงต้องคานึงถึงโหลดของมอเตอร์ เสมอเมื่อจะใช้วธิ ี การเริ่ ม
เดินแบบนี้
วิธีการเริ่ มเดินแบบ สตาร์ -เดลต้า ทาได้โดยใช้อุปกรณ์ที่ สามารถต่อให้มอเตอร์ เป็ นแบบสตาร์
ในขณะเริ่ มเดิน และเมื่อมอเตอร์ ทางานตามปกติแล้วจึงต่อมอเตอร์ เป็ นแบบเดลต้า อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุม
มีหลายชนิด มีท้ งั ควบคุมด้วยมือ ( Manual Control ) และแบบอัตโนมัติ ( Automatic Control ) ข้อ
ควรจาอีกประการหนึ่งคือการทาความเข้าใจกับระบบไฟฟ้ าที่จะนามาต่อใช้กบั มอเตอร์ คือต้องจาไว้
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 4/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
เสมอว่ามอเตอร์ ที่จะใช้วิธีการเริ่ มเดิ นแบบ สตาร์ – เดลต้า นี้ จะต้องทางานปกติดว้ ยการต่อแบบเดลต้า
เสมอกล่าวคือ แรงเคลื่อนที่ขดลวดของมอเตอร์ จะต้องมีค่าเท่ากับแรงเคลื่อนของระบบไฟฟ้ าที่จะจ่ายให้
เสมอ เช่น มอเตอร์ ลูกหนึ่ งกาหนดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่เนมเพลทเป็ น 220/380 โวลท์  / Y จะเห็ นว่า
ถ้ามอเตอร์ ลูกนี้ ต่อแบบเดลต้าจะต้องต่อกับแรงเคลื่อนขนาด 220 โวลท์ ดังนั้นถ้าจะใช้มอเตอร์ ลูกนี้ ต่อ
แบบ สตาร์ -เดลต้า จะต้องต่อกับระบบไฟฟ้ าที่มีแรงเคลื่อน 3 เฟส 220 โวลท์เท่านั้น
โดยทัว่ ไปแล้วระบบไฟฟ้ าที่ใช้ในเมืองไทยแรงเคลื่อนไฟฟ้ าจะเป็ นระบบ 3 เฟส 380 โวลท์ ดังนั้น
ถ้าจะนามอเตอร์ มาต่อแบบ สตาร์ -เดลต้า แล้ว มอเตอร์ น้ นั ต้องมีเนมเพลทเป็ น 380/660 โวลท์ /
Yในการปฏิบตั ิงานจริ งผูป้ ฏิบตั ิตอ้ งมีความเข้าใจในการอ่านเนมเพลทของมอเตอร์ ดว้ ย

รู ปที่ 16.3 แสดงการต่อแบบสตาร์ และเดลต้า

วิธีหนึ่ งที่ นิยมใช้ในการลดกระแสขณะเริ่ มเดิ นมอเตอร์ คือ การลดแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าขณะที่ เริ่ มเดิ น
มอเตอร์ ซึ่ งมีหลายวิธีการ เช่น

- ออโตทรานสฟอร์เมอร์สตาร์ทเตอร์
- รี แอคแตนซ์สตาร์ทเตอร์
- รี ซีสแตนซ์สตาร์ทเตอร์
- สตาร์ -เดลต้า สตาร์ทเตอร์
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 5/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
วิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบนั คือ วิธี สตาร์ -เดลต้า ซึ่ งเป็ นการเริ่ มเดินมอเตอร์ 3เฟส
ที่ประหยัด ติดตั้งง่ายไม่ยงุ่ ยาก และบารุ งรักษาง่าย โดยทัว่ ไปใช้กบั มอเตอร์ ขนาดตั้งแต่ 5-10 แรงม้า
ขึ้นไป เป็ นการเริ่ มเดินโดยกาหนดให้มอเตอร์ ต่อแบบสตาร์ หลังจากนั้นจึงให้มอเตอร์ เดินตามปกติดว้ ย
วิธีการต่อแบบเดลต้า สาหรับเหตุผลในการเริ่ มเดินแบบสตาร์ -เดลต้า พิจารณาความสัมพันธ์ของค่า
ต่าง ๆ ในการต่อระบบไฟฟ้ าแบบ 3 เฟส เพราะว่ากระแสไฟฟ้ าในสาย (Line current ) ในระบบการ
ต่อแบบเดลต้านั้นจะมีค่ามากกว่าการต่อแบบสตาร์ อยู่ 1.732 เท่า โดยพิจารณาความสัมพันธ์ของระบบ
ไฟฟ้ า 3 เฟส ดังนี้
การต่อแบบสตาร์ IL = Iph
การต่อแบบเดลต้า IL = 1.732Iph

โดยเหตุที่กระแสไฟฟ้ าขณะเริ่ มเดิ น ( Starting Current) มีค่าประมาณ 300-500% ของกระแสเมื่อ


โหลดเต็มที่ ดังนั้นถ้ามอเตอร์ ลูกหนึ่ งกระแสโหลดเต็มที่เป็ น 20 แอมป์ ถ้ามอเตอร์ ลูกนี้ ต่อแบบเดลต้า
จะกิ นกระแสเริ่ มเดิ นเป็ น 1.732X20X500% = 173.2 แอมป์ แต่ถา้ มอเตอร์ ลูกเดี ยวกันนี้ ต่อแบบสตาร์
จะกินกระแสเป็ น 1x20x500% = 100 แอมป์ เท่านั้น
ส่ วนสาเหตุ ที่ เรี ย กการเริ่ ม เดิ นแบบสตาร์ -เดลต้า ว่าเป็ นการเริ่ ม เดิ นแบบลดแรงเคลื่ อนเพราะเมื่ อ
พิจารณาแรงเคลื่อนจากความสัมพันธ์ของค่าแรงเคลื่อนในระบบไฟฟ้ า 3 เฟส จะค่า
เมื่อมอเตอร์ ต่อแบบสตาร์ VL = 1.732Vph
เมื่อต่อมอเตอร์ แบบเดลต้า VL = Vph

เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของแรงเคลื่อนจะเห็ นว่าเมื่อต่อแบบเดลต้าแรงเคลื่ อนที่จ่ายให้กบั ขดลวด


ของมอเตอร์ จะเท่ากับแรงเคลื่อนของระบบไฟฟ้ า แต่ถา้ ต่อแบบสตาร์ แรงเคลื่ อนที่จ่ายให้แก่ขดลวดของ
มอเตอร์ จะเท่ากับ VL/1.732 ตัวอย่างเช่ น ถ้าต่อระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 380 โวลท์ให้กบั มอเตอร์ โดยต่อ
แบบเดลต้า แรงเคลื่อนที่ขดลวดของมอเตอร์ ได้รับจะเท่ากับแรงเคลื่อนของระบบคือ 380 โวลท์ แต่ถา้
เป็ นการต่อแบบสตาร์ แรงเคลื่อนที่ขดลวดของมอเตอร์ ได้รับจะเท่ากับ 380/1.732= 220 โวลท์เท่านั้น
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 6/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
การสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ – เดลต้ า ด้ วยคอนแทคเตอร์ มี 2 แบบ คือ
1. วงจรควบคุมด้วยมือ (Manual control)
2. วงจรควบคุมอัตโนมัติดว้ ยรี เลย์หน่วงเวลา (Automatic control vie time delay reray)
1. วงจรควบคุมด้ วยมือ
L1
L2
L3
F1

K1 K2 K3

F3

W Y

V M X

U 3 Z

รู ปที่ 16.4 วงจรกาลังการสตาร์ ทมอเตอร์ 3 เฟส แบบสตาร์ – เดลต้า


วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 7/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
L1
F2

F3

S1

S2
K1

K2
S3

K3 K2

K2 K1 K3
N

รู ปที่ 16.5 วงจรควบคุม การสตาร์ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ - เดลต้าควบคุมด้วยมือ

รายการอุปกรณ์
F1 คือ MAIN FUSE
F2 คือ CONTROL FUSE
F3 คือ OVERLOAD RELAY
S1 คือ PUSE BUTTON SWITCH “OFF”
S2 คือ PUSE BUTTON SWITCH “STAR”
S3 คือ PUSE BUTTON SWITCH “DELTA”
K1 คือ MAINTAINANT- CONTACTOR
K2 คือ STAR- CONTACTOR
K3 คือ DELTA- CONTACTOR
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 8/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
การทางานของวงจร
1. กด S2 ทาให้ K2 (Star contactor ) ทางานคอนแทคปกติปิดของ K2 ในแถว 3 ตัดวงจร K3 และ
คอนแทคปกติเปิ ดของ K2 ในแถว 2 ต่อวงจรให้ K1 ทางาน
2. หลังจากที่ K1 ทางานและปล่อย S2 แล้ว คอนแทคปกติเปิ ดของ K1 ในแถว 2 จะต่อวงจรให้
K1 และ K2 ทางานได้ตลอดเวลา ขณะนี้มอเตอร์ ต่อแบบสตาร์
3. เมื่อกด S3 ทาให้ K2 (Star contactor) หยุดทางาน คอนแทคปกติปิดของ K2 ในแถว 3 จะกลับ
สู่ ส ภาพเดิ ม ต่อวงจรให้ K3 ( delta contactor )ทางาน คอนแทคปกติปิดของ K3 ในแถว 1 ตัดวงจร
K2 ขณะนี้มอเตอร์ ต่อแบบเดลต้า
4. เมื่อต้องการให้มอเตอร์หยุดหมุน ให้กดที่ S1

2. วงจรควบคุมอัตโนมัติด้วยรีเลย์ หน่ วงเวลา


รี เลย์หน่วงเวลา (Tine delay relay )
รี เลย์หน่วงเวลา เป็ นรี เลย์ที่สามารถหน่วงเวลาให้คอนแทคต่อไฟเข้า หรื อตัดไฟออกได้ตามเวลาที่
ปรับตั้งไว้ ซึ่ งสามารถแบ่งตามลักษณะการทางานได้ 3 ชนิดคือ
2.1 รี เลย์หน่วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟเข้า
2.2 รี เลย์หน่วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟออก
2.3 รี เลย์หน่วงเวลาชนิดนับเวลาได้ท้ งั เมื่อไฟเข้าและเมื่อไฟออก

2.1 รีเลย์หน่ วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟเข้ า


จากรู ปที่ 16.6 เป็ นรี เลย์หน่วงเวลาที่ปรับตั้งเวลาไว้ 5 วินาที เมื่อจ่ายไฟเข้าขดลวดของรี เลย์ คอน
แทคไม่เปลี่ยนตาแหน่งทันที หลังจากจ่ายไฟเข้าขดลวดของรี เลย์ เป็ นเวลา5 วินาที คอนแทคจึงเปลี่ยน
ตาแหน่ง

รู ปที่ 16.6 รี เลย์หน่วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟเข้า


วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 9/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
2.2 รีเลย์หน่ วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟออก
จากรู ปที่ 16.7 เมื่อตัดไฟที่เลี้ยงขดลวด คอนแทคไม่เปลี่ยนตาแหน่งในทันที แต่เปลี่ยน
ตาแหน่ง หลังจากตัดไฟออกไปแล้วเป็ นเวลา 5 วินาที
เวลาที่หน่วงสามารถปรับตั้งได้เช่นเดียวกับชนิดนับเวลาเมื่อนาไฟเข้า

รู ปที่ 16.7 รี เลย์เวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟออก

2.3 รีเลย์หน่ วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟเข้ าและไฟออก


เป็ นรี เลย์หน่วงเวลาที่สามารถเลือกให้ทางานแบบนับเวลาเมื่อไฟเข้าหรื อนับเวลาเมื่อไฟออก หรื อ
นับเวลาทั้งไฟออกและไฟเข้า เช่น
- เลื อกให้ทางานแบบนับเวลาเมื่อไฟออก โดยปรับตั้งเวลาไว้ 5 วินาที รี เลย์มีลกั ษณะการทางาน
เหมือนรี เลย์ชนิดที่ 2
- เลือกให้ทางานแบบนับเวลาทั้งไฟออกและไฟเข้าโดยปรับตั้งเวลาเมื่อไฟเข้า 3 วินาที เวลาไฟออก
5 วินาที นั้นคื อเมื่ อจ่ายไฟเข้าขดลวดของรี เลย์ คอนแทคไม่เปลี่ ยนตาแหน่ งทันที หลังจากจ่ายไฟเข้า
ขดลวดเป็ นเวลา 3 วินาที คอนแทคจึ งเปลี่ ยนตาแหน่ งและเมื่ อตัดไฟออก คอนแทครอเวลาไปอีก 5
วินาที จึงเปลียนตาแหน่งกลับที่เดิม

รู ปที่ 16.8 รี เลย์หน่วงเวลาชนิดนับเวลาเมื่อไฟเข้าและเมื่อไฟออก


วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 10/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
L1
F2

F3

S1

S2
K1

K3 K1

K4T K2

K2 K4T K1 K3
N

รู ปที่ 16.9 วงจรควบคุมการสตาร์ตมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้า


ที่ควบคุมอัตโนมัติดว้ ยรี เลย์หน่วงเวลา

รายการอุปกรณ์
F1 คือ MAIN FUSE
F2 คือ CONTROL FUSE
F3 คือ OVERLOAD RELAY
S1 คือ PUSE BUTTON SWITCH “OFF”
S2 คือ PUSE BUTTON SWITCH “ON”
K1 คือ MAINTAINANT- CONTACTOR
K2 คือ STAR- CONTACTOR
K3 คือ DELTA- CONTACTOR
K4T คือ TIME DELAY RELAY
วิชา Fundamentel of ใบเนือ้ หา (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 11/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
การทางานของวงจร
1. กด S2 ทาให้ star contactor K2 และ Time-relay K4T ทางานคอนแทคปกติปิดของ K2 ใน
แถว4 ตัดวงจร K3 และคอนแทคปกติเปิ ดของ K2 ในแถว 2 ต่อวงจรให้ main contact K1 ทางาน
2. หลังจากที่ K1 ทางานและปล่อย S2 แล้ว คอนแทคปกติเปิ ดของ K1 ในแถว3 ต่อวงจรให้
K1,K2 และ K4T ทางานได้ตลอดเวลา ขณะนี้มอเตอร์ หมุนแบบสตาร์
3. หลังจากเวลาที่ต้ งั เอาไว้ K2 และ K4T ถูกตัดวงจาด้วยคอนแทคปกติปิดของ K4T ในแถว1
และคอนแทคปกติปิดของ K2 ในแถว 4 กลับสู่ สภาพเดิม ต่อวงจรให้ K3 ทางาน คอนแทคปกติ
4. เมื่อต้องการให้มอเตอร์หยุดหมุน ให้กดที่ S1
วิชา Fundamentel of ใบทดสอบ (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 12/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
แบบทดสอบ ใบงานที่ 16 เรื่ อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟสแบบ STAR – DELTA

คาสั่ ง จงเขียนเครื่ องหมายวงกลม(O) ล้อมรอบคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว


1. มอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟสที่มีเนมเพทเป็ น 220/380 โวล์ท /Y ใช้กบั ระบบไฟฟ้ าในประเทศไทยข้อใด
กล่าวถูกต้อง
ก. ใช้กลับทางหมุนแบบสตาร์ – เดลต้า
ข. ใช้กลับทางหมุนแบบเดลต้า – สตาร์
ค. สตาร์ทแบบเดลต้า
ง. สตาร์ทแบบสตาร์
2. ข้อใดกล่าวถูกต้องสาหรับการสตาร์ ทมอเตอร์ แบบ สตาร์ - เดลต้า
ก. ใช้แมกเนติกส์คอนแทคเตอร์ 2 ตัว
ข. มีอินเตอร์ ล็อคคอนแทคอยู่ 3 ตัว
ค. มอเตอร์ที่ใช้งานคือ 380/660 โวล์ท /Y
ง. เป็ นการลดกระแสขณะสตาร์ ท
3. กระแสในสาย (IL) ในระบบการต่อแบบเดลต้า ของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 3 เฟส จะมีค่ามากกว่าการต่อแบบ
สตาร์ อยูก่ ี่เท่า
ก. 1.632 เท่า
ข. 1.732 เท่า
ค. 1.832 เท่า
ง. 1.932 เท่า
4. ข้อใดเป็ น การลดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า ขณะที่เริ่ มเดินมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
ก. สตาร์ – เดลต้า สตาร์ทเตอร์
ข. รี แอคแตนซ์ สตาร์ทเตอร์
ค. ออโตทรานฟอร์ เมอร์สตาร์ทเตอร์
ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
วิชา Fundamentel of ใบทดสอบ (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 13/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
5. ข้อใดเป็ นการต่อขดลวดมอเตอร์ แบบเดลต้า
ก. V2 ,U2,W2 ต่อรวมกันเป็ นจุดเดียว
ข. V2 ,U2,W2 ต่อร่ วมกับ L1 ,L2,L3
ค. U2 ต่อกับ V1 ,V2 ต่อกับ W1, W2 ต่อกับ U1
ง. U1 , V1 , W1 ต่อรวมกันเป็ นจุดเดียว
6. จากรู ปวงจร การควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส แบบสตาร์ -เดลต้า ที่ควบคุมอัตโนมัติดว้ ย
รี เลย์หน่วงเวลา ที่ตอ้ งการให้มอเตอร์ หยุดหมุน ให้กดอุปกรณ์ตวั ใด
L1
F2

F3

S1

S2
K1

K3 K1

K4T K2

K2 K4T K1 K3
N

ก. S1
ข. S2
ค. K4T
ง. K3
7. จากรู ปในข้อ 6 คอนแทคเตอร์ K3 จะนาไปต่อเข้ากับขดลวดแบบใด
ก. สตาร์
ข. เดลต้า
ค. สตาร์ -เดลต้า
ง. รี เลย์หน่วงเวลา
วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 14/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
คาสั่ ง จงเขียนแบบ การควบคุม และวงจรกาลังให้สมบูรณ์ และเดินสายไฟฟ้ าพร้อมทั้งติดตั้งอุปกรณ์ใน
การควบคุม พร้อมทดสอบการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
เครื่องมือ – อุปกรณ์
1. ค้อนเดินสายไฟ
2. ไขควงชุด
3. คีมช่าง
4. มีดปอกสาย
5. คอนแทคเตอร์ 3 ชุด
6. รี เลย์ต้ งั เวลา 1 ชุด
7. ชุดฟิ วส์ 1 ชุด
8. โอเวอร์ โหลด 1 ชุด
9. สวิตซ์ Push button “OFF” 1 ตัว
10. สวิตซ์ Push button “ON” 1 ตัว
11. มอเตอร์สามเฟส 1 ตัว
12. Tenninal 1 แผง
วัสดุ
1. สายไฟ THW 1x1.5 mm2 หรื อสาย VHF 1x1.5 mm2 สี ต่างกัน 2 สี
2. เข็มขัดรัดสายเบอร์ ต่าง ๆ
3. สกรู เกลียวปล่อย
4. ตะปูส้ นั
วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 15/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
ลาดับขั้นการปฏิบัติงาน
1. จัดเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ในการเดินสายควบคุมและเดินสายวงจรกาลัง ให้ครบ
2. เขียนวงจรการควบคุมและวงจรกาลังในการเริ่ มเดินมอเตอร์ มอเตอร์ สามเฟส แบบ STAR -
DELTA ให้ถูกต้องแล้วส่ งตรวจ
3. ทาการติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ บนแผงไม้ให้ตรงตามแบบ
4. ทาการเดินสายวงจรควบคุมและวงจรกาลังให้ถูกต้อง โดยเดินสายการควบคุมให้ใช้สีของสาย
ต่างจากสี ของสายวงจรกาลัง
5. ตรวจสอบความถูกต้องแล้วส่ งตรวจ
6. ทดสอบการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
7. เขียนรายงานการทางานของมอเตอร์ 3 เฟสจากการทดสอบและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้ว
ส่ งตรวจ
*หมายเหตุ ในขณะปฏิบตั ิงานห้ามจ่ายไฟฟ้ าเข้าไปในแผงฝึ กเดินสาย
วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 16/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
L1
F2

F3

K2 H1 K4T K1 H1 K3
N
1 2 3 4 5 6

6 3 1 - - 4 1 -

วงจรควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ -เดลต้าที่ควบคุมอัตโนมัติดว้ ยรี เลย์หน่วงเวลา


รายการอุปกรณ์
F1 คือ MAIN FUSE
F2 คือ CONTROL FUSE
F3 คือ OVERLOAD RELAY
S1 คือ PUSE BUTTON SWITCH “OFF”
S2 คือ PUSE BUTTON SWITCH “ON”
K1 คือ MAINTAINANT- CONTACTOR
K2 คือ STAR- CONTACTOR
K3 คือ DELTA- CONTACTOR
K4T คือ TIME DELAY RELAY
วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 17/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ

L1
L2
L3
F1

K1 K2 K3

F3

W Y

V M X

U 3 Z

วงจรกาลังของการเริ่ มเดินมอเตอร์ แบบ STAR – DELTA


วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 18/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ

500 Terminal for supplying


100 L1 L2 L3 N S L

F1- Fuse
F2- Control fuse 200
300
F3- Overload relay
S1- Push botton "OFF"
F1 F1 F1 F2
S2- Push botton "ON"
K1- Magnatic Main
KD- Magnatic Delta 1200
KY- Magnatic Star
K4T-Time delay relay 350
H1,H2-Pilot Lamp

K K1 KD KY K4T
H1 H2 F3
S1 S2

300 350

300
Terminal for motor

U V W X Y Z
100
600

M 1200
3~

การวางอุปกรณ์บนแผงติดตั้ง
วิชา Fundamentel of ใบปฏิบัติงาน (ใบงานที่ 6) แผ่นที่ 19/19
electrical engineering เรื่อง การเดินสายควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า 3 เฟส
รหัสวิชา ENGEE103 แบบ STAR – DELTA เวลา 3 คาบ
ทักษะทีไ่ ด้
1. การกลับทางหมุนด้วยวงจรการควบคุมแบบ STAR – DELTA
2. การเลือกใช้เครื่ องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการควบคุมแบบ STAR – DELTA
3. การเดินสายควบคุม

ข้ อควรระวัง
1. การเลือกใช้อุปกรณ์ในการควบคุมให้ถูกต้อง
2. การต่อวงจรการควบคุมให้ถูกต้อง
3. การต่อวงจรกาลังให้ถูกต้อง

การบ้ าน
คาถาม
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. การเริ่ มเดินมอเตอร์ แบบ STAR – DELTA มีขอ้ ด้อยและข้อเด่นอะไรบ้างอธิ บายมาเป็ น ข้อ ๆ
สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ไฟฟา
1. PILOMP LAMP ( H1 , H2 , H3 ) 2. PUSH BUTTON ( S1 , S2 , S3 )
3. MAIN FUSE ( F1 ) มีจํานวน 3 ตัว 4. CONTROL FUSE ( F2 )
5. TIMER ( K4T ) 6. MAGNETIC CONTACTOR ( K1 , K2 . K3 )
7. OVERLOAD RELAY ( F3 ) 8. AUXILLARY CONTACTOR ติดตังบน K3

อุปกรณ์ไฟฟาแต่ละตัวมีหมายเลขเขียนกํากับไว้ทีขัวของอุปกรณ์ไฟฟาเหล่านีทุกตัว ตู้ควบคุมไฟฟาได้เดินสายไฟฟาจากขัวของอุปกรณ์
ไฟฟาแต่ละตัวไปทีขัวต่อสายสีดํา ( Black terminal ) และมีหมายเลขเขียนกํากับไว้เช่นกัน ให้นักศึกษาต่อสายไฟฟาจากขัวต่อสายสีดํา
( Black terminal ) นี

หมายเหตุ
เมือนักศึกษาได้ส่งงานเรียบร้อยแล้วให้นําสายไฟฟาออกจากขัวต่อสายสีดําพร้อมไขสกูรทีขัวต่อสายสีดําให้แน่นและสังเกตดูสกูรทีขัวต่อสายสีดํา
ต้องมีครบทุกตัว หากสกูรขาดหายไปบางตัวก็จะต่อสายไฟฟาจากจุดทีสกูรขาดหายไม่ได้

เขียว เหลือง แดง


H3 H2 H1
9 10 7 8 5 6

เขียว เขียว แดง


S3 S2 S1

1 2 1 2 1 2

3 4 3 4 3 4

1 3 5 7

2
4 3 5 6

F1 F1 F1 F2 K4T

1
8
7

2 4 6 8
A1 A1 A1

1L1 3L2 5L3 21 13 1L1 3L2 5L3 21 13 1L1 3L2 5L3 21 13 53 61


K1
K2 K3

2T1 4T2 6T3 22 14 2T1 4T2 6T3 22 14 2T1 4T2 6T3 22 14 54 62

A2 A2 A2

95 97

F3

96 98

2T1 4T2

You might also like