You are on page 1of 5

สงวนลิขสิทธิ์ © พ.ศ.

2546 ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ โดย พิรพงศ ลิ้มประสิทธิ์วงศ หามลอกเลียนแบบไมวาสวนหนึ่งสวนใด ของบทความฉบับนี้


ไมวาในรูปแบบใดๆ นอกจากจะไดรับอนุญาต เปนลายลักษณอักษรจากผูเขียนเทานั้น ยกเวนเพื่อการศึกษาโดยไมแสวงหากําไร (Copyright © 2003)

มาตรฐานการใชงานมอเตอร
Standard Motor duty

โ ด ย ทั่ ว ไ ป ใ น ก า ร เ ลื อ ก ข น า ด ข อ ง ม อ เ ต อ ร ไ ฟ ฟ า
กระแสสลับ 3 เฟส จะเลือกจากการทํางานที่โหลด
ตอเนื่องที่คาเอาตพุตพิกัด แตบางครั้ง มอเตอรอาจจะทํางานเปนชวงๆ มากกวาการทํางานแบบตอเนื่องโดยตลอด
ทําใหคา เอาตพุตพิกัดของการทํางานเปนชวงๆ จะแตกตางจากการทํางานแบบตอเนื่อง นี้จึงเปนเหตุผลที่ทําให
หนาที่การทํางาน (Motor duty) จึงตองมีมาตรฐานมารองรับ และมีความสําคัญในการนําไปวางแผนการใชงาน
เพื่อความถูกตอง ซึ่งตามมารตฐาน VDE O530 หรือตามมาตรฐาน IEC 34-1 ไดแบงลักษณะการทํางานหลักๆ ไว
8 ชนิด ดังตอไปนี้
ƒ เพื่อใหเขาใจตรงกันและงายในการอธิบาย สัญลักษณ ที่จะใชในไดอะแกรมลักษณะงานดังตอไปนี้

P คือกําลังเอาตพุต t คือเวลา tB คือเวลาทํางานโหลดคงที่


PV คือกําลังสูญเสียทางไฟฟา t Br คือเวลาขณะเบรก tA คือเวลาขณะสตารท
n คือความเร็ว tL คือเวลาที่ไมมีโหลด tS คือคาบการทํางาน
ϑ คืออุณหภูมิ t St คือเวลาที่หยุดพักซึ่งอุณหภูมิจะลดลง
ϑmax คืออุณหภูมิสูงสุด tr คือแฟกเตอรคาบการทํางาน (อาจจะบอกสถานะเปนเปอรเซ็นต)

ชนิด S1: การทํางานอยางตอเนื่อง (Continuous running duty)


จากรู ป ที่ 1 เป น การทํ า งานที่ โ หลดคงที่ ซึ่ ง ขณะทํ า งานการเพิ่ ม ขึ้ น ของความร อ น จะถึ ง จุ ด สมดุ ล ย
(Thermal equilibrium) ตลอดเวลา
การบอกรายละเอียดของมอเตอรชนิดนี้ จะแสดงโดยสัญญลักษณ “S1” และตามดวย กําลังเอาตพุตที่พิกัด

รูปที่ 1 ลักษณะงานชนิด S1: การทํางานตอเนื่อง รูปที่ 2 ลักษณะงานชนิด S2:การทํางานชวงสัน


www.tinamics.com หนา 1 / 5
ชนิด S2: การทํางานชวงสั้น (Short-time duty)
รูปที่ 2 เปนการทํางานที่โหลดคงที่ แตเปนชวงเวลาสั้นๆ การเพิ่มของอุณหภูมิ จะไมถึงจุดสมดุลยทางความ
รอน (Thermal equilibrium) แลวจะมีชวงเวลาพักนานมาก เพื่อใหมอเตอรเย็นลง
การบอกรายละเอียด โดยแสดงเวลาการทํางานและกําลังเอาตพุต เชน S2: 20 min, 15kW.

t t +t
t r = t +B t t r = t +A t +B t
B St A B St
รูปที่ 3 ลักษณะงานชนิด S3: รูปที่ 4 ลักษณะงานชนิด S4:
การทํางานเปนคาบไมคิดอุณหภูมิสตารท การทํางานเปนคาบที่คิดอุณหภูมิสตารท

ชนิด S3: การทํางานเปนคาบไมคิดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจากการสตารท


(Intermittent periodic duty with starting not affecting the temperature rise)
ตามรูปที่ 3 เปนการทํางานลักษณะเปนคาบเวลา ซึ่งในแตละคาบจะประกอบดวยชวงทํางานที่โหลดคงที่
แลวหยุดพักและเริ่มทํางานใหมที่โหลดคงที่อีก แตกระแสสตารทจะตองมีคาไมมากพอที่จะมีผลตออุณหภูมิที่
สูงขึ้น
การบอกรายละเอียด จะบอกเปนเวลามีโหลดตอคาบเวลาทํางานและกําลังเอาตพุต เชน S3: 15 min/60
min 20 kW. หรือบอกเปนแฟกเตอรรอบการทํางาน t r เปนเปอรเซ็นต เชน S3: 25%, 60 min, 20 kW.

ชนิด S4: การทํางานลักษณะเปนคาบที่คิดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิจากการสตารท


(Intermittent periodic duty with starting affecting the temperature rise)
ตามรูปที 4 เปนการทํางานลักษณะเปนคาบเวลา ประกอบดวยชวงสตารท ชวงทํางานที่โหลดคงที่และ
ชวงเวลาพัก
การบอกรายละเอียด บอกเปนสถานะแฟกเตอรรอบการทํางานเปนเปอรเซ็นต, ตัวเลขของจํานวนสตารทตอ
ชั่วโมงและกําลังเอาตพุต เชน S4: 40%, 520 Starts, 30 kW. ดังนั้นลักษณะการทํางานแบบนี้จึงตองการขอมูล
เพิ่มเติมเกี่ยวกับโมเมนตความเฉื่อยและแรงบิดโหลดขณะสตารท

ชนิด S5: การทํางานลักษณะเปนคาบที่คิดการเพิ่มของอุณหภูมิจากการสตารทและเบรกทางไฟฟา


(Intermittent periodic duty with starting and electric braking affecting the temperature rise)
ตามรูปที 5 เปนการทํางานที่ในแตละคาบประกอบดวย ชวงสตารท, ชวงทํางานที่โหลดคงที่, ชวงเบรก
ทันทีดวยไฟฟาและชวงพัก
การบอกรายละเอียด จะคลายกับลักษณะการทํางานชนิด S4 แตจะมีสถานะขณะเบรกเขามาดวย เชน S5:
30%, 250 cycles per hour, plugging, 50 kW. ดังนั้นลักษณะการทํางานแบบนี้จึงตองการขอมูลเพิ่มเติม
เกี่ยวกับโมเมนตความเฉื่อยและ
แรงบิดโหลดขณะสตารทและขณะเบรก

www.tinamics.com หนา 2 / 5
t +t +t t
t r = t +A t +B t Br t r = t +B t
A B Br + t St B L
ตามรูปที 5 ลักษณะงานชนิด S5: การทํางานเปนคาบ ตามรูปที 6 ลักษณะงานชนิด S6:
ที่คิดอุณหภูมิสตารทและเบรกทางไฟฟา การทํางานตอเนื่องลักษณะเปนคาบเวลา

ชนิด S6: การทํางานตอเนื่องลักษณะเปนคาบเวลา (Continuous operation periodic duty)


ตามรูปที 6 เปนการทํางานที่ในแตละคาบเวลาประกอบดวยชวงทํางานโหลดคงที่และชวงทํางานไมมีโหลด
ซึ่งไมมช
ี วงพัก
การบอกรายละเอียด จะคลายกับลักษณะการทํางานชนิด S3 เชน S6: 30%, 40 min, 60 kW

ชนิด S7: การทํางานตอเนื่องลักษณะเปน


คาบที่คิดการสตารทและ การเบรกทาง
ไฟฟา
(Continous operation periodic duty with
starting and electric braking)
เป น ลํ า ดั บ การทํ า งานที่ แ ต ล ะคาบ
ประกอบดวยชวงสตารท, ชวงทํางานที่
โหลดคงที่ แ ละช ว งเบรกทางไฟฟ า ซึ่ ง ไม มี
ชวงพัก
การบอกรายละเอี ย ด จะคล า ยกั บ
ลั ก ษณะทํ า งานชนิ ด S5 แต ไ ม มี ส ถานะ t r
เชน S7: 12 kW, 500 reversals per hour.
ลั ก ษณะการทํ า งานแบบนี้ จึ ง ต อ งการข อ มู ล
เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ โมเม นต ค วาม เฉื่ อ ยและ
แรงบิดโหลดขณะ สตารทและขณะเบรก

รูปที่ 7 S7: การทํางานตอเนื่องลักษณะเปนคาบ


ที่คิดการสตารทและ การเบรกทางไฟฟา t r = 1

www.tinamics.com หนา 3 / 5
ชนิด S8: การทํางานตอเนื่องลักษณะเปนคาบที่คิดความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงโหลดตอความเร็ว
(Continuous operation periodic duty with related load/speed changes)
ตามรูปที่ 8 เปนลําดับการทํางานที่แตละคาบประกอบดวยชวงสตารท, ชวงทํางานที่โหลดคงที่ ซึ่งกําลัง
งานขึ้นอยูกับความเร็วของการหมุน ในคาบเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงหลายความเร็ว
การบอกรายละเอี ย ด จะคล า ยกั บ การบอกของชนิ ด S5 ซึ่ ง ข อ มู ล จะขึ้ น อยู กั บ ขั้ น ของความเร็ ว ทํ า ใน
รายละเอียด

t +t
t r 1 = t + t + t A + t B1 + t + t
A B1 Br 1 B 2 Br 2 B 3

t +t
t r 2 = t + t + t Br 1+ t B 2+ t + t
A B1 Br 1 B 2 Br 2 B 3

t +t
t r 3 = t + t + t Br 2+ t B 3+ t + t
A B1 Br 1 B 2 Br 2 B 3

รูปที่ 8 ลักษณะงานชนิด S8: การทํางานตอเนื่องลักษณะ


เปนคาบทีค ่ ิดความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงโหลดตอความเร็ว

ชนิด S9: การทํางานตอเนื่องลักษณะ


โ ห ล ด ไ ม เ ป น ค า บ แ ล ะ ค ว า ม เ ร็ ว
เปลี่ยนแปลง
(Continuous operation duty
with non-periodic load and speed
variations)

รูปที่ 9 เปนลําดับการทํางานที่โหลดและ
ความเร็วเปลี่ยนแปลงไมคงที่แตอยูในยาน
ที่ยอมรับได
ลักษณะงานชนิด นี้บ อยครั้ งที่ โหลดจะมีค า
เกินคาพิกัด

รูปที่ 9 ลักษณะงานชนิด S9: การทํางานตอเนื่องลักษณะโหลด


ไมเปนคาบและความเร็วเปลีย
่ นแปลง

www.tinamics.com หนา 4 / 5
คาเฉลี่ยเอาตพุต (Mean Output)
การหาคาเฉลี่ยเอาตพุต
2 2 2
P t +P t +P t
Pmi = 1 1t + 2t 2+ t 3 3
1 2 3

ความตองการทางเอาต พุต ของมอเตอรจ ะมี


การเปลี่ย นแปลงขณะคาบการทํางานที่มี โหลด ซึ่ ง
จะมี ลั ก ษณะการทํ า งานเป น ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ที่ ถู ก
กําหนดใน VDE 0530 ในกรณีกําลังของโหลด P
(หรือกระแส I หรือแรงบิด M) นําเสนอเปนกําลัง
เฉลี่ย Pmi (หรือกระแสเฉลี่ย I mi หรือแรงบิดเฉลี่ย
Mmi ) ซึ่งก็คือคา r.m.s. ที่คํานวณจากแตละเวลาที่
โหลดคงที่ ซึ่ ง ค า แรงบิ ด สู ง สุ ด จะต อ งไม เ กิ น 80%
ของคาแรงบิดเบรกดาวน
ถาอัตราสวนนี้สูงเกินจะทําใหความตองการเอาตพุตลดลงมากกวา 2 : 1 คาผิดพลาดจากการใชคา r.m.s.
เอาตพุตจะมีคามากเกินและจะถูกแทนโดยคากระแสเฉลี่ย

AAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAA

www.tinamics.com หนา 5 / 5

You might also like