You are on page 1of 18

บทที่ 7

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส

7.1 ความนํา
มอเตอรหนี่ยวนํานับเปนเครื่องตนกําลังที่มีความสําคัญมากในงานอุตสาหกรรม ดังที่
พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ (2533) ไดกลาววา เครื่องตนกําลังในงานอุตสาหกรรมเกือบทั้งหมดเปน
มอเตอรเหนี่ยวนํา และใชพลังงานไฟฟามากกวา 90% ของที่ใชสําหรับเครื่องตนกําลัง เนื่องจาก
คุณสมบัติที่ดีเชน โครงสรางแข็งแรง ทนทาน และบํารุงรักษางาย การเริ่มเดินไมยุงยาก การ
สูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทานมีคานอยและมีราคาถูก มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสเปนมอเตอร
เหนี่ยวนําที่เรียกชื่อตามระบบไฟฟาที่ใช เปนมอเตอรที่ใชในภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ การ
เรียนรูในเรื่องนี้ก็เพื่อใหสามารถใชงานมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสไดถูกกับงาน สามารถกําหนด
ทิศทางการหมุนได สามารถเลือกวิธีการควบคุมความเร็วรอบ สามารถวิเคราะหแผนปายและ
กําหนดวิธีการตอ กําหนดขนาดสายรวมถึงอุปกรณปองกันที่เหมาะสมกับมอเตอรได ดังนั้น
ในเรื่องนี้ควรมีการเรียนรูโดยเริ่มจากโครงสราง สนามแมเหล็กหมุนและหลักการหมุนดวยการ
เหนี่ยวนําซึ่งเปนที่มาของชื่อ และเปนพื้นฐานของเรื่องสําคัญอื่น ๆ ที่ตอเนื่องกัน เชน ความเร็ว
สลิปและแรงบิด สวนที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติจะมีการเรียนรูในหลักการตอขดลวด การกลับทาง
หมุนรวมถึงการควบคุมความเร็วแบบตาง ๆ

7.2 โครงสราง
มอเตอรเหนีย่ วนํา 3 เฟส (three–phase induction motor) ประกอบโครงสราง 2 สวน
หลักคือ สเตเตอร (stator) และโรเตอร (rotor) โดยสเตเตอรจะเปนโครงสรางสวนที่อยูกับที่ สวน
โรเตอรเปนสวนที่หมุนและขับเคลื่อนโหลดซึ่งโดยทั่วไปจะเปนโรเตอรแบบกรงกระรอก (squirrel-
cage rotor) สวนโรเตอรอีกชนิดหนึ่งคือโรเตอรแบบวาวด (wound rotor) ออกแบบมาใหสามารถ
ควบคุมแรงบิดและความเร็วรอบได สวนใหญจะพบในมอเตอรขนาดใหญซึ่งใชกบั งานเฉพาะอยาง
ในภาพที่ 7.1 เปนโครงสรางของมอเตอรเหนี่ยวนําที่มีโรเตอรแบบกรงกระรอก แตละสวนถูกถอด
ออกมาเพื่อแสดงใหเห็นอยางเดนชัดในตําแหนงที่ถูกตอง
132

ภาพที่ 7.1 โครงสรางของมอเตอรเหนีย่ วนํา 3 เฟส


ที่มา : CIPO Library Energy, 2008

7.2.1 สเตเตอร
สเตเตอรจะทําหนาที่สรางสนามแมเหล็กหมุน (rotating field) ซึ่งเปน
สนามแม เ หล็ ก หลั ก ที่ ทํ า ให เ กิ ด การเหนี่ ย วนํ า กั บ โรเตอร แ ละสามารถหมุ น ไปได สเตเตอร
ประกอบดวย 2 สวนคือ ขดลวดสเตเตอร (stator winding) และแกนเหล็กสเตเตอร (stator core)
ขดลวดสเตเตอรจะตอเขากับระบบไฟฟา โดยรับพลังงานไฟฟามาแปลงเปนพลังงานสนามแมเหล็ก
เพื่อสงตอใหกับโรเตอรและแปลงเปนพลังงานกลตอไป ทั้งขดลวดและแกนเหล็กสเตเตอรจะติด
ตั้งอยูภายในกรอบของโครงเหล็ก (frame) อีกที ดังภาพที่ 7.2

ภาพที่ 7.2 โครงสรางของสเตเตอร


ที่มา CIPO Library Energy, 2008
133

7.2.2 โรเตอร
เปนสวนที่รับการถายทอดพลังงานจากสเตเตอร (stator output) ที่สงผาน
ชองวางอากาศออกมารูปของสนามแมเหล็กหมุน บางครั้งถูกเรียกวา กําลังที่สงผานชองวางอากาศ
(air-gap power) โรเตอรจะแปลงใหเปนพลังงานกลและสงตอไปขับโหลดทางกล (mechanical
load) ที่ตออยูที่เพลา ในภาพที่ 7.3 เปนมอเตอรที่มีโรเตอรแบบกรงกระรอก ซึ่งใชงานแพรหลาย
มากทั้งตามบานอยูอาศัยและในอุตสาหกรรม สวนภาพที่ 7.4 เปนมอเตอรที่มีโรเตอรแบบวาวด
(ขดลวด) เปนมอเตอรชนิดใชกับงานที่ตองการการปรับความเร็วรอบและแรงบิด การใชงานจะตอ
รวมกับตัวตานทานจากภายนอก ทําใหตองมีการบํารุงรักษามากกวาโรเตอรแบบแรก

ภาพที่ 7.3 โรเตอรแบบกรงกระรอก


ที่มา : Electrical Resource, 2008

ภาพที่ 7.4 โรเตอรแบบวาวด


ที่มา : Electrical Resource, 2008
134

7.3 การเกิดสนามแมเหล็กหมุน
สนามแมเหล็กหมุน (rotating field) เกิดจากการกระแสไฟฟาที่ไหลในขดลวด
สเตเตอรและรูปแบบการวางขดลวดที่เหมาะสม ขนาดของสนามแมเหล็กลัพธจะมีคาคงที่และ
หมุนรอบจุดศูนยกลางของสเตเตอร ความเร็วของสนามแมเหล็กหมุนจะถูกเรียกวา ความเร็ว
ซิงโครนัส (synchronous speed) มีคาขึ้นอยูกับความถี่ของระบบไฟฟาและจํานวนขั้วแมเหล็ก
ของสเตเตอร ดังสมการ 7.1 สวนการเกิดสนามแมเหล็กหมุนเปนดังภาพที่ 7.5 7.6 และ 7.7

Ns = 120f (7.1)
P
เมื่อ
Ns คือ ความเร็วซิงโครนัส (rpm)
f คือ ความถี่ (HZ)
P คือ จํานวนขัว้ แมเหล็ก (pole)

L1
L2
L3

U1

W1 V1

ภาพที่ 7.5 การตอขดลวดสเตเตอรเขากับระบบไฟฟา 3 เฟส


135

เมื่อ L1 L2 L3

u(t) U1 V1 W1

i1 i2 i3

0 t

t1 t2 t3 t4 t5
ภาพที่ 7.6 รูปคลื่นกระแสไฟฟาในขดลวดสเตเตอร

U1 U1 U1

W1 V1 W1 V1 W1 V1

t1 t2 t3
ค.

ภาพที่ 7.7 สนามแมเหล็กในสเตเตอรในแตละเวลา

7.4 หลักการทํางานของมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส


การเหนี่ยวนําจะเกิดขึ้นระหวางสนามแมเหล็กหมุนกับตัวนําในโรเตอร ทําใหเกิด
แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนํา (Induce emf) กระแสไฟฟาและสนามแมเหล็กขึ้นในโรเตอร ตามลําดับ
สนามแมเหล็กหมุนและสนามแมเหล็กในโรเตอรจะกระทํากันและเกิดแรงบิดขึ้นในโรเตอร ทําให
โรเตอรหมุนไปไดดวยความเร็วคาหนึ่งเรียกวา ความเร็วโรเตอร (rotor speed) ดังภาพที่ 7.8
136

 s  s  s

r

ค. สนามแมเหล็กในโรเตอร
ก. สนามแมเหล็กตัดผานตัวนําโรเตอร ข. เกิดInduced emf ตัวนําโรเตอร
ผลักกับสนามแมเหล็กหมุน
ภาพที่ 7.8 การเกิดแรงบิดในโรเตอร

การเหนี่ยวนําระหวางสนามแมเหล็กหมุนกับตัวนําโรเตอร เกิดขึ้นไดเพราะความเร็ว
รอบสนามแมเหล็กหมุนจึงสูงกวา ความเร็วรอบของโรเตอรอยูเสมอ ความเร็วที่แตกตางกันนี้เปน
ความเร็วที่ทําใหเกิดการเหนี่ยวนําขึ้น เรียกความเร็วนี้วา ความเร็วสลิป (slip speed) เมื่อคิดคา
ความเร็วสลิปเปนเปอรยูนิตหรือเปอรเซ็นต จะเรียกคานี้วา สลิป (slip) สอดคลองกับที่กลาวไวโดย
ประสิทธิ์ พิทยพัฒน (2541, หนา 11) มีคาดังสมการที่ 7.2

NS - NR
S = (7.2)
NS

และ
NR = (1-S) NS (7.3)

เมื่อ S คือ สลิป (rpm)


NS คือ ความเร็วซิงโครนัส (rpm)
NR คือ ความเร็วของโรเตอร (rpm)

คาสลิปตลอดการทํางานของมอเตอรแสดงดวยเสนจํานวนของสลิป ดังภาพที่ 7.9

Start, S = 1 Full Load, S 0.05 No Load, S  0

1 0.5 0
ภาพที่ 7.9 เสนจํานวนแสดงคาสลิปตลอดการทํางานของมอเตอร
137

ตัวอยางที่ 1 มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส 4 ขั้วแมเหล็ก 380 โวลต 50 เฮิรทซ 1,440 รอบตอนาที


ใหหาความเร็วซิงโครนัสและคาสลิบ

วิธีทํา

NS - NR
จาก S =
NS

NS = 120f
P
= 1,500 rpm

1,500 – 1,440
S =
1,500
= 0.04

7.5 วงจรสมมูลของโรเตอร (Equivalent Circuit of Rotor)


เปนการเทียบเคียงกําลังทางกล (mechanical power) ใหอยูในรูปกําลังทางไฟฟา โดย
อาศัยความตานทานและกระแสเปนตัวแปรที่ทําใหเกิดพลังงานกลดังกลาว ดังภาพที่ 7.10 วงจร
สมมูลของมอเตอร สวนของโรเตอรอยูดานขวามือ จะประกอบดวยตัวตานทานที่สามารถคํานวณ
คากําลังอินพุทของโรเตอร (rotor input) หรือกําลังผานชองวางอากาศ (air-gap power) กําลังสูญเสีย
เนื่องจากความตานทานของโรเตอร (rotor copper loss) และกําลังทางกลที่เกิดขึ้นในโรเตอร
(power converted in rotor) ได

ภาพที่ 7.10 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟาเหนีย่ วนํา


ที่มา : Chapman, 2005, p.399
138

จากวงจรสมมูล กําลังแตละสวนที่อยูใ นโรเตอรทั้งหมด มีคาดังสมการที่ 7.4 - 7.7 ซึ่ง


ตรงกับที่กลาวไวโดย Chapman (2005, p.395)
R2 (1 – S)
PCONV = I22 (7.4)
S
PRCL = I22 R2 (7.5)

R2
PAG = I22 (7.6)
S
และ
PAG = PCONV+ PRCL (7.7)

เมื่อ I2 คือ กระแสในโรเตอร (A)


R2 คือ ความตานทานสมมูลของโรเตอร ()
PCONV คือ กําลังทางกลที่เกิดขึ้นในโรเตอร (W)
PRCL คือ กําลังสูญเสียเนื่องจากความตานทานของโรเตอร (W)
PAG คือ กําลังอินพุทของโรเตอร (W)

ในขณะเดียวกันเมื่อมอเตอรหมุน มอเตอรขับโหลดจะสูญเสียกําลังทางกลไปกับแรง
เสียดทานและการระบายความรอน (friction and windage losses, PF&W) บางครั้งเรียกวากําลัง
สูญเสียทางกล (mechanical losses) สวนที่เหลือจึงเปนกําลังเอาทพุท (output power) โดยสงออก
ไปที่เพลาเพื่อขับโหลด ดังสมการที่ 7.8

POUT = PCONV – PF&W (7.8)

กําลังทางกลทุก ๆ ชนิดที่เกิดที่เพลาของมอเตอร สามารถเขียนใหอยูในรูปของแรงบิด


ได ดังสมการที่ 7.9 เปนความสัมพันธระหวางแรงบิดกับกําลังทางกล ตรงกับที่กลาวไวโดย
Chapman (2005, p. 398)

T= 60 P (7.9)
2π N
139

7.6 คุณลักษณะของแรงบิด (Torque Speed Characteristic)


แรงบิดที่เกิดขึ้นในโรเตอร แสดงดวยกราฟความสัมพันธระหวางแรงบิดกับ สลิป
ดังภาพที่ 7.11
Induced Torque, 2
K SE R
Tind  2 2 22 TM
R 2  (SX 2 )

ชวงการเปลี่ยนแปลง
TS ของสลิป

TF TL
ชวงการเปลี่ยนแปลง
ของแรงบิด
Speed

SS SM SF,NF

ภาพที่ 7.11 กราฟลักษณะสมบัติแรงบิด-ความเร็วรอบของมอเตอรเหนี่ยวนํา

จากภาพที่ 7.11 แรงบิดที่ควรพิจารณา มี 3 ขณะ ตามคาสลิป 3 ตําแหนง ดังนี้


1. แรงบิดพิกัด (rated torque, TF) เปนแรงบิดขณะมอเตอรขับโหลดเต็มพิกัด ที่
คาสลิปหรือ ความเร็วพิกัด
2. แรงบิดขณะสตารท (starting torque, TS) เกิดขึ้นขณะมอเตอรกําลังเริ่มเดิน
(starting) ที่คาสลิปเทากับ 1 มอเตอรที่ใชงานโดยทั่วไปจะมีแรงบิดขณะสตารทประมาณ 1.5 เทา
ของแรงบิดพิกัด
3. แรงบิดสูงสุด (maximum torque, TM) เปนคาแรงบิดที่มอเตอรสามารถสรางได
สูงสุด หากแรงบิดของโหลดสูงกวาแรงบิด ณ จุดนี้ จะทําใหมอเตอรหยุดหมุน จึงเรียกแรงบิดนี้วา
แรงบิดเบรกดาวน (breakdown torque)

ตัวอยางที่ 7.2 มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ขนาด 10 HP 4 Pole 1,440 rpm 50 Hz กําลังสูญเสีย


ทางกล 186 W ใหคํานวณหา กําลังทางกลที่สรางขึ้นในโรเตอร กําลังสูญเสียเนื่องจากขดลวด
โรเตอร และแรงบิดที่โหลด
140

วิธีทํา หากําลังทางกลที่สรางขึ้นในโรเตอร PM
PCONV = POUT + PF&W
POUT = 10 x 746 W
PCONV = (10 x 746) + 186
= 7,646 W

กําลังสูญเสียเนื่องจากขดลวดโรเตอร จากสมการ7.4 จะได

PCONV S
PRCL =
(1 – S)

= 7,646 (0.04)
(1 – 0.04)
= 318.58 W

หาแรงบิดที่โหลด TLOAD จากสมการ 7.9 จะได

60 POUT
TLOAD =
2π NR
60 (10 x 746)
=
2π 1,440

= 49.47 Nm

หาแรงบิดสูญเสียไปกับแรงเสียดทาน
จากสมการ 7.8 นํามาใชกับสถานการณนี้ จะได

TF&W = Tind – TLOAD

และจากสมการ 7.9 จะได


60 PCONV
Tind =
2π NR
141

60(7,646)
=
2π 1,440
= 50.70 Nm

และ TF&W = 50.70 – 49.47


= 1.23 Nm

7.7 คุณลักษณะมอเตอรเหนีย่ วนํา 3 เฟสแบบกรงกระรอก


มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสแบบกรงกระรอก โดยทั่วไปจะมี 4 แบบ (class) ตามมาตรฐาน
ของ NEMA ซึ่งมีแบบ A, B, C, และ D สอดคลองกับที่กลาวไวในเว็บไซต ecmweb.com (2008)
ดังภาพที่ 7.12 เปนกราฟคุณลักษณะของมอเตอร 4 แบบ แตละแบบจะมีคุณลักษณะแรงบิด -
ความเร็วที่แตกตางกัน

CLASS D CLASS A
CLASS C CLASS B

Load Torque
NA NB NC ND
Torque
NA
NB
Speed NC
ND

ภาพที่ 7.12 กราฟลักษณะสมบัติแรงบิด-ความเร็วรอบของมอเตอรเหนี่ยวนํา 4 แบบ


142

7.8 การนํามอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสไปใชงาน

จากภาพที่ 7.12 มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสมีคุณสมบัติและการนําไปใชงาน ดังนี้

แบบ A เปนมอเตอรเหนี่ยวนําที่ใชงานโดยทั่วไป มีแรงบิดสูงสุดและความเร็วรอบ


คงที่มากที่สุดใน 4 แบบ
แบบ B มีคุณสมบัติใกลเคียงกับแบบ A มีแรงบิดขณะสตารทใกลเคียงกัน การรักษา
ความเร็วรอบใหคงที่ดอยกวาแบบ A เล็กนอย การนําไปใชงานไมแตกตางกัน
แบบ C มีคุณสมบัติโดดเดนเนื่องจากมีแรงบิดขณะสตารทสูง การรักษาความเร็วรอบ
ใหคงที่ดีกวาแบบ D แตดอยกวาแบบ A และ B นําไปใชกับงานที่ตองการแรงบิดขณะสตารทสูง
ฉุดโหลดขณะสตารทได และมีความเร็วรอบคอนขางคงที่เมื่อโหลดเปลี่ยนแปลง เชน สายพาน
ลําเลียง เปนตน
แบบ D มีคุณสมบัติโดดเดนตรงที่มีแรงบิดขณะสตารทสูงกวาทุกแบบ แตมีคุณสมบัติ
ในการรักษาความเร็วรอบใหคงที่ดอยกวาทุกแบบ จึงเหมาะสําหรับงานที่มีการหยุดและสตารท
บอย ๆ และไมตองการความเร็วคงที่ เชน ปนจั่น ลิฟท เปนตน

ในเรื่องนี้ ธวัชชัย อัตถวิบูลยกุล (2536) ไดแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติและ


การใชงานไวนาสนใจมาก ดังนี้

Class A ใชกับงานทั่ว ๆ ไป มีแรงบิดเริ่มหมุนประมาณ 150% ของแรงบิดเต็มพิกัด


กระแสเริ่มหมุน 5 –10 เทาของกระแสพิกัด มีแรงบิดสูงสุดประมาณ 200 – 250% ของแรงบิด
พิกัด มีคาสลิปที่พิกัด 3 – 5% มีเพาเวอรแฟกเตอรและประสิทธิภาพประมาณ 87 – 89% มอเตอร
Class A จะใชรหัสอักษรจาก F - V
การนําไปใชงาน เหมาะกับโหลดที่ตองการความเร็วรอบคงที่ ที่ไมตองการแรงบิดเริ่ม
หมุนมากนัก ไดแก พัดลม โบลวเวอร ปมแรงเหวี่ยง เปนตน ถามีขนาดตั้งแต 7 1/2 hp ขึ้นไป
ควรจะสตารทโดยใชวิธีลดแรงดัน (reduced-voltage starting)

Class B มีคุณลักษณะคลายกับ Class A คือมีแรงบิดเริ่มหมุนประมาณ 150% ของ


แรงบิดพิกัด มีกระแสเริ่มหมุนประมาณ 5 – 5.5 เทาของกระแสพิกัด มีคาสลิปพิกัดประมาณ 3 ถึง 5%
143

มีคาเพาเวอรแฟกเตอรเมื่อโหลดเต็มพิกัดต่ํากวา Class A เล็กนอย มีประสิทธิภาพ 67 – 89% มี


รหัสอักษรจาก B – E มีขนาดตั้งแต ½ hp ถึง 200 hp
การนําไปใชงาน ใชกับงานลักษณะเดียวกันกับ Class A

Class C มีแรงบิดเริ่มหมุนประมาณ 200 –250% ของแรงบิดพิกัด มีพิกัดกําลังตั้งแต


1 –200 hp กระแสขณะเริ่มหมุนใกลเคียงกับ Class B มีคาสลิปเมื่อโหลดเต็มพิกัด 3 – 7% มี
เพาเวอรแฟกเตอรเมื่อโหลดเต็มพิกัดต่ํากวา Class A มีประสิทธิภาพประมาณ 82 – 84% มี
รหัสอักษร B – E
การนําไปใชงาน เหมาะกับโหลดที่ตองการความเร็วรอบคงที่ แตตองการแรงบิดเริ่ม
หมุนสูง เชน สายพานลําเลียง (conveyors) คอมเพรสเซอร (compressor) เครื่องบด (crushers)
เครื่องปนหรือกวน (agitators) ปมชนิดลูกสูบ(reciprocating pumps)

Class D มีพิกัดกําลังตั้งแต 0.5 – 150 hp. แบบสลิปปานกลาง มีแรงบิดเริ่มหมุน


350% ของแรงบิดพิกัด กระแสขณะเริ่มหมุน 4 –8 เทาของกระแสเต็มพิกัด มีคาสลิปประมาณ 7 –
11% สําหรับแบบคา คาสลิปสูงมีแรงบิดเริ่มหมุนประมาณ 250 – 315% ของแรงบิดพิกัด กระแส
ขณะเริ่มหมุน 3 – 5 เทาของกระแสพิกัด มีคาสลิปประมาณ 12 – 16% มีคาเพาเวอรแฟกเตอรและ
ประสิทธิภาพต่ํากวา Class A, B และ C
การนําไปใชงาน ชนิดคาสลิปปานกลางเหมาะกับโหลดที่มีแรงเฉื่อยสูง (high inertia
loads) เชน เครื่องตัด (shears) เครื่องปมโลหะขนาดใหญ (punch presses) เครื่องแมพิมพ
ประทับตรา (die stamping) รวมทั้งโหลดที่ตองการอัตราเรงเฉลี่ยของแรงบิดสูง ๆ (very high
average accelerating torque)

ชนิดที่มีสลิปสูงเหมาะกับโหลดประเภทลิฟท (elevators) ปนจั่น (hoists) โหลดที่ตอง


หยุดเครื่องบอย ๆ (intermittent loads) โหลดที่ตองการแรงกระแทกสูง ๆ สําหรับโหลดประเภท
หลังนี้จะใชพูลเลย (pulley/flywheel) เขาชวยในการกระแทกดวย

รหัสอักษรที่ระบุไว จะชวยบอกคากําลังไฟฟาที่ใชตอแรงมาในขณะมอเตอรสตารท
ซึ่งคาดังกลาวมีความจําเปนสําหรับกําหนดขนาดของอุปกรณในการควบคุม เชน แมกเนติกคอน
แทกเตอร สายปอนและอุปกรณปองกัน ดังตารางที่ 7.1 ซึ่งแสดงไวในเว็บไซต Joliet Equipment
(2008)
144

ตารางที่ 7.1 กําลังไฟฟาที่ใชตอแรงมาขณะมอเตอรสตารท

LETTER KVA/HORSE LETTER KVA/HORSE


DESIGNATION POWER DESIGNATION POWER
A 0.0– 3.15 K 8.0 – 9.0
B 3.15 – 3.55 L 9.0 – 10.0
C 3.55 – 4.0 M 10.0 – 11.2
D 4.0 – 4.5 N 11.2 – 12.5
E 4.5 – 5.0 P 12.5 – 14.0
F 5.0 – 5.6 R 14.0 – 16.0
G 5.6 – 6.3 S 16.0 – 18.0
T 18.0 – 20.0
H 6.3 – 7.1
U 20.0 – 22.4
J 7.1 – 8.0
V 22.4 - & up

ที่มา : Joliet Equipment, 2008

ตัวอยางเชน มอเตอรขนาด 10 แรงมา รหัสอักษร B จะมีกําลังไฟฟาที่ใชขณะสตารท


ระหวาง 3.15 - 3.55 kVA/hp ดังนั้นคากําลังไฟฟาที่ใชจริงคือ ต่ําสุด 31.5 สูงสุด 35.5 kVA และนํา
คากําลังไฟฟานี้ไปคํานวณคากระแสขณะสตารท เปนตน

7.9 สรุป
มอเตอรเหนี่ยวนําทํางานโดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนํา ระหวางสนามแมเหล็กหมุนที่
เกิดขึ้นที่สเตเตอรกับตัวนําในโรเตอร ทําใหโรเตอรเกิดแรงบิดและหมุนไปไดดวยคาความเร็วของ
โรเตอร ซึ่งมีคาต่ํากวาความเร็วสนามแมเหล็กหมุนหรือความเร็วซิงโครนัส ความเร็วที่แตกตางนี้
เมื่อเทียบกับความเร็วซิงโครนัสเรียกวาสลิป ขณะมอเตอรสตารทสลิปจะมีคาเทากับ 1 สําหรับ
มอเตอรชนิดทั่ว ๆ ไป ขณะขับโหลดเต็มพิกัดจะมีคาสลิปประมาณ 0.03 - 0.05 สลิปยังเปนตัวแปร
ในการคํานวณคากําลังไฟฟาหลาย ๆ สวนที่อยูในโรเตอร เชน กําลังสงผานชองวางอากาศ กําลัง
ทางกลที่เกิดขึ้นในโรเตอร และ กําลังสูญเสียเนื่องจากขดลวดโรเตอร สําหรับการพิจารณา
145

คุ ณ สมบั ติ ข องมอเตอร จ ะพิ จ ารณาจากกราฟความสั ม พั น ธ ร ะหว า งแรงบิ ด กั บ ความเร็ ว ตาม


มาตรฐานของ NEMA แบงมอเตอรออกเปน 4 แบบ คือ A B C และ D แบบ A และ B เหมาะกับ
งานทั่ว ๆ ไป ที่ตองการความเร็วรอบคงที่ แบบ C มีแรงบิดขณะสตารทสูงและมีความเร็วคอนขาง
คงที่ จึงเหมาะกับงานสายพานลําเลียง สวนแบบ D มีแรงบิดขณะสตารทสูงแตความเร็วไมคงที่เมื่อ
โหลดเปลี่ยนแปลง จึงเหมาะกับงานที่ตองเดินเครื่องและหยุดบอย ๆ เชน ลิฟท หรือ ปนจั่น เปนตน

7.10 คําถามทบทวนและกิจกรรม
1. ใหอธิบายลักษณะและความสําคัญของสเตเตอร
2. โรเตอรแบบกรงกระรอกและโรเตอรแบบวาวดแตกตางกันอยางไร ทั้งรูปลักษณ
และการใชงาน
3. ทําไมจึงเรียกวาสนามแมเหล็กหมุน มีความเร็วรอบเทาใดขึ้นอยูกับตัวแปรใดบาง
และมีความสําคัญอยางไรตอการทํางานของมอเตอร
4. ใหอธิบายเกี่ยวกับความเร็วสลิป และ คาสลิป
5. มอเตอรเหนี่ยวนําทุกตัวขณะสตารทมี่คาสลิปเทากับ 1 เสมอ สวนขณะขับโหลดจะ
มีคาสลิปแตกตางกันตามการออกแบบ คํากลาวนี้เปนจริงเพียงใด
6. แรงบิดขณะสตารท ขณะขับโหลดเต็มพิกัด และแรงบิดสูงสุด มีความสัมพันธ
อยางไรกับคาสลิป
7. ใหเขียนสมการแสดงความสัมพันธของกําลังอินพุทของโรเตอร กําลังทางกลที่
เกิดขึ้นในโรเตอร กําลังสูญเสียเนื่องจากความตานทานของโรเตอร กําลังเอาทพุท และกําลัง
สูญเสียทางกล
8. ถากําลังสูญเสียเนื่องจากความตานทานของโรเตอรเปนศูนย กําลังสวนใดจะมีคา
เทากันบาง
9. ถากําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุนหรือกําลังสูญเสียทางกลเปนศูนย กําลังสวนใด
จะมีคาเทากันบาง
10. มอเตอรขนาด 5 แรงมา มีกําลังสูญเสียทางกล 2.3 เปอรเซนต มีคาสลิป 3.5
เปอรเซนต จะมีกําลังอินพุทของโรเตอร กําลังทางกลที่สรางขึ้นในโรเตอร กําลังสูญเสียในขดลวด
โรเตอร จะมีคาเทาใด
11. ทําใบงานการทดลองที่ 5 และ 6
146
เอกสารอางอิง
ธวัชชัย อัตถวิบูลยกุล. (2536). เครื่องกลไฟฟา 4 ทฤษฎีมอเตอรเหนี่ยวนําสามเฟสและเฟสเดียว.
กรุงเทพฯ: ศูนยสงเสริมอาชีวะ.
ประสิทธิ์ พิทยพัฒน. (2541). การควบคุมมอเตอรไฟฟา (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือ
แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และ มาบูชิ มาการิซาวา. (2533). เทคนิคการซอมแซมเลือกประเภทและ
ติดตั้งมอเตอรเหนี่ยวนํา. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
Chapman, S. J. (2005). Electric machinery Fundamentals. (4 rd ed.). New York: McGraw-Hill.
CIPO Library Energy. (2008). Motor & Drive : Part. [Online],
Available HTTP : http://cipco.apogee.net/mnd/mfamen.asp [2008, September 8]
-------. (2008). Motor & Drive : Stator. [Online],
Available HTTP : http://cipco.apogee.net/mnd/mfamen.asp [2008, September 8]
ecmweb.com. (2008). Understanding Induction Motor. [Online],
Available HTTP : http://ecmweb.com/mag/electric_understanding_induction_motor/
index.html [2008, September 16]
Electrical resource. (2008). squirrel cage induction motors. [Online],
Available HTTP : http://www.electrical-res.com [2008, September 16]
-------. (2008). wound-rotor-induction-generator. [Online],
Available HTTP : http://www.electrical-res.com [2008, September 16]
Joliet Equipment. (2008). NEMA Code AC Motors. [Online],
Available HTTP : http://www.joliet-equipment.com/nema_code_ac_motors.htm
[2008, September 16]
148

You might also like