You are on page 1of 46

บทที่ 7

เครื่องจักรกลเหนี่ ยวนํา

เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําเป็ นเครื่ องจักรที่มีความทนทานมากที่สดุ และมีการใช้ งานในวงการ


อุตสาหกรรมมากที่สดุ โครงสร้ างประกอบด้ วยสเตเตอร์ ซงึ่ อยูก่ บั ที่และโรเตอร์ ซงึ่ หมุนได้ โดยติดตังอยู
้ ่
บนแบริ่ งแยกจากสเตเตอร์ ด้วยช่องอากาศ กระแสที่ไหลในขดลวดสเตเตอร์ และโรเตอร์ จะเป็ นไฟฟ้า
กระแสสลับ ในสเตเตอร์ จะป้อนไฟฟ้ากระแสสลับเข้ าไปโดยตรง ส่วนในโรเตอร์ กระแสไฟฟ้าได้ มาจาก
การเหนี่ยวนําซึง่ เป็ นที่มาของชื่อ เครื ่องจักรกลเหนีย่ วนํา

หลักการทํางานของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําก็คือ สเตเตอร์ จะสร้ างสนามแม่เหล็กหมุนไป


เหนี่ยวนําให้ โรเตอร์ หมุนตามไปด้ วย ทําให้ ได้ พลังงานกลนําไปใช้ งานได้
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําทํางานได้ ทงแบบมอเตอร์
ั้ หรื อแบบเจนเนอเรเตอร์ คุณลักษณะของการ
ทํางานเป็ นแบบเจนเนอเรเตอร์ เพื่อจ่ายกระแสให้ กบั โหลดนันไม่
้ คอ่ ยดีนกั จึงมีการใช้ งานน้ อยมาก แต่
จะนิยมใช้ งานเป็ นแบบมอเตอร์ มากที่สดุ

ขนาดของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํามีหลากหลายมาก ตังแต่ ้ มอเตอร์ เฟสเดียวที่มีขนาดเล็กที่


เรี ยกว่าแรงม้ าเศษส่วน (fractional horsepower) เป็ นมอเตอร์ ที่ใช้ งานภายในบ้ าน เช่น เครื่ องตัดหญ้ า
เครื่ องซักผ้ า เครื่ องปั่ นนํ ้าผลไม้ ตู้เย็น เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องเล่นแผ่นเสียง เป็ นต้ น ไปจนถึงมอเตอร์
ที่มีขนาดใหญ่ซงึ่ มักจะเป็ นมอเตอร์ สามเฟส เช่น ปั๊ มนํ ้า พัดลม โบลเวอร์ คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์ ที่ใช้
ในโรงงานผลิตกระดาษ โรงงานทอผ้ า เป็ นต้ น

นอกจากนี ้ยังมีเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําที่มีโครงสร้ างพิเศษเพื่อใช้ งานที่มีการเคลื่อนที่แบบเชิง


เส้ น ( linear induction motor ) เพื่อใช้ งานในระบบขนส่ง และแบบสองเฟสที่เรี ยกว่าเซอร์ โวมอเตอร์
( servomotor ) เพื่อใช้ งานในระบบควบคุม

ในเบื ้องต้ นนี ้จะศึกษาถึงรายละเอียดการทํางาน คุณลักษณะและสมรรถนะในภาวะอยูต่ วั ของ


มอเตอร์ ไฟฟ้าเหนี่ยวนําชนิดสามเฟส ซึง่ มีความสําคัญที่สดุ และใช้ งานมากที่สดุ ในโรงงานอุตสาหกรรม
122 กาารแปลงพลังงานกลไฟฟ้
ง ฟ้ า

7.1 ลักษณะทางโคครงสร้ าง
ในรูปที่ 1a ได้
ไ แสดงรูปขอองเครื่ องจักรกกลชนิดสามเฟฟส ซึง่ ประกออบด้ วยโครงสสร้ างหลักสองงส่วน
คือสเตเตตอร์ และโรเตออร์ โครงสร้ างของสเตเตอ
า อร์ ประกอบด้ด้ วยแผ่นอัดชนินิดเหล็กกล้ ามมาประกบซ้ อนกั
อ น
เป็ นตัวถังั รูปทรงกระบบอก เพื่อเป็ นทางเดิ
น นของสนามแม่เหล็ล็ก โดยมีขดลลวดสเตเตอร์ ททังสามเฟสจั้ ดั วาง
อยูใ่ นร่องงบนผิวหน้ าด้ านในของตัวถั
ว ง ดังแสดงงในรูปที่ 1b ส่วนโครงสร้ร้ างของโรเตออร์ จะประกอบบด้ วย
แผ่นโลหหะชนิดเฟอร์ โรแมกเนติ
ร กปรระกบอัดกันเปป็ นรูปทรงกระะบอกและทําร่ า องไว้ บนผิว ด้ านนอกสําหรั
หบ
ฝังตัวนําหรื อวางขดลวด ระหว่างสเตเตอร์
า กบับโรเตอร์ จะเป็ป็ นช่องอากาศศแคบ ๆ แบบบสมํ่าเสมอรออบ ๆ
ทรงกระบบอก ขดดลวดบนโรเตอร์ มีสองแบบบด้ วยกันคือ แบบกรงกระะรอก ( squirrrel - cage) และ
แบบพันขขดลวด ( wound w - rotor ) โรเตอร์ร์ แบบกรงกระะรอกจะประกอบ ด้ วยแท่งงทองแดงหรือแท่ อ ง
อะลูมิเนียมฝังอยูใ่ นร่องโรเตอร์ แล้ วปิ ดหัวท้ ายลัลัดวงจรด้ วยแแหวนทองแดงงหรื ออะลูมเิ นี ยม ดังแสดดงใน
รูปที่ 7.22a ส่วนแบบพพันขดลวดจะะมีรูปแบบเหมืมือนกับขดลววดของ สเตเตตอร์ ปลายขดดลวดโรเตอร์ จะต่ จ อ
อยูก่ บั วงงแหวนลื่น (slip ring) สามมอันด้ วยกัน ดังแสดงในรูปที่ 7.2b แลละจะใช้ แปรงถถ่านซึง่ ยึดอยูยูก่ บั ที่
กดสัมผัสสอยูบ่ นวงแหวนลืน่ ทําใหห้ ปลายขดลววดของโรเตอร์ร์ ตอ่ กับวงจรภภายนอกที่เป็ นนตัวต้ านทานนแบบ
สามเฟส เพื่อใช้ ควบคคุมความเร็วของมอเตอร์
ข ได้ เมื่อพิจารณ
ณาโครงสร้ างททังสองแล้
้ วจะะเห็นว่าโครงสร้ าง
แบบกรงงกระรอกมีโครรงสร้ างที่ง่ายกว่า ประหยัดั กว่า และทนนทานกว่าโครรงสร้ างแบบพัพันขดลวด

(a) รูปร่างภายนอก
า (b) ชุดขดลววดสเตเตอร์
รูปที่ 7.1 เคครื่ องจักรกลเหหนี่ยวนําสามมเฟส [Sen,P..C.,1999]

(a) โรเตอร์
โ แบบกกรงกระรอก (b)
( โรเตอร์ แบบพั
บ นขดลวดด
รู ่ 7.2 โรเตตอร์ ของเครื่ องงจักรกลเหนียวนํ
รปที ่ย า [Sen,PP.C.,1999]
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 123

ชุดขดลวดสามเฟสบนสเตเตอร์ และบนโรเตอร์ ที่เป็ นแบบพันขดลวด จะจัดวางให้ กระจายไป


รอบ ๆ ทรงกระบอก ทําให้ สามารถใช้ แกนเหล็กและขดลวดทองแดงได้ อย่างมีประสิทธิผล การกระจาย
ของแรงเคลื่อนแม่เหล็กดีขึ ้น ทําให้ เครื่ องจักรกลสร้ างแรงบิดแม่เหล็กได้ อย่างสมํ่าเสมอ ขดลวดในแต่
ละเฟสจะกระจายอยูบ่ นร่องขดลวดหลาย ๆ ร่อง เมื่อมีกระแสไหลผ่านขดลวดที่กระจายอยูน่ ี ้ จะสร้ าง
แรงเคลื่อนแม่เหล็กที่กระจายอยูใ่ นช่องอากาศเป็ นแบบไซนูซอยด์

(a) (b) (c)


รูปที่ 7.3 เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําสามเฟสชนิดโรเตอร์ แบบกรงกระรอก
(a) ภาพตัดขวาง (b) ชุดขดลวดสเตเตอร์ ตอ่ แบบ Y (c) ชุดขดลวดสเตเตอร์ ตอ่ แบบ Δ

รูปที่ 7.3a แสดงรูปภาพตัดของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําสามเฟสแบบกรงกระรอก ในทาง


ปฏิบตั ชิ ดุ ขดลวดสเตเตอร์ จะจัดวางให้ กระจายอยูใ่ นร่องขดลวดหลายๆ ร่อง แต่เพื่อให้ ง่ายต่อการเขียน
วงจรไฟฟ้า จึงเขียนเป็ นแบบกลุม่ ขดลวด ดังรูปที่ 7.3b หรื อ 7.3c โดยที่แกนขดลวดในแต่ละเฟสจะทํา
มุมห่างกัน 120°ทางไฟฟ้า ขดลวด aa’ จะแทนขดลวดของเฟส a ซึง่ กระจายอยูภ่ ายใต้ ขวแม่ ั ้ เหล็ก 1
คูข่ วั ้ ทํานองเดียวกัน ขดลวด bb’ แทนขดลวดของเฟส b และ cc’ แทนขดลวดของเฟส c จุดปลาย
ของขดลวดอาจจะต่อกันเป็ นวงจรสามเฟสแบบวงจร Y ในรูปที่ 7.3b หรื อวงจร Δ ในรูปที่ 7.3c ก็ได้

7.2 สนามแม่ เหล็กหมุน


ในหัวข้ อนี ้จะศึกษาถึงสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไหลในขดลวดแบบสามเฟส ที่พนั ในร่อง
บนสเตเตอร์ ในรูปที่ 7.4a ชุดขดลวดสามเฟส แสดงแทนด้ วย aa’ bb’ และ cc’ แต่ละชุดขดลวดวาง
ห่างกัน 120° ทางไฟฟ้าไปโดยรอบในสเตเตอร์ ในที่นี ้จะเริ่มพิจารณาจากเครื่ องจักรกลแบบสอง
ขัวแม่
้ เหล็ก กลุม่ ขดลวดจะแสดงแทนขดลวดที่กระจายอยู่ เมื่อกระแสไหลผ่านขดลวดเฟสหนึง่ เฟสใด
จะเกิดคลื่นแรงเคลื่อนแม่เหล็กกระจายแบบไซนูซอยด์โดยมีแกนอยูต่ รงกึ่งกลางของขดลวดเฟสนัน้ ถ้ า
กระแสที่ไหลผ่านขดลวดเป็ นกระแสสลับ จะเกิดคลื่นแรงเคลื่อนแม่เหล็กแบบ พัลเซติ ้ง ขนาดและ
124 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

ทิศทางของคลื่นขึ ้นอยูก่ บั กระแสขณะหนึง่ ที่ไหลผ่านขดลวดในเวลานัน้ รูปที่ 7.4b แสดงการกระจาย


ของแรงเคลื่อนแม่เหล็กขณะหนึง่ เมื่อกระแสสลับขณะหนึง่ ไหลผ่านขดลวด aa’ ขดลวดในแต่ละเฟสจะ
สร้ างรูปคลื่นแรงเคลื่อนแม่เหล็กที่กระจายแบบไซนูซอยด์คล้ าย ๆ กัน แต่จะห่างกัน120° ทางไฟฟ้า

Ec
NII
-
.

y
T
%

.

Ia .
-

NIM

\
In .

Nine
Falcon :
⇒ Ital
list cos so
.
(a) (b)

Halt 1151 cos


ooo
t I Eclcosboi

NIM t
NII (E) t
NII ( I )
- '
→ Max
ooh a
neuroma
I NII
b
tf
'
Em
wa b ooh mat
' C 2
ooh
IN c

(c)
รูปที่ 7.4 แรงเคลื่อนแม่เหล็กแบบพัลเซติ ้ง

เริ่มพิจารณาจากกระแสสามเฟสแบบสมดุลไหลผ่านขดลวดทังสามเฟส
้ กระแสแต่ละเฟสจะมีคา่ ดังนี ้
i a = I m cos ωt (7.1)
ib = I m cos (ωt − 120 ° ) (7.2)
ic = I m cos (ωt + 120 ° ) (7.3)
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 125

จากสมการทังสามจะเห็
้ นว่ากระแสมีคา่ เปลี่ยนแปลงตามเวลาดังแสดงในรู ปที่ 7.4c ขณะ ที่
กระแสเป็ นบวกและไหลเข้ าไปในขดลวดจะแสดงด้ วยเครื่ องหมายกากบาท(cross) ปลายอีกด้ านหนึ่ง
ของขดลวดกระแสไหลออกจะแสดงด้ วยเครื่ องหมายจุด(dot) ดังแสดงในรู ปที่ 7.4a เมื่อกระแสแต่ละ
เฟสไหลเข้ าแต่ละขดลวดจะเกิดคลื่นแรงเคลื่อนแม่เหล็กเป็ นแบบไซนูซอยด์ตามกระแสในเฟสนัน้ ๆ
และแกว่งไปมาตามแนวแกนของแต่ละเฟส ค่ายอดสูงสุดเกิดขึ ้นในแนวแกนนัน้ ขนาดของแรงเคลื่อน
แม่เหล็กจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับค่ากระแสที่ไหลผ่าน ผลลัพธ์ แรงเคลื่อนแม่เหล็กได้ จากผลรวมของ
แรงเคลื่อนแม่เหล็กทังสามเฟส
้ ซึง่ คํานวณได้ ด้วยวิธีกราฟหรื อวิธีวิเคราะห์ก็ได้

7.2.1 วิธีกราฟ
จากรูปที่ 7.4c ณ เวลา t = t0 กระแสในแต่ละเฟสมีคา่ ดังนี ้
ia = I m ไหลผ่านขดลวด a (7.4)
Im
ib = − ไหลผ่านขดลวด b (7.5)
2
Im
ic = − ไหลผ่านขดลวด c (7.6)
2
ทิศทางของกระแสแสดงด้ วยเครื่ องหมายจุดและกากบาทดังแสดงในรูปที่ 7.5a เนื่องจากกระแสที่ไหล
ผ่านขดลวดในเฟส a มีคา่ สูงสุด ดังนันแรงเคลื
้ ่อนแม่เหล็กที่ได้ ก็จะมีคา่ สูงสุดด้ วย และเขียนแทนด้ วย
เวกเตอร์ Fa = Fmax ตามแนวแกนของเฟส a ดังแสดงในรูปที่ 7.5a ทํานองเดียวกันแรงเคลื่อน
แม่เหล็กในเฟส b และ c เขียนแทนด้ วยเวกเตอร์ Fb และ Fc ได้ ตามลําดับ ซึง่ แต่ละเฟสมีขนาดเท่ากับ
Fmax / 2 ในทิศทางที่เป็ นลบไปตามแนวแกนของแต่ละเฟส ผลลัพธ์ ของเวกเตอร์ ทงสามมี ั้ คา่ เท่ากับ
F = 32 Fmax กระทําในทิศทางที่เป็ นบวกตามแนวแกน a ดังนัน้ ณ เวลาขณะนี ้ผลลัพธ์ แรงเคลื่อน

แม่เหล็กจะกระจายแบบไซนูซอยด์เหมือนกับแรงเคลื่อนแม่เหล็กในเฟส a แต่มีขนาดเป็ น 3/2 เท่าของ


เฟส a องค์ประกอบและผลลัพธ์แรงเคลื่อนแม่เหล็กที่เวลา t = t 0 แสดงไว้ ในรูปที่ 7.5b

้ ่เวลา t1 พิจารณาจากรูปที่ 7.4c กระแสและแรงเคลื่อนแม่เหล็กจะมีคา่ ดังนี ้


หลังจากนันที
ia = 0 Fa = 0 (7.7)
3 3
ib = Im Fb = Fmax (7.8)
2 2

3 3
ic = − Im Fc = − Fmax (7.9)
2 2
126 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

ทิศทางกระแส เวกเตอร์ องค์ประกอบและผลลัพธ์ของแรงเคลื่อนสนามแม่เหล็กได้ แสดงไว้ ในรูปที่ 7.5c


จะเห็นว่าผลลัพธ์ของแรงเคลื่อนสนามแม่เหล็ก F ที่เวลา t = t1 จะมีขนาดเท่ากับ 23 Fmax เท่ากับที่
เวลา t = t0 แต่ได้ หมุนไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเป็ นมุม 90°ทางไฟฟ้า

(a) t = t0 = t4 (b) ที่ t = t0

(c) ที่ t = t1 (d) ที่ t = t2 (e) ที่ t = t3

รูปที่ 7.5 การหาสนามแม่เหล็กหมุนโดยวิธีกราฟ : แสดงแรงเคลื่อนแม่เหล็กที่เวลาต่าง ๆ กัน

ทํานองเดียวกันกระแสที่เวลา t = t 2 และที่ t = t3 สามารถหาผลลัพธ์ของแรงเคลื่อน


สนามแม่เหล็กได้ ดงั รูปที่ 7.5d และ 7.5e ตามลําดับ เห็นได้ ชดั เจนว่าแม้ วา่ เวลาจะผ่านไป แต่ผลลัพธ์
ของแรงเคลื่อนสนามแม่เหล็กยังมีขนาดคงที่และหมุนไปรอบ ๆ ช่องอากาศ ภายในหนึง่ รอบของการ
เปลี่ยนแปลงกระแส ผลลัพธ์แรงเคลื่อนสนามแม่เหล็กจะกลับมายังตําแหน่งเดิม เช่นที่เวลา t4 จะ
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 127

เหมือนกับเวลาที่ t 0 ดังแสดงดังในรูปที่ 7.5a เป็ นการแสดงให้ เห็นว่าเครื่ องจักรกลชนิดสองขัวแม่


้ เหล็ก
เมื่อผลลัพธ์แรงเคลื่อนสนามแม่เหล็กหมุนครบหนึง่ รอบกระแสจะเปลีย่ นแปลงครบหนึง่ รอบพอดี ดังนัน้
ในเครื่ องจักรกลชนิด p ขัว้ เมื่อกระแสเปลีย่ นแปลงครบหนึง่ รอบ แรงเคลื่อนแม่เหล็กจะหมุนไป 2/p
รอบ จํานวนรอบการหมุนต่อนาที n ( rpm ) ของแรงเคลื่อน แม่เหล็กในเครื่ องจักรกลชนิด p ขัว้ ซึง่ มี
กระแสไหลเข้ าขดลวดด้ วยความถี่เท่ากับ f จะมีคา่ ดังนี ้
2 120 f
n= f 60 = (7.10)
p p

ถ้ าให้ กระแส ia ไหลเข้ าขดลวดเฟส a กระแส ib ไหลเข้ าขดลวดเฟส c กระแส ic ไหลเข้ า


ขดลวดเฟส b แรงเคลื่อนแม่เหล็กจะหมุนกลับในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ด้ วยเหตุนี ้เมื่อมีการสลับ
ลําดับเฟส ( phase sequence ) ของกระแสที่ไหลเข้ าขดลวดจะทําให้ แรงเคลื่อนแม่เหล็กหมุนกลับทิศ
หรื อทําให้ มอเตอร์ หมุนกลับทิศนัน่ เอง

(a) (b)
รูปที่ 7.6 การเคลื่อนที่ของผลลัพธ์แรงเคลื่อนแม่เหล็ก

7.2.2 วิธีการวิเคราะห์
ในหัวข้ อนี ้จะศึกษาเครื่ องจักรกลแบบสามเฟสชนิดสองขัวโดยวิ
้ ธีการวิเคราะห์ เริ่ มจาก
พิจารณาผลลัพธ์แรงเคลื่อนสนามแม่เหล็กที่จดุ ใด ๆ ในช่องว่างอากาศ ในที่นี ้จะกําหนดด้ วยมุมเริ่ มต้ น
เท่ากับ θ เทียบกับแกนแม่เหล็กในเฟส a ดังแสดงในรูปที่ 7.6a ที่เวลาขณะใดขณะหนึง่ แรงเคลื่อน
แม่เหล็กที่มมุ นี ้จะมีคา่ ตามสมการ
F (θ ) = Fa (θ ) + Fb (θ ) + Fc (θ ) (7.11)
แรงเคลื่อนแม่เหล็กจะมีขนาดเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับกระแสในเฟสนัน้ ดังนันแรงเคลื
้ อ่ นแม่เหล็กในแนว
มุม θ จะมีคา่ เท่ากับ
128 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

Fa (θ ) = Nia cosθ (7.12)


โดยที่ N คือ จํานวนรอบยังผลของเฟส a
ia คือ กระแสในเฟส a

เนื่องจากแกนของแต่ละเฟสถูกเลื่อนไปเป็ นมุม 120°ทางไฟฟ้า ดังนันแรงเคลื


้ ่อนแม่เหล็กในเฟส b
และเฟส c จะมีคา่ ดังนี ้
Fb (θ ) = Nib cos(θ − 120°) (7.13)
Fc (θ ) = Nic cos(θ + 120°) (7.14)
ดังนันผลลั
้ พธ์แรงเคลื่อนแม่เหล็กในแนวมุม θ จะมีคา่ เท่ากับ
Fa (θ ) = Nia cosθ + Nib cos(θ − 120°) + Nic cos(θ + 120°) (7.15)
กระแส ia , ib และ ic เป็ นฟั งชันของเวลาตามนิยามในสมการ 7.1, 7.2 และ 7.3 ดังนัน้ ค่า
ของแรงเคลื่อนแม่เหล็กจะขึ ้นอยูก่ บั ฟั งชันของมุม θ และ เวลา t ดังนี ้
F (θ , t ) = NI m cos ωt cosθ

+ NI m cos(ωt − 120°) cos(θ − 120°)

+ NI m cos(ωt + 120°) cos(θ + 120°) (7.16)

ใช้ ความสัมพันธ์ด้านตรี โกณมิตเิ พื่อแก้ สมการดังนี ้


cos A cos B = 12 cos( A − B) + 12 cos( A + B) (7.17)

จะได้ วา่ F (θ , t ) = 12 NI m cos(ωt − θ ) + 12 NI m cos(ωt + θ )

+ 12 NI m cos(ωt − θ ) + 12 NI m cos(ωt + θ − 240°)

+ 12 NI m cos(ωt − θ ) + 12 NI m cos(ωt + θ + 240°) (7.18)

องค์ประกอบของการหมุน องค์ประกอบของการหมุน
ไปข้ างหน้ า ไปข้ างหลัง

F (θ , t ) = 32 NI m cos(ωt − θ ) (7.19)
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 129

สมการ 7.19 คือผลลัพธ์ของแรงเคลื่อนแม่เหล็กในช่องอากาศ ซึง่ จะหมุนไปด้ วยความเร็ ว


เชิงมุมคงที่ ( ω = 2πf ) และแรงเคลื่อนแม่เหล็กนี ้จะกระจายเป็ นแบบไซนูซอยด์ตลอดรอบช่องอากาศ
ไม่วา่ จะเป็ นเวลาใดก็ตาม ดังแสดงในรูปที่ 7.6b ที่เวลา t1 ยอดคลื่นสูงสุดเกิดขึ ้นตามแนวของมุม
θ = ωt1 ที่เวลา t 2 ยอดคลื่นสูงสุดเกิดขึ ้นตามแนวของมุม θ = ωt 2 ซึง่ เป็ นตําแหน่งที่คลื่นเคลื่อนที่ไป
เป็ นมุมเท่ากับ ω (t 2 − t1 )
คลื่นผลลัพธ์แรงเคลื่อนแม่เหล็กจะหมุนไปด้ วยความเร็วเชิงมุม ω = 2πf (radians/sec) และคิด
เป็ นความเร็ วรอบต่อนาทีได้ ดงั สมการที่ 7.10
นอกจากการวิเคราะห์เครื่ องจักรกลชนิดสามเฟสดังที่กล่าวมาแล้ ว หลักการดังกล่าวยัง
สามารถนําไปวิเคราะห์เครื่ องจักรกลหลายเฟสทัว่ ๆ ไปได้ เช่นเครื่ องจักรกลที่มีขดลวดสเตเตอร์ เท่ากับ
m เฟส ป้อนด้ วยกระแสไฟฟ้าแบบสมดุลชนิด m เฟสเช่นกัน ผลลัพธ์ แรงเคลื่อนแม่เหล็กที่เกิดขึ ้นก็จะ

หมุนไปด้ วยขนาดคงที่รอบช่องอากาศเหมือนกัน โดยขดลวดแต่ละเฟสที่พนั อยูบ่ นสเตเตอร์ จะจัดวาง



ให้ กระจายอยูโ่ ดยรอบเท่ากับ องศาทางไฟฟ้า
m

7.3 แรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา
จากหัวข้ อที่ผา่ นมา ได้ แสดงให้ เห็นว่ากระแสไฟฟ้าแบบสมดุลชนิดหลายเฟสที่ไหลเข้ าไปใน
ขดลวดชนิดหลายเฟส จะสร้ างแรงเคลื่อนแม่เหล็กหมุนที่กระจายแบบไซนูซอยด์หมุนไปรอบ ๆ ช่อง
อากาศ ผลที่เกิดขึ ้นสามารถพิจารณาเป็ นแท่งแม่เหล็กแบบสองขัวหมุ ้ นไปรอบ ๆ ดังรูปที่ 7.7
สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ ้นนี ้ ค่าสูงสุดจะอยูใ่ นแนวแกนแท่งแม่เหล็ก และจะเหนี่ยวนําให้ เกิด
แรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ ้นในขดลวด aa’ , bb’ และ cc’ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ ้นจะเป็ นไปตามกฎ
ของฟาราเดย์

(a) (b)
รูปที่ 7.7 การกระจายของแรงเคลื่อนแม่เหล็กในช่องอากาศ
130 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

ความหนาแน่นเส้ นแรงแม่เหล็กที่กระจายอยูใ่ นช่องอากาศเขียนเป็ นสมการได้ ดงั นี ้


B(θ ) = Bmax cosθ (7.20)
เส้ นแรงแม่เหล็กต่อขัวจะมี
้ คา่ ดังนี ้
π /2
Φp = ∫ B(θ )lrdθ = 2 Bmax lr (7.21)
−π / 2

โดยที่ l คือความยาวตามแนวแกนของสเตเตอร์
r คือรัศมีสเตเตอร์ ที่ช่องอากาศ

สมมติวา่ ขดลวดเฟสเป็ นชนิดเต็มพิตช์จํานวน N รอบ ( ด้ านข้ างขดลวดของแต่ละเฟสจะวาง


ห่างกัน 180°ทางไฟฟ้า ดังแสดงในรูปที่ 7.7 ) จะเห็นว่าเมื่อสนามแม่เหล็กมีการเคลื่อนที่เส้ นแรง
แม่เหล็กที่คล้ องขดลวดจะมีการเปลี่ยนแปลง เส้ นแรงแม่เหล็กที่คล้ องขดลวดจะมีคา่ สูงสุดเท่ากับ
NΦ p ที่ ωt = 0 และมีคา่ เป็ นศูนย์ที่ ωt = 90° ดังรู ปที่ 7.7a เส้ นแรงแม่เหล็กคล้ องขดลวด
λa (ωt ) จะเปลี่ยนแปลงแบบโคซายน์ด้วยมุม ωt ดังนี ้

λ a (ωt ) = NΦ p cos ωt (7.22)


ตามกฎของฟาราเดย์จะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําดังนี ้
dλ a
ea = − = ωNΦ p sin ωt (7.23)
dt
ea = Emax sin ωt (7.23a)
แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําที่เกิดขึ ้นในขดลวดเฟสอื่น ๆ จะเป็ นแบบไซนูซอยด์เหมือนกัน แต่เฟสจะ
เคลื่อนไปทํามุมห่างซึง่ กันและกันเท่ากับ 120°ทางไฟฟ้า มีคา่ ดังนี ้
eb = Emax sin(ωt − 120°) (7.24)
e c = Emax sin(ωt + 120°) (7.25)
จากสมการ 7.23 จะได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนํายังผลเท่ากับ
ωNΦ p 2πf
Erms = = NΦ p
2 2
E rms = 4.44 fN Φ p (7.26)
โดยที่ f คือความถี่มีหน่วยเป็ น เฮิรตซ์ สมการที่ 7.26 เหมือนกับสมการแรงเคลือ่ นเหนี่ยวนํา
ของหม้ อแปลง แต่ Φ p ในสมการที่ 7.26 เป็ นเส้ นแรงแม่เหล็กต่อขัวของเครื ้ ่ องจักรกลค่าแรง
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 131

เคลื่อนเหนี่ยวนําในสมการดังกล่าวเป็ นค่ายังผลต่อเฟส โดยที่ N เป็ นจํานวนรอบขดลวดที่ตอ่ อนุกรม


แบบรวมกลุม่ เป็ นชุดขดลวดชนิดพิตช์เต็มในเฟสนัน้ แต่ในเครื ่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับทีเ่ ป็ นจริ งชุด
ขดลวดจะกระจายอยู่ในร่ องหลาย ๆ ร่ องเพือ่ ใช้ประโยชน์จากแกนเหล็กและขดลวด ทองแดงได้อย่าง
เต็มทีแ่ ละแก้ไขรู ปคลืน่ แรงดันให้ดีขึ้น แต่ทําให้ขดลวดในแต่ละร่ องมีแรงเคลือ่ น เหนีย่ วนําทีม่ ีเฟสตาม
เวลาไม่ตรงกัน ทําให้ผลรวมของแรงเคลือ่ นเหนีย่ วนําในเฟสนัน้ มี ค่าน้อยกว่าชุดขดลวดทีเ่ ป็ นกลุ่ม ผล
ของแรงดันทีล่ ดลงเนือ่ งจากวิ ธีการวางขดลวดนี ้ จะกําหนดด้วย winding factor , K w โดยส่วนมาก
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําแบบสามเฟสจะมีคา่ K w อยูใ่ นช่วง 0.85 - 0.95 ดังนันแรงเคลื้ ่อนเหนี่ยวนํา
ของชุดลวดแบบกระจายไปตามร่องขดลวด จะมีคา่ แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําต่อเฟสดังนี ้
E rms = 4.44 fN ph Φ p K w (7.27)
โดยที่ N ph คือจํานวนรอบขดลวดที่ตอ่ อนุกรมกันต่อเฟส

7.4 เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําหลายเฟส


หัวข้ อนี ้ จะพิจารณารูปแบบการทํางานหลายรูปแบบของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําหลายเฟส
อันดับแรกจะพิจารณาพฤติกรรมในภาวะหยุดนิ่งกับที่ อันดับถัดไปจะพิจารณาพฤติกรรมในภาวะมี
การหมุน

* 7.4.1 การทํางานในภาวะหยุดนิ่ง
เริ่ มต้ นจากพิจารณาการทํางานของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําสามเฟส ชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวด
โดยให้ ขดลวดโรเตอร์ เปิ ดวงจรไว้ เมื่อขดลวดสเตเตอร์ ตอ่ เข้ ากับแหล่งจ่ายไฟสามเฟส จะเกิดสนาม
แม่เหล็กหมุนไปรอบ ๆ ช่องอากาศ สนามแม่เหล็กนี ้จะหมุนไปด้ วยความเร็วซิงโครนัส ns ดัง สมการ
ที่ 7.8 เหนี่ยวนําให้ เกิดแรงเคลื่อนที่มีความถี่ เท่ากับ f1 ขึ ้นในขดลวดสเตเตอร์ และขดลวดโรเตอร์
พร้ อม ๆ กัน มีขนาดแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนําดังนี ้
E1 = 4.44 f 1 N 1Φ p K w1 (7.28)
E2 = 4.44 f1 N 2 Φ p K w2 (7.29)
จะได้ วา่
E1 N K
= 1 w1 (7.30)
E2 N 2 K w2

แฟกเตอร์ ชดุ ขดลวด K w1 และ K w2 ของสเตเตอร์ และโรเตอร์ มีคา่ เท่ากัน ดังนันจะได้


้ วา่
132 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

E1 N 1
= = turns ratio (7.31)
E2 N 2

* 7.4.4 การทํางานในภาวะหมุน
ถ้ าขดลวดสเตเตอร์ ตอ่ อยูก่ บั แหล่งจ่ายไฟ 3 เฟส และโรเตอร์ ได้ ลดั วงจรไว้ แรงเคลือ่ นไฟฟ้า Tt
เหนี่ยวนําที่เกิดขึ ้นในชุดขดลวดโรเตอร์ จะทําให้ เกิดกระแสไหลในขดลวดโรเตอร์ ที่ลดั วงจรนัน้ กระแสที่ Ahs
ไหลจะมีปฏิกิริยากับสนามแม่เหล็กในช่องอากาศเพื่อสร้ างแรงบิด ถ้ าโรเตอร์ เคลือ่ นที่ได้ อย่างอิสระ →
film of hr
แรงบิดที่เกิดขึ ้นจะทําให้ โรเตอร์ เริ่ มหมุน โดยหมุนไปในทิศทางเดียวกับสนามแม่เหล็กหมุนซึง่ เป็ นไปตาม
กฎของ Lenz เพื่อลดความเร็ วสัมพัทธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กหมุนกับชุดขดลวดในโรเตอร์ โรเตอร์ จะหมุน 1

จนถึงความเร็วภาวะอยูต่ วั ค่าหนึง่ n , ซึง่ มีคา่ น้ อยกว่าความเร็ วซิงโครนัส ns ของสนามแม่เหล็กหมุนใน FUN


, Ultimo
As
สเตเตอร์ ถ้ าโรเตอร์ หมุนเท่ากับความเร็ วซิงโครนัส ( n = ns ) จะไม่เกิดแรงเคลือ่ นเหนี่ยวนําขึ ้นในขดลวด
Idina
โรเตอร์ ทําให้ ไม่มีกระแสไหล ดังนันจะไม่้ เกิดแรงบิดที่ทําให้ โรเตอร์ หมุน O

ความเร็ วที่แตกต่างกัน ระหว่างความเร็วของโรเตอร์ กบั ความเร็วซิงโครนัสของสนามแม่เหล็ก


หมุน เรี ยกว่าสลิป ( slip, s) ซึง่ เขียนเป็ นนิยามได้ ดงั นี ้
ns − n
s= (7.32)
ns

ถ้ านั่งอยู่บนโรเตอร์ จะเห็นว่า โรเตอร์ เลื่อนหรื อตามหลังสนามแม่เหล็กหมุนด้ วยความเร็ ว


สลิป rpm = ns − n = sns แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําและกระแสที่ไหลในโรเตอร์ จะมีความถี่ ( f 2 ) ที่
สอดคล้ องกับความเร็ วสลิปซึง่ เป็ นความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างขดลวดโรเตอร์ กบั สนามแม่เหล็กหมุน
p
f2 = (ns − n )
120
p
f2 = sns
120

f 2 = sf1 (7.33)
ความถี่ของวงจรโรเตอร์ ( f 2 ) จะเรี ยกว่าความถี่สลิป (slip frequency) แรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา
ในวงจรโรเตอร์ ที่คา่ สลิป s จะมีคา่ ดังนี ้
E 2 s = 4.44 f 2 N 2 Φ p K w 2

E 2 s = 4.44 sf1 N 2 Φ p K w 2

E2 s = sE2 (7.34)
# In owfnnoslinn.gs
Hn )
no woiounnm
,
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 133

โดยที่ E2 คือแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําในวงจรโรเตอร์ ขณะที่โรเตอร์ หยุดนิ่งซึง่ มีความถี่ไฟฟ้าเท่ากับ


ทางด้ านสเตเตอร์ ( f1 )
กระแสเหนี่ยวนําในขดลวดโรเตอร์ สามเฟสจะสร้ างสนามแม่เหล็กหมุนเช่นเดียวกับในขดลวดส
เตเตอร์ ซึง่ มีความเร็วรอบเท่ากับ n2 เทียบกับโรเตอร์ มีสมการดังนี ้
120 f 2 for = Sfi
n2 =
p
120sf1
I
=
p
hs = 120 f
n2 = sns ← To (7.35)
เนื่องจากตัวโรเตอร์ เองหมุนด้ วยความเร็ วรอบ n rpm ดังนันสนามแม่้ เหล็กหมุนของโรเตอร์ จะ
หมุนไปด้ วยความเร็ วเท่ากับ n + n2 = (1 − s)ns + sns = ns rpm สนามแม่เหล็กหมุนใน สเตเตอร์
กับสนามแม่เหล็กหมุนเหนี่ยวนําในโรเตอร์ จะหมุนไปด้ วยความเร็ วเท่ากันซึ่งเป็ นความเร็ วซิงโครนัส
สนามแม่เหล็กทัง้ สองเมื่อเที ยบความเร็ วซึ่งกันและกันเปรี ยบเสมือนกับหยุดนิ่ง จะมีแรงกระทําขึน้
ระหว่างสนามแม่เหล็กทังสองทํ ้ าให้ เกิดแรงบิดขึ ้นในระบบ สนามแม่เหล็กทังสองพยายามที
้ ่จะดึงดูดซึง่
กั น และกั น เพื่ อ ให้ อี ก ฝ่ ายหนึ่ ง เข้ ามาอยู่ ใ นแนวสนามแม่ เ หล็ ก เดี ย วกั น เมื่ อ มองดู จ ะเห็ น ว่ า
สนามแม่ เ หล็ ก หมุ น ในสเตเตอร์ จะหมุ น นํ า หน้ าสนามแม่ เ หล็ ก หมุ น ในโรเตอร์ และฉุ ด ลาก
สนามแม่เหล็กหมุนในโรเตอร์ ให้ ไปด้ วยกัน
ตัวอย่ างที่ 7.1 f ,

เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําชนิด 4 poles 3φ 460 V 100 hp 60 Hz ทํางานที่จดุ เอาต์พตุ เต็มพิกดั


-

โดยมีคา่ สลิปเท่ากับ 0.05 จงคํานวณหา


ก.) ความเร็ วซิงโครนัสและความเร็วของมอเตอร์
ข.) ความเร็วรอบของสนามแม่เหล็กหมุนในช่องอากาศ
ค.) ความถี่ของวงจรโรเตอร์
ง.) ความเร็วสลิปในหน่วย rpm
จ.) ความเร็ วสนามแม่เหล็กหมุนของโรเตอร์ โดยสัมพัทธ์กบั
จ7.) โครงสร้ างโรเตอร์
จ2.) โครงสร้ างสเตเตอร์
จ3.) สนามแม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์
ฉ.) แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในโรเตอร์ ที่ความเร็วรอบของการทํางาน ถ้ าสัดส่วนจํานวนรอบ
สเตเตอร์ ตอ่ โรเตอร์ เท่ากับ 1:0.5
nonworking turn

I
'

Ahs
.

134 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

Wnz=sn
"
" ' Md
วิธีแก้ ปัญหา maidenhood
NOIMOI ,

f
120 f 120 × 60
ก.) ns = = = 1800
H
rpm ns
p 4 -

%
-

I
> →

he
n = (1 − s)ns = (1 − 0.05)1800 = 1710 rpm

In
-
# g.) I n :
Ns -

ข.) ความเร็ วเท่ากับความเร็ วซิงโครนัส = 1800 rpm .


ns -

sns

n
.
-

4Sth
-

ค.) niiwnvosfoinoo f 2 = sf1 = 0.05 × 60 = 3 Hz


-

*
M2

ง.) ความเร็ วสลิปในหน่วย rpm Nz= sns


-
= 0.05 × 1800 = 90 -
*
rpm

จ.) ความเร็ วสนามแม่เหล็กหมุนของโรเตอร์ เทียบกับ


จ7.) โครงสร้ างโรเตอร์ = 90 rpm
จ2.) โครงสร้ างสเตเตอร์ = 1800 rpm
จ3.) สนามแม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์ = 0 rpm

ฉ.) สมมติวา่ แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในขดลวดสเตเตอร์ มีคา่ เท่ากับแหล่งจ่าย จะได้ วา่

FEI
N Ee
¥f= In
-


-

E2s = sE 2 = s 2 E1
N1 ,

460
E2 s = 0.05 × 0.5 ×
3

E 2 s = 6.64 V/phase

7.5 แบบวิธีการทํางาน
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําสามารถทํางานได้ สามแบบวิธีด้วยกัน คือ แบบมอเตอร์ แบบเจนเนอเรเตอร์
และแบบปลัก๊ กิ ้ง (plugging) สามารถศึกษาได้ ด้วยการต่อเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําเข้ ากับเครื่ องจักรกล
ไฟฟ้ากระแสตรงดังรูปที่ 7.8a และพิจารณาแต่ละแบบวิธีดงั นี ้

7.5.1 แบบมอเตอร์
ถ้ าขัวของสเตเตอร์
้ ต่อเข้ ากับแหล่งจ่ายไฟสามเฟส โรเตอร์ จะหมุนไปทางเดียวกันกับสนาม
แม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์ ซึง่ เป็ นการทํางานแบบปกติทวั่ ไป คือทํางานแบบมอเตอร์ ความเร็ วรอบใน
ภาวะอยูต่ วั n จะตํ่ากว่าความเร็วซิงโครนัส ns ดังแสดงในรูปที่ 7.8b
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 135

+
DC
-

เครื่ องจักรกล
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา
ไฟฟ้ ากระแสตรง
(a)
ns ns ns

n n n
(b) การทํางาน (c) การทํางาน (d) การทํางาน
แบบมอเตอร์ แบบเจนเนอเรเตอร์ แบบปลัก๊ กิ้ง
0 ≤ n ≤ n
s
n > ns Sifu ou n <0
1≥ s ≥ 0 s<0 s >1

2 1 0 -1 s
-ns ns 2ns n

แบบปลัก๊ กิ้ง แบบมอเตอร์ แบบเจนเนอเรเตอร์


(e)
รูปที่ 7.8 การทํางานสามรูปแบบของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา

7.5.2 แบบเจนเนอเรเตอร์
ถ้ าปรับความเร็ วรอบของมอเตอร์ กระแสตรงให้ สงู กว่าความเร็ วซิงโครนัส และระบบยังหมุนอยูใ่ น
ทิศทางเดียวกันกับสนามแม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์ ดังแสดงในรูปที่ 7.8c เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําจะสร้ าง
แรงบิดในทิศทางตรงกันข้ ามกับทิศทางการหมุนของโรเตอร์ หรื อกระทําในทิศทางตรงข้ ามกับทิศทางการ
หมุนของสนามแม่เหล็กหมุนในสเตเตอร์ แบบวิธีการทํางานเป็ นเจนเนอเรเตอร์ นี ้จะใช้ ในงานประยุกต์
136 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

บางอย่างที่เกี่ยวกับการขับเคลือ่ น เพื่อสร้ าง การเบรกแบบพลังงานกลับคืน (regenerative braking)


ตัวอย่างเช่น เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําได้ รับแรงดันจากแหล่งจ่ายที่ปรับเปลีย่ นความถี่ได้ เพื่อใช้ ควบคุม
ความเร็ วของระบบขับเคลือ่ น ในการหยุดระบบขับเคลือ่ นนันจะค่ ้ อย ๆ ลดความถี่ของแหล่งจ่ายไฟ ใน
ระหว่างกระบวนการนัน้ ความเร็ วของระบบขับเคลือ่ นจะสูงกว่าความเร็ วซิงโครนัสเนื่องจากความเฉื่อย
ของระบบ ผลคือ เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําจะทําหน้ าที่เป็ นเจนเนอเรเตอร์ จ่ายกําลังไฟฟ้ากลับคืน
พลังงานจลน์ในระบบขับเคลื่อนจะป้อนกลับไปยังแหล่งจ่ายไฟ กระบวนการนี ้เรี ยกว่า การเบรกแบบ
พลังงานกลับคื น

7.5.3 แบบปลั๊กกิง้
ถ้ ามีการปรับมอเตอร์ กระแสตรงในรูปที่ 7.8a จนระบบหมุนในทิศทางตรงข้ ามกับทิศทาง การ
หมุนของสนามแม่เหล็กหมุนในสเตเตอร์ ดังรูปที่ 7.8d แรงบิดยังคงมีทิศทางเดียวกับสนาม แม่เหล็ก
หมุนแต่จะมีทิศทางตรงข้ ามกับการหมุนของโรเตอร์ แรงบิดนี ้จะเรี ยกว่า breaking torque
การทํางานในแบบวิธีนี ้ จะประยุกต์เกี่ยวกับระบบขับเคลือ่ นที่ต้องการหยุดมอเตอร์ แบบ
ทันทีทนั ใด สมมติวา่ มอเตอร์ เหนี่ยวนํากําลังหมุนอยูท่ ี่ความเร็ วรอบภาวะคงตัว ถ้ าลําดับเฟสถูกเปลีย่ น
ทันทีทนั ใดโดยการสลับสายไฟที่ปอ้ นเข้ าสเตเตอร์ คใู่ ดคูห่ นึง่ สนามแม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์ จะหมุน
กลับทิศ เป็ นทิศตรงข้ ามกับทิศทางการหมุนของโรเตอร์ การทํางานลักษณะนี ้เรี ยกว่าการทํางานแบบ
ปลัก๊ กิ้ ง ความเร็ วมอเตอร์ จะลดลงเป็ นศูนย์อย่างรวดเร็ว ถ้ ายังไม่ปลดแหล่งจ่ายไฟออกมอเตอร์ จะมีอตั รา
เร่งความเร็วขึ ้นในทิศทางตรงข้ าม
รูปแบบการทํางาน และเส้ นคุณลักษณะการทํางาน ของแรงบิดกับความเร็ วที่ความเร็ วหลายค่า
ของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําทังสามแบบได้
้ แสดงไว้ ในรูปที่ 7.8e

7.6 แบบจําลองวงจรสมมูลของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา


ในหัวข้ อนี ้จะจําลองวงจรสมมูลต่อเฟสในภาวะอยู่ตวั ขึ ้นมาเพื่อใช้ ศึกษาและวิเคราะห์คณุ สมบัติ
ของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา
เพื่อความสะดวกในการจําลอง จะพิจารณาจากเครื่ องจักรกล 3 เฟส ชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวดดัง
แสดงในรูปที่ 7.9 และชนิดโรเตอร์ กรงกระรอก วงจรโรเตอร์ สามารถเขียนแทนได้ ด้วยชุดขดลวดสมมูล
สามเฟสได้ เช่นกัน ถ้ ามีกระแสไหลทังในชุ ้ ดขดลวดสเตเตอร์ และชุดขดลวดโรเตอร์ จะเกิดสนามแม่เหล็ก
หมุนในช่องอากาศของทังสองชุ ้ ดขดลวด และเนื่องจากสนามแม่เหล็กหมุนทังสองหมุ ้ นไปด้ วยความเร็ ว
ซิงโครนัสเหมือนกัน ดังนันจะเกิ้ ดเป็ นผลลัพธ์สนามแม่เหล็กหมุนที่หมุนไปด้ วยความเร็ วซิงโครนัสเช่นกัน
ผลลัพธ์สนามแม่เหล็กหมุนนี ้จะเหนี่ยวนําให้ เกิดแรงเคลือ่ นไฟฟ้าขึ ้นในชุดขดลวดสเตเตอร์ ด้วยความถี่ f1
และชุดขดลวดโรเตอร์ ด้วยความถี่ f2 วงจรสมมูลที่ได้ จะเหมือนกับวงจรสมมูลของหม้ อแปลง
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 137
pinkri on w Y
%

[
=
stator
รูปที่ 7.9 มอเตอร์ เหนี่ยวนําสามเฟส ชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวด

rotor

R2 R2
s R2 s
(1 − s )
s

stator rotor

2
R2′ a R2
=
R2′ s s
(1 − s )
s

↳ in Dow bosom A
รูปที่ 7.10 พัฒนาการของวงจรสมมูลของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา

7.6.1 ชุดขดลวดสเตเตอร์
ชุดขดลวดสเตเตอร์ สามารถเขียนเป็ นวงจรสมมูลแสดงได้ ดงั รูปที่ 7.10a โดยที่
V1 = แรงดันที่ขวต่
ั ้ อเฟส
R1 = ความต้ านทานในชุดขดลวดสเตเตอร์ ตอ ่ เฟส
L1 = ความเหนี่ยวนําเนื่องจากฟลัก๊ รั่วในชุดขดลวดสเตเตอร์ ตอ่ เฟส
138 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

E1 = แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในชุดขดลวดสเตเตอร์ ตอ
่ เฟส
Lm = ความเหนี่ยวนําเนื่องจากการกระตุ้นสนามแม่เหล็กในสเตเตอร์ ตอ่ เฟส
Rc = ความต้ านทานการสูญเสียกําลังในแกนเหล็กของสเตเตอร์ ตอ
่ เฟส
รูปแบบวงจรสมมูลด้ านสเตเตอร์ ของเครื่ องจักรกล จะเหมือนกับวงจรสมมูลด้ านปฐมภูมิของ
หม้ อแปลง จะแตกต่างกันเฉพาะขนาดของพารามิเตอร์ เท่านัน้ ตัวอย่างเช่น กระแสกระตุ้น Iφ ใน
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําจะมีคา่ มากกว่า เนื่องจากสนามแม่เหล็กเดินผ่านช่องอากาศ ค่า กระแสกระตุ้น
ในเครื่ องจักรกลจะมีคา่ ประมาณ 30 - 50% ของกระแสพิกดั โดยขึ ้นอยูก่ บั ขนาดของมอเตอร์ ส่วนใน
หม้ อแปลงนันค่ ้ ากระแสกระตุ้นจะมีคา่ ประมาณ 1-5% เท่านัน้ นอกจากนี ้รี แอกแตนซ์เนื่องจากฟลัก๊ รั่ว
X 1 ยังมีขนาดมากกว่า สาเหตุเนื่องจากมีชอ ่ งอากาศและชุดขดลวดกระจายอยูใ่ นร่องขดลวดไม่เป็ น
กลุม่ ขดลวดเหมือนหม้ อแปลงทําให้ X1 มีคา่ เพิ่มมากขึ ้นด้ วย

7.6.2 วงจรโรเตอร์
.

วงจรสมมูลของโรเตอร์ ที่คา่ สลิป s แสดงในรูปที่ 7.10b โดยที่


E2 = แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําในโรเตอร์ ขณะหยุดนิ่งต่อเฟส( ที่ความถี่สเตเตอร์ เท่ากับ f1 )
R2 = ความต้ านทานในโรเตอร์ ตอ ่ เฟส
L2 = ความเหนี่ยวนําเนื่องจากฟลัก๊ รั่วในโรเตอร์ ตอ
่ เฟส
วงจรที่แสดงเป็ นวงจรสมมูลที่ความถี่กระแสโรเตอร์ มีคา่ เท่ากับ f2 ดังนันกระแสที
้ ่ไหลใน
โรเตอร์ มีคา่ ดังนี ้
sE 2
I2 = (7.36)
R2 + jsX 2

กําลังไฟฟ้าที่จา่ ยให้ ขดลวดโรเตอร์ มีคา่ ดังนี ้


P2 = I 22 R2 (7.37)
เป็ นกําลังสูญเสียในขดลวดทองแดงต่อเฟส

สมการที่ 7.36 สามารถเขียนใหม่ได้ ดงั นี ้


E2
I2 = (7.38)
(R2 / s ) + jX 2
สมการที่ 7.38 เขียนเป็ นวงจรสมมูลได้ ดงั รูปที่ 7.10c แม้ วา่ สมการที่ 7.36 และสมการที่ 7.38
( รูปที่ 7.10b และรูปที่ 7.10c ) มีความแตกต่างของนิพจน์ในสมการ แต่ขนาดและมุมของกระแสยัง
เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 139

เหมือนเดิม กระแส I 2 ในสมการที่ 7.36 เป็ นกระแสที่ความถี่สลิป f 2 แต่กระแส I 2 ในสมการที่


7.38 เป็ นกระแสที่ความถี่ของแหล่งจ่าย f 1 ในสมการที่ 7.36 รี แอกแตนซ์เนื่องจากเส้ นแรงแม่เหล็ก
รั่ว sX 2 จะเปลีย่ นแปลงตามความเร็ วโดยที่ R2 มีคา่ คงที่ ส่วนในสมการที่ 7.38 ความต้ านทาน
R2 / s เปลี่ยนแปลงตามความเร็ ว ส่วนรี แอกแตนซ์ X 2 มีคา่ คงที่ กําลังไฟฟ้าต่อเฟสที่จา่ ยให้ กบ
ั วงจร
โรเตอร์ ในรูปที่ 7.10c มีคา่ ดังนี ้
R2 P2
P = I 22 = (7.39)
s s
เนื่ องจากเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําทํางานที่ ค่าสลิปน้ อย ๆ ซึ่งอยู่ระหว่าง 0.01-0.05 เมื่อ
พิจารณากําลังไฟฟ้าในรู ปที่ 7.10c จะเห็นว่ามีค่าสูง เนื่องจากวงจรสมมูลนี ้แสดงอยู่บนฐานของ
ความถี่สเตเตอร์ ดังนันวงจรสมมู
้ ลของโรเตอร์ นี ้เป็ นวงจรที่มองจากสเตเตอร์ ในสมการที่ 7.39 คือกําลัง
ที่ข้ามผ่านช่องอากาศซึง่ เป็ นกําลังที่ใช้ สร้ างกําลังกลรวมถึงกําลังสูญเสียในขดลวดทองแดงของโรเตอร์
ด้ วย เขียนสมการที่ 7.39 ใหม่ได้ ดงั นี ้
⎡ R ⎤
P = Pag = I 22 ⎢ R2 + 2 (1 − s ) ⎥ (7.40)
⎣ s ⎦
R2
Pag = I 22 (7.40a)
s
วงจรสมมูลที่สอดคล้ องกับสมการที่ 7.40 แสดงดังรูปที่ 7.10d ความต้ านทานที่เปลี่ยน แปลง
ตามความเร็ วคือ R2 (1 − s) / s จะเป็ นส่วนที่แสดงแทนกําลังกลที่เครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําสร้ างขึ ้นมา
R2
ดังนัน้ Pmech = I 22 (1 − s )
s

Pmech = (1 − s ) Pag (7.41)


1− s
Pmech = P2 (7.42)
s
และ P2 = I 22 R2 = sPag (7.43)

ดังนัน้ Pag : P2 : Pmech = 1 : s : 1 − s (7.44)

สมการที่ 7.44 ชี ้ให้ เห็นว่ากําลังอินพุตทังหมดที


้ ่จา่ ยให้ กบั โรเตอร์ คือกําลังที่ข้ามผ่านช่อง
อากาศ Pag ส่วนหนึง่ จะจ่ายให้ กบั กําลังสูญเสียเนื่องจากความต้ านทานของขดลวดทองแดงในโรเตอร์
ด้ วยสัดส่วน s และอีกส่วนหนึง่ จะเปลีย่ นเป็ นกําลังกลด้ วยสัดส่วน 1 - s ดังนันเครื
้ ่ องจักรกลเหนี่ยวนํา
จะต้ องทํางานที่คา่ สลิปน้ อย ๆ เพื่อจะได้ มีประสิทธิภาพสูง กําลังไฟฟ้าที่ผา่ นช่องอากาศจะเปลีย่ นเป็ น
140 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

กําลังกลได้ มากกว่า กําลังกลที่ได้ สว่ นหนึง่ จะสูญเสียไปเพื่อเอาชนะแรงลมต้ านและแรงเสียดทาน


กําลังสุดท้ ายที่ได้ จะเป็ นกําลังขับเพลา

7.6.3 วงจรสมมูลที่มีรูปแบบสมบูรณ์
วงจรสมมูลของสเตเตอร์ ในรูปที่ 7.10a กับวงจรสมมูลของโรเตอร์ ในรูปที่ 7.10c หรื อรูปที่
7.10d ซึง่ มีความถี่กระแสเหมือนแหล่งจ่าย ( f1 ) สามารถนํามาต่อเข้ าเป็ นวงจรชุดเดียวกันได้ E1 และ
E2 อาจมีคา่ แตกต่างกันถ้ าจํานวนรอบขดลวดในสเตเตอร์ กบ ั จํานวนรอบขดลวดในโรเตอร์ ไม่เท่ากัน
จึงใช้ สดั ส่วนจํานวนรอบ(a = N1/N2) เข้ ามาพิจารณาด้ วย ดังแสดงไว้ ในรูปที่ 7.10e เมื่อสังเกตรูปแบบ
วงจรสมมูลที่ได้ จะเห็นว่าเหมือนกับวงจรสมมูลหม้ อแปลงชนิดสองขดลวดทุกประการ
Not Mob
ตัวอย่ างที่ 7.2 Agamid

มอเตอร์ เหนี่ยวนําชนิดสามเฟส ขนาด 15 hp 460 V 4 poles 60 Hz 1728 rpm เพลาได้ ขบั


โหลดเต็มที่ กําลังสูญเสียเนื่องจากแรงลมต้ านและแรงเสียดทานมีคา่ เท่ากับ 750 W จงคํานวณหา
ก.) กําลังกลที่สร้ างได้
ข.) กําลังไฟฟ้าในช่องอากาศ Pmeoh → → Bout
ค.) กําลังสูญเสียในขดลวดโรเตอร์
วิธีแก้ ปัญหา
t
ก.) กําลังเพลาที่ขบั โหลดเต็มที่ = 15 × 746 = 11,190 W Pfric t P
windage
กําลังกลที่สร้ างได้ = กําลังเพลา + กําลังสูญเสียจากแรงลมต้ านและแรงเสียดทาน
= 11,190 + 750 = 11O
,940 W
120 × 60
ข.) ความเร็ วซิงโครนัส ng INI nS -
-

= = 1800 rpm
4
P
1800 − 1728
สลิป
ns s= = 0.04
S -
-

1800
11p,940
กําลังไฟฟ้าในช่องอากาศ Pag = = 12,437.5 W
Pag
-
-

I 1 − 0.04
1- s

ค.) กําลังสูญเสียในขดลวดโรเตอร์ P2 = 0.04 × 12,437.5

Pius
Pag P2 = 497.5 W
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 141

7.6.4 วงจรสมมูลรูปแบบต่ าง ๆ
วงจรสมมูลในรูปที่ 7.10e ไม่เหมาะที่จะใช้ ทํานายสมรรถนะการทํางานของเครื่ องจักรกล
เหนี่ยวนําเพราะยุง่ ยากเกินไป จึงมีการดัดแปลงรูปแบบให้ งา่ ยขึ ้น ดังที่จะได้ เสนอต่อไป

วงจรสมมูลโดยประมาณ
ถ้ าแรงดันตกคร่อม R1 และ X 1 มีคา่ น้ อย และแรงดันขัว้ V1 ไม่ได้ แตกต่างจากแรง
เคลื่อนเหนี่ยวนํา E1 มากนัก สามารถที่จะเลื่อนวงจรขนาน ( Rc และ X m ) ให้ ไปอยูต่ รงขัวของวงจร

สมมูลได้ ดงั รูปที่ 7.11a วงจรสมมูลโดยประมาณที่ได้ ทําให้ การคํานวณง่ายขึ ้น กระแสกระตุ้น I φ กับ
กระแสโหลด I 2′ สามารถหาได้ โดยตรงจากแรงดันขัว้ V1 หารด้ วยค่าอิมพีแดนซ์ที่เกี่ยวข้ อง

X 2' X2'

I2' I2'

R2′ R2′
s s

รูปที่ 7.11 วงจรสมมูลโดยประมาณ

ถ้ าเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนําต่ออยูก่ บั แหล่งจ่ายที่มีแรงดันและความถี่คงที่ กําลังสูญเสียในแกน


เหล็กของสเตเตอร์ จะมีคา่ คงที่ด้วย ที่ภาวะไร้ โหลด เครื่ องจักรกลมีความเร็ วรอบใกล้ เคียงความเร็ ว
ซิงโครนัสมาก ความถี่ไฟฟ้าของโรเตอร์ f 2 จึงมีคา่ น้ อยมาก ทําให้ กําลังสูญเสียในแกนเหล็กของโรเตอร์ มี
ค่าน้ อยมากด้ วย ที่ความเร็วรอบตํ่ากว่านี ้ f 2 จะมีคา่ เพิ่มขึ ้น กําลังสูญเสียในแกนเหล็กของโรเตอร์ จะ
เพิ่มขึ ้นด้ วย ชี ้ให้ เห็นว่าเมื่อความเร็ วรอบของมอเตอร์ ลดลง กําลังสูญเสียในแกนเหล็กจะมีคา่ เพิ่มขึ ้น ซึง่
พฤติกรรมนี ้จะตรงข้ ามกับกําลังสูญเสียเนื่องจากแรงลมต้ านและแรงเสียดทาน เพราะที่ภาวะไร้ โหลดกําลัง
สูญเสียเนื่องจากแรงลมต้ านและแรงเสียดทานจะมีคา่ สูงสุดและลดลงเมื่อความเร็ วรอบลดลง สรุปว่า ถ้ า
เครื่ องจักรกลทํางานโดยได้ รับแรงดันจากแหล่งจ่ายที่มีขนาดแรงดันและความถี่คงที่ แม้ วา่ ความเร็ วรอบจะ
เปลีย่ นแปลงไป แต่ผลรวมกําลังสูญเสียในแกนเหล็กกับกําลังสูญเสียเนื่องจากแรงลมต้ านและแรงเสียด
ทานยังคงมีคา่ คงเดิม รวมเรี ยกกําลังสูญเสียนี ้ว่า กําลังสูญเสียเนือ่ งจากการหมุน (no load rotational
losses)ของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา ถ้ ากําลังสูญเสียในแกนเหล็กรวมไว้ กบั กําลังสูญเสียเนื่องจากแรงลม
ต้ านและแรงเสียดทานแล้ ว Rc ในวงจรสมมูลสามารถตัดออกได้ ดังแสดงในวงจรรูปที่ 7.11b
142 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

วงจรสมมูลตามที่ IEEE แนะนํา


เนื่องจากเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํามีช่องอากาศระหว่างสเตเตอร์ และโรเตอร์ ทําให้ กระแสกระตุ้น
สนามแม่เหล็ก I φ มีคา่ สูงซึง่ อยูใ่ นช่วง 30-50% ของกระแสเต็มพิกดั และทําให้ รีแอกแตนซ์เนื่องจาก
เส้ นแรงแม่เหล็กรั่ว X 1 มีคา่ สูงด้ วย เพื่อความเหมาะสม IEEE ได้ แนะนําว่า X m ไม่ควรย้ ายออกไป
อยูท่ ี่ขวของแรงดั
ั้ น ควรนํามาไว้ ในตําแหน่งเดิมดังรูปที่ 7.12 ความเหมาะสมของวงจรสมมูลนี ้ คือ
แรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา E1 จะมีขนาดแตกต่างจากแรงดันขัว้ V1 เนื่องจากผลของแรงดันตกคร่อมใน X 1
มีนยั สําคัญ

I2' X 2'

R2′
s

รูปที่ 7.12 วงจรสมมูลตามที่ IEEE แนะนํา

7.6.5 วงจรสมมูลเทเวนิน
เพื่อให้ การคํานวณทําได้ สะดวกขึ ้น จึงดัดแปลงวงจรให้ เป็ นวงจรเทเวนิน ดังแสดงในรูปที่ 7.13 โดย
แปลง V1 , R1 , X 1 และ X m ให้ เป็ น Vth , Rth และ X th โดยที่
Xm
Vth = V1 (7.45)
[R2
1 + ( X1 + X m )2 ]1/ 2

I2' X2'
R2′
s

รูปที่ 7.13 วงจรสมมูลเทเวนิน

โดยทัว่ ไปแล้ ว R12 << ( X 1 + X m ) , แรงดันเทเวนินสามารถหาใหม่ได้ ดงั นี ้


2
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 143

Xm
Vth ≈ V1 (7.45a)
X1 + X m

Vth = K thV1 (7.45b)

อิมพีแดนซ์ของวงจรเทเวนินมีคา่ เท่ากับ
jX m (R1 + jX 1 )
Z th =
R1 + j ( X 1 + X m )

Z th = Rth + jX th

2
⎛ Xm ⎞
ถ้ า R << ( X 1 + X m ) แล้ ว Rth ≈ ⎜⎜ ⎟⎟ R1 (7.46)
2 2
1
⎝ X1 + X m ⎠

Rth = K th2 R1 (7.46a)


และเนื่องจาก X 1 << X m
X th ≈ X 1 (7.47)

7.7 วงจรสมมูลทีม่ พี ารามิเตอร์ ทไี่ ด้ จากการทดสอบภาวะไร้ โหลด


และภาวะโรเตอร์ หยุดหมุน
พารามิเตอร์ ของวงจรสมมูลคือ Rc , R1 , R2 , X 1 , X 2 และ X m สามารถหาได้ จากการทดสอบ
ภาวะไร้ โหลด ภาวะหยุดการหมุนโรเตอร์ และวัดค่าความต้ านทานกระแสตรงของขดลวด สเตเตอร์ การ
ทดสอบภาวะไร้ โหลดของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา เหมือนกับการทดสอบวงจรเปิ ดของหม้ อแปลงไฟฟ้า จะ
ได้ ข้อมูลของกระแสกระตุ้นและกําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุน วิธีการทดสอบทําได้ โดยการป้อนแรงดัน
สมดุลชนิดสามเฟสที่มีความถี่ไฟฟ้าตามพิกดั กําหนดเข้ าที่ชดุ ขดลวดสเตเตอร์ และให้ โรเตอร์ หมุนอย่าง
อิสระโดยไม่ตอ่ กับโหลดทางกลใด ๆ จะมีกําลังสูญเสียเกิดขึ ้นเล็กน้ อยในเครื่ องจักรกลซึง่ ก็คือ กําลัง
สูญเสียในแกนเหล็กรวมกับกําลังสูญเสียแรงลมต้ านกับแรงเสียดทาน กําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุนใน
ภาวะโหลดต่าง ๆ จะมีคา่ เท่ากับที่ภาวะไร้ โหลด ถ้ าเครื่ องจักรกลทํางานภายใต้ พิกดั แรงดันและพิกดั
ความถี่คงที่
การทดสอบภาวะโรเตอร์ หยุดหมุนเหมือนกับการทดสอบวงจรลัดของหม้ อแปลงไฟฟ้า จะได้
ข้ อมูลเกี่ยวกับอิมพีแดนซ์ของเครื่ องจักรกล วิธีการทดสอบทําได้ โดยบังคับโรเตอร์ ของเครื่ องจักรกลไม่ให้
หมุนแล้ วป้อนแรงดันสมดุลชนิดสามเฟสที่มีความถี่ไฟฟ้าตามพิกดั กําหนดเข้ าที่ชดุ ขดลวดสเตเตอร์ การ
ทดสอบหยุดการหมุนของโรเตอร์ นี ้ จะต้ องกระทําให้ ได้ ขนาดกระแสและความถี่โรเตอร์ อยูภ่ ายใต้ เงื่อนไข
144 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

เดียวกันกับภาวะทํางานปกติ เช่น ถ้ าต้ องการคุณลักษณะการทํางานของเครื่ องจักรกลในภาวะสลิป


น้ อย ๆ อย่างถูกต้ อง การทดสอบโรเตอร์ หยุดหมุนจะต้ องกระทําโดยลดแรงดันลงมาและให้ ได้ กระแสเต็ม
พิกดั ความถี่ที่ทดสอบต้ องลดลงมาด้ วยเพื่อให้ สอดคล้ องกับค่าที่สลิปน้ อย ๆ เพราะค่าความต้ านทานและ
ค่าเหนี่ยวนํายังผลที่ความถี่สลิปจะแตกต่างจากค่าที่ความถี่พิกดั การทดสอบลักษณะนี ้จะมีผลมาก
สําหรับมอเตอร์ ที่มีโรเตอร์ เป็ นแบบกรงคู่ แบบแท่งลึก และมอเตอร์ ที่มีกําลังสูง
IEEE แนะนําว่า ให้ ใช้ ความถี่ทดสอบที่ 25% ของความถี่พิกดั ของการทดสอบภาวะโรเตอร์ หยุด
หมุน ค่ารี แอกแตนซ์ที่ความถี่พิกดั สามารถหาได้ โดยการเทียบสัดส่วน เพราะค่ารี แอกแตนซ์จะแปรผัน
โดยตรงกับความถี่ อย่างไรก็ตามสําหรับมอเตอร์ ที่มีขนาดพิกดั ตํ่ากว่า 20 hp ผลของความถี่สามารถ
ละเลยได้ ให้ หาค่าที่ความถี่พิกดั ได้
ตัวอย่างที่ 7.3 จะแสดงถึงวิธีการหาพารามิเตอร์ ตา่ ง ๆ ของวงจรสมมูลจากวิธีการทดสอบที่ได้
กล่าวไว้ ในหัวข้ อนี ้

ตัวอย่ างที่ 7.3


ข้ อมูลการทดสอบที่ได้ จากมอเตอร์ เหนี่ยวนํากรงกระรอกชนิด 3φ 60 hp 2200 V 6 poles 60 Hz
มีดงั นี ้
1.) การทดสอบภาวะไร้ โหลด
ความถี่จากแหล่งจ่าย = 60 Hz
แรงดันไลน์ = 2200 V
กระแสไลน์ = 4.5 A
กําลังอินพุตที่จ่ายเข้ า = 1600 W
2.) การทดสอบภาวะโรเตอร์ หยุดหมุน
ความถี่ = 15 Hz
แรงดันไลน์ = 270 V
กระแสไลน์ = 25 A
กําลังอินพุตที่จ่ายเข้ า = 9000 W
3.) ค่าความต้ านทานเฉลีย่ ต่อเฟสของสเตเตอร์ R1 = 2.8 Ω
ก.) คํานวณหากําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุน
ข.) หาพารามิเตอร์ ของวงจรตามที่ IEEE แนะนํา ซึง่ มีวงจรสมมูลตามรูปที่ 7.12
ค.) หาพารามิเตอร์ ของวงจรตามแบบเทเวนิน ซึง่ มีวงจรสมมูลตามรูปที่ 7.13
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 145

รูปที่ E7.3 วงจรสมมูลซึง่ พิจารณาจากรูปที่ 7.12


วิธีแก้ ปัญหา
ก.) จากข้ อมูลทดสอบภาวะไร้ โหลด กําลังสูญเสียขณะไร้ โหลดมีคา่ เท่ากับ
PNL = 1600 W
กําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุนมีคา่ เท่ากับ
PRot = PNL − 3 I 12 R1

= 1600 − 3 × 4.5 2 × 2.8


PRot = 1429.9 W

ข.) จากวงจรสมมูลตามข้ อแนะนําของ IEEE ในภาวะไร้ โหลด R2′ / s มีคา่ สูงมาก พิจารณา
วงจรสมมูลรูปที่ 7.14 จะเห็นว่า X m ต่อขนานอยูก่ บั ความต้ านทานโรเตอร์ ที่มีคา่ สูงมาก รี แอกแตนซ์
ในวงจรขนานนี ้จึงมีคา่ เกือบเท่ากับ X m ดังนัน้ รี แอกแตนซ์ทงหมดของวงจรจะมี
ั้ คา่ เท่ากับ
X NL = X 1 + X m วงจรสมมูลขณะไร้ โหลดแสดงไว้ ในรู ปที่ E7.3a

2200
V1 = = 1270.2 V/phase
3
146 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

อิมพีแดนซ์ขณะไร้ โหลดมีคา่ เท่ากับ


V1 1270 .2
Z NL = = = 282 .27 Ω
I1 4 .5

ความต้ านทานขณะไร้ โหลดมีคา่ เท่ากับ


PNL 1600
R NL = 2
= = 26.34 Ω
3I1 3 × 4 .5 2

รี แอกแตนซ์ขณะไร้ โหลดมีคา่ เท่ากับ


2 2 1/ 2
X NL = ( Z NL − RNL )

(
= 282.27 2 − 26.34 2 )
1/ 2

X NL = 281.0 Ω

ดังนัน้ X 1 + X m = X NL = 281.0 Ω

สําหรับการทดสอบภาวะโรเตอร์ หยุดหมุน สลิปจะมีคา่ เท่ากับ 1 พิจารณาวงจรสมมูลในรูปที่


7.14 จะเห็นว่า X m ต่อขนานอยูก่ บั อิมพีแดนซ์ jX 2′ + R2′ ซึง่ มีคา่ ตํ่า เนื่องจาก X m >> R2′ + jX 2′
สามารถตัด X m ออกจากวงจรได้ วงจรสมมูลจะลดรูปดังแสดงในรูปที่ E7.3b ในภาวะโรเตอร์ หยุด
หมุน จะมีคา่ ความต้ านทานดังนี ้
PBL
R BL = ( BL = Blocked Rotor )
3I 12

RBL = 4.8 Ω

จะได้ R2′ = RBL − R1 = 4.8 − 2.8 = 2 Ω

อิมพีแดนซ์ที่ความถี่ 15 Hz เมื่อโรเตอร์ ไม่หมุนมีคา่ เท่ากับ


V1 270
Z BL = = = 6.24 Ω
I1 3 × 25

รี แอกแตนซ์ที่ความถี่ 15 Hz เมื่อโรเตอร์ ไม่หมุน มีคา่ ดังนี ้

(
X BL = 6.242 − 4.82 )
1/ 2

X BL = 3.98 Ω

รี แอกแตนซ์ที่ความถี่ 60 Hz มีคา่ ดังนี ้


เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 147

60
X BL = 3.98 × = 15.92 Ω
15
X BL ≈ X 1 + X 2′
ดังนัน้
15.92
X 1 = X 2′ = = 7.96 Ω ที่ 60 Hz
2
\

X m = 281.0 − 7.96 = 273.04 Ω

ข้ อสังเกต ความต้ านทานสมมูลของโรเตอร์ R2′ มีบทบาทสําคัญในเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา IEEE จึงให้


คํานวณ R2′ ด้ วยเพื่อให้ คณ
ุ ลักษณะที่ได้ มีความถูกต้ องมากขึ ้น โดยที่ความต้ านทานหยุดหมุน RBL
เป็ นผลรวมของ R1 กับความต้ านทานสมมูลสมมติวา่ เท่ากับ R ซึง่ เป็ นความต้ านทานของเทอม
R2′ + jX 2′ ขนานกับ X m ดังแสดงในรู ปที่ E7.3c จะมีคา่ ดังนี ้

X m2
R= R2′
R2′ 2 + ( X 2′ + X m )2

โดยทัว่ ไป X 2′ + X m >> R2′ ดังนันจะได้


้ วา่
2
⎛ Xm ⎞
R ≈ ⎜⎜ ⎟⎟ R2′
⎝ X 2′ + X m ⎠
2
⎛ X′ + Xm ⎞
หรื อ R2′ = ⎜⎜ 2 ⎟⎟ R
⎝ Xm ⎠

และจาก R = RBL − R1 = 4.8 − 2.8 = 2 Ω จะได้


2
⎛ 7.96 + 273.04 ⎞
R2′ = ⎜ ⎟ × 2 = 2.12 Ω
⎝ 273.04 ⎠

ค.)
273.04
จากสมการ 7.45 Vth ≈ V1
7.96 + 273.04

Vth = 0.97V1

จากสมการ 7.46a Rth ≈ 0.97 2 R1 = 0.97 2 × 2.8 = 2.63 Ω

จากสมการ 7.47 X th ≈ X 1 = 7.96 Ω


148 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

7.8 คุณลักษณะการทํางานของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา


วงจรสมมู ล ที่ ไ ด้ มาจากหั ว ข้ อที่ แ ล้ วสามารถใช้ พยากรณ์ คุ ณ ลัก ษณะการทํ า งานของ
เครื่ องจักรกลเหนี่ ยวนําได้ คุณลักษณะที่สําคัญในภาวะอยู่ตวั คือ ประสิทธิ ภาพ ตัวประกอบกํ าลัง
กระแส แรงบิดสตาร์ ต แรงบิดสูงสุดหรื อแรงบิดดึงออก ( pull out ) เป็ นต้ น
แรงบิดทางกลต่อเฟสที่สร้ างขึ ้นมีคา่ ดังนี ้
R2
Pmech = Tmechω mech = I 22 (1 − s ) (7.48)
s
2πn
โดยที่ ωmech = (7.48a)
60
ความเร็วเชิงกลมีความสัมพันธ์กบั ความเร็ วซิงโครนัสดังนี ้
ω mech = (1 − s )ω syn (7.49)
nsyn
= 2π (1 − s )
60
120 f 4πf1
และ ω syn = × 2π = (7.50)
p60 p

จากสมการ 7.48 7.49 และ 7.40a


R2
Tmechω syn = I 22 = Pag (7.51)
s
1
Tmech = Pag (7.52)
ω syn

1 R2
Tmech = I 22 (7.52a)
ω syn s

1 R2′
Tmech = I 2′ 2 (7.53)
ω syn s

จากวงจรสมมูลในรูปที่ 7.13 และสมการ 7.53


1 Vth2 R2′
Tmech = (7.54)
ω syn ( R + R ′ / s) + ( X + X ′ )
2 2
s
th 2 th 2

ถ้ าใช้ วงจรสมมูลโดยประมาณในรูปที่ 7.11 เป็ นวงจรวิเคราะห์หาค่า I 2′ แล้ ว ในสมการที่


7.54 ให้ แทน Vth Rth และ X th ด้ วย V1 R1 และ X 1 ตามลําดับ การพยากรณ์คณ ุ ลักษณะของ
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 149

เครื่ องจักรกลที่อ้างอิงอยูบ่ นฐานของวงจรสมมูลโดยประมาณในรูปที่ 7.11 จะมีคา่ แตกต่างจากวงจร


สมมูลในรูปที่ 7.12 หรื อรูปที่ 7.13 อยูป่ ระมาณ 5%
สําหรับเครื่ องจักรกลชนิด 3 เฟส ให้ นํา 3 คูณสมการที่ 7.54 จะได้ แรงบิดทังหมดที
้ ่เกิดขึ ้นใน
เครื่ องจักรกล คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็วได้ แสดงไว้ ในรูปที่ 7.14
ทีค่ ่าสลิ ปน้อย ๆ จะได้ค่าพารามิ เตอร์ ของความต้านทานดังนี ้
R2′ R2′
Rth + >> X th + X 2′ และ >> Rth
s s
1 Vth2
จะได้ วา่ Tmech ≈ s (7.55)
ω syn R2′

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับความเร็วรอบที่เป็ นเชิงเส้ นนันเกิ


้ ดขึ ้นใกล้ ๆ กับความเร็ วซิงโครนัสดังใน
รูปที่ 7.16
ทีค่ ่าสลิ ปมาก ๆ จะได้ค่าพารามิ เตอร์ ของความต้านทานดังนี ้
R2′
Rth + << X th + X 2′
s
จากสมการที่ 7.54 จะได้ ninh sink
is
d
D
1 Vth2 R2′ link
Tmech ≈ → (7.56)
ω syn ( X th + X 2′ ) 2
s

ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับความเร็วรอบจะแปรผกผันที่สลิปใกล้ ๆ s =1 ดังในรูปที่ 7.14

90#
ursine ' →
Breakdown tongue
" ↳
I That ) Pull out
tongue
Looked refer ←
µgdnmowrnVn
start ) !
(T f

too
*(
tongue Tt "
oonndlwdn I

I
I p

I TH )
!

I


Stmax hnl

Nfl

รูปที่ 7.14 คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็ วที่คา่ แรงดันต่าง ๆ กัน


150 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

ในสมการที่ 7.54 ยังบอกได้ วา่ ที่ความเร็ วเฉพาะค่าหนึง่ ( หรื อ s คงที่คา่ หนึง่ ) แรงบิดจะแปร
ผันกับแรงดันจากแหล่งจ่าย ( Vth หรื อ V1 ) ยกกําลังสอง ในรูปที่ 7.14 ได้ แสดงเส้ นคุณลักษณะของ
T − n ที่แรงดันจากแหล่งจ่ายขนาดต่าง ๆ กัน คุณสมบัตน ิ ี ้จะกล่าวถึงอีกครัง้ หนึง่ ในเรื่ องเกี่ยวกับการ
ควบคุมความเร็วโดยการเปลีย่ นแปลงแรงดันของสเตเตอร์
ในการหาแรงบิดสูงสุดทําได้ โดยการเซ็ตค่า dT / ds = 0 ดังนันจากสมการที ้ ่ 7.54 เมื่อทํา
อนุพนั ธ์เทียบกับสลิปแล้ วให้ เท่ากับศูนย์จะได้ เงื่อนไขที่ทําให้ ได้ แรงบิดสูงสุดดังนี ้
R2′
sT max
[
= Rth2 + ( X th + X 2′ ) 2 ]
1/ 2
(7.57)

สมการดังกล่าวข้ างต้ นเป็ นเงื่อนไขที่ได้ แรงบิดสูงสุดซึง่ สามารถหาจากวิธีอื่นได้ เช่นกัน คือจาก


เงื่อนไขเมื่อกําลังไฟฟ้าผ่านช่องอากาศมีคา่ สูงสุด ซึง่ เกิดขึ ้นเมื่ออิมพีแดนซ์ของวงจรเท่ากันพอดี
(matching) คือ R2′ / s มีขนาดเท่ากับอิมพีแดนซ์ที่อยูร่ ะหว่างตัวมันเองกับแหล่งจ่าย V1 ดังในวงจรที่
7.13 และแสดงเป็ นสมการได้ ดงั สมการที่ 7.57 สลิปที่แรงบิดสูงสุด sT max มีคา่ เท่ากับ
R2′
sT max = (7.58)
[R 2
th + ( X th + X 2′ ) 2 ]
1/ 2

จากสมการ 7.54 และ 7.58 หาค่าแรงบิดสูงสุดต่อเฟสได้ ดงั นี ้


1 Vth2
Tmax = (7.59)
th th [
2ω syn R + R 2 + ( X + X ′ ) 2
th 2 ]
1/ 2

ในสมการที่ 7.59 ได้ แสดงให้ เห็นว่าแรงบิดสูงสุดไม่เกี่ยวข้ องกับความต้ านทานของโรเตอร์ แต่


ในสมการที่ 7.58 นัน้ ความต้ านทานโรเตอร์ ( R2 ) จะเกี่ยวข้ องกับการความเร็วที่จดุ เกิดแรงบิดสูงสุด
กราฟคุณลักษณะระหว่างแรงบิดกับความเร็วที่คา่ ความต้ านทาน R2 ต่าง ๆ กันแสดงให้ เห็นดังรูปที่
7.15 มอเตอร์ เหนี่ยวนําชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวดสามารถต่อความต้ านทานภายนอกเพิม่ เข้ าไปใน
ขดลวดโรเตอร์ ได้ เพื่อให้ แรงบิดสูงสุดของมอเตอร์ เกิดขึ ้นตรงจุดที่หยุดนิ่งพอดี ทําให้ ได้ แรงบิดขณะ
สตาร์ ตมีคา่ สูงสุด เมื่อมอเตอร์ มีความเร็ วรอบเพิ่มขึ ้นจะค่อย ๆ ลดความต้ านทานภายนอกจนหมดให้
เหลือแต่ความต้ านทานของโรเตอร์ อย่างเดียว ในความเป็ นจริ งได้ มีการออกแบบมอเตอร์ เหนี่ยวนําบาง
แบบให้ มีแรงบิดสูงสุดเกิดขึ ้นขณะสตาร์ ตด้ วย
ถ้ าความต้ านทานในขดลวดสเตเตอร์ R1 มีคา่ น้ อย สามารถละเลย Rth ได้
สมการที่ 7.58 และ 7.59 จะลดรูปเหลือดังนี ้
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 151

R2′
sT max ≈ (7.60)
X th + X 2′

1 Vth2
Tmax ≈ (7.61)
2ω syn X th + X 2′

ในสมการที่ 7.61 ได้ แสดงให้ เห็นว่า แรงบิดสูงสุดแปรผกผันกับผลรวมของรี แอกแตนซ์

รูปที่ 7.15 คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็วเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่า R2

จากสมการที่ 7.54 สามารถหาสัดส่วนระหว่างแรงบิดสูงสุดกับแรงบิดที่ความเร็ วรอบอื่น ๆ ได้ ดงั นี ้


Tmax ( Rth + R2′ / s) 2 + ( X th + X 2′ ) 2 s
= (7.62)
T ( Rth + R2′ / sT max ) + ( X th + X 2′ ) sT max
2 2

ถ้ า R1 หรื อ Rth มีคา่ น้ อย สามารถตัดทิ ้งได้


Tmax ( R2′ / s) 2 + ( X th + X 2′ ) 2 s
≈ (7.63)
T ( R2′ / sT max ) + ( X th + X 2′ ) sT max
2 2

จากสมการที่ 7.60 และ 7.63 จะได้


Tmax ( R2′ / s) 2 + ( R2′ / sT max ) 2 s
= ×
T 2( R2′ / sT max ) 2
sT max

Tmax sT2 max + s 2


= (7.64)
T 2sT max s

สมการที่ 7.64 ได้ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดที่ความเร็ วรอบใด ๆ กับแรงบิดสูงสุดในเทอมของ


ค่าสลิป
+

152 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า aeiiinsiiiny-iiiin.li


.
I

*q×nIFnI
'

• I
กระแสสเตเตอร์
จากรูปที่ 7.14 อินพุตอิมพีแดนซ์มีคา่ เท่ากับ
⎛ R′ ⎞
Z 1 = R1 + jX 1 + X m // ⎜ 2 + jX 2′ ⎟
⎝ s ⎠

= R1 + jX 1 + X m // Z 2′

jX m ( R2′ / s + jX 2′ )
= R1 + jX 1 + (7.65a)
R2′ / s + j ( X m + X 2′ )

= Z 1 ∠θ 1 (7.65b)
กระแสสเตเตอร์ มีคา่ เท่ากับ
V1
I1 = = I φ + I 2′ (7.65c)
Z1

ที่ความเร็วเท่ากับซิงโครนัส (s = 0) R2′ / s มีคา่ เป็ นอนันต์ ดังนัน้ I 2′ = 0 กระแสสเตเตอร์ I1 จะเป็ น


กระแสกระตุ้น I φ เพียงอย่างเดียว ที่คา่ สลิปมาก Z 2′ (= R2′ / s + jX 2′ ) จะมีคา่ น้ อย ทําให้ กระแส I 2′ หรื อ
I 1 มีคา่ สูง ในขณะสตาร์ ต (s = 1) กระแสสตาร์ ตจะมีคา่ สูงถึง 5-8 เท่าของกระแสพิกด ั ขนาดกระแส
โดยทัว่ ไปซึง่ เปลีย่ นแปลงตามความเร็ วรอบได้ แสดงไว้ ในรูปที่ 7.16

รูปที่ 7.16 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสสเตเตอร์ กบั ความเร็ว

ตัวประกอบกําลังด้ านอินพุต
ตัวประกอบกําลังของแหล่งจ่ายมีคา่ ดังนี ้
PF = cosθ 1
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 153

โดยที่ θ 1 เป็ นมุมเฟสของกระแสสเตเตอร์ I 1 เป็ นค่าเดียวกับมุมของอิมพีแดนซ์ของวงจรสมมูลในรูปที่


7.12 ตัวประกอบกําลังโดยทัว่ ไปซึง่ เปลี่ยนแปลงตามความเร็ วได้ แสดงไว้ ในรูปที่ 7.17 จะเห็นว่าตัว
ประกอบกําลังจะมีคา่ สูงสุดใกล้ ๆ ความเร็ วซิงโครนัส

รูปที่ 7.17 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวประกอบกําลังกับความเร็ ว

ประสิทธิภาพ
ในการหาประสิทธิภาพของเครื่ องจักรกลจะต้ องทราบกําลังสูญเสียต่าง ๆ ของเครื่ องจักรกล กําลัง
สูญเสียเนื่องจากการไหลของกําลังไฟฟ้าแสดงดังรูปที่ 7.18 สําหรับเครื่ องจักรกลชนิด 3 เฟส กําลังไฟฟ้า
ที่จ่ายให้ กบั สเตเตอร์ มีคา่ เท่ากับ
Pin = 3V1 I 1 cosθ1 (7.66)
กําลังสูญเสียในชุดขดลวดสเตเตอร์ มีคา่ เท่ากับ
P1 = 3I 12 R1 (7.67)
โดยที่ R1 เป็ นความต้ านทานกระแสสลับของขดลวดแต่ละเฟส ณ อุณหภูมิและความถี่ขณะทํางาน
กําลังไฟฟ้าอีกส่วนหนึง่ จะสูญเสียในแกนเหล็กของสเตเตอร์ เนื่องจากผลของฮีสเตอริ ซีสและกระแสวน
กําลังไฟฟ้าที่เหลือคือ Pag จะข้ ามผ่านช่องอากาศไปยังโรเตอร์ กําลังไฟฟ้าบางส่วนจะสูญเสียไป
เนื่องจากความต้ านทานในขดลวดโรเตอร์ ซงึ่ มีคา่ เท่ากับ
P2 = 3I 22 R2 (7.68)
โดยที่ R2 เป็ นความต้ านทานกระแสสลับของขดลวดโรเตอร์ ถ้ าเป็ นชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวดจะรวมถึงความ
ต้ านทานภายนอกที่ตอ่ ผ่านวงแหวนลืน่ ด้ วย กําลังไฟฟ้าอีกส่วนหนึง่ จะสูญเสียไปในแกนเหล็กของโรเตอร์
เนื่องจากกําลังสูญเสียในแกนเหล็กของโรเตอร์ ขึ ้นอยูก่ บั ความถี่ f 2 ของโรเตอร์ กําลังสูญเสียส่วนนี ้จะมีคา่
154 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

น้ อยมาก ที่ความเร็ วรอบปกติ f 2 จะมีคา่ น้ อย สามารถละเลยกําลังสูญเสียส่วนนี ้ กําลังไฟฟ้าที่เหลือจะ


ถูกแปลงเป็ นกําลังกล และมีสว่ นหนึง่ สูญเสียไปเนื่องจากแรงลมต้ านและแรงเสียดทานซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ความ
เร็ วรอบของการทํางาน กําลังที่เหลือสุดท้ ายจะเป็ นกําลังกลที่นําไปใช้ งานซึง่ ก็คือกําลังเอาต์พตุ Pout

รูปที่ 7.18 การไหลของกําลังไฟฟ้าของมอเตอร์ เหนี่ยวนํา

ประสิทธิภาพของมอเตอร์ เหนี่ยวมีคา่ เท่ากับ


Pout
Eff = (7.69)
Pin

ตัวอย่ างที่ 7.4


มอเตอร์ เหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอร์ เป็ นแบบพันขดลวด มีพิกดั ดังนี ้ 460 V 1740 rpm 60 Hz 4
poles และมีพารามิเตอร์ ตอ่ เฟสดังนี ้ Tv ,

R1 = 0.25 Ω R 2′ = 0.2 Ω
X 1 = X 2′ = 0.5 Ω Xm = 30 Ω

กําลังสูญเสียเนื่องจากการหมุน = 1700 W → Rotational loss

เมื่อลัดวงจรขัวของขดลวดโรเตอร์
ก.)
้ ให้ คํานวณหา
1. กระแสสตาร์ ต เมื่อสตาร์ ตตรงโดยป้อนแรงดันเต็มที่ Poore
÷
t Piotvnmh

2. แรงบิดสตาร์ ต
ข.) 1. ค่าสลิปที่โหลดเต็ม
2. กระแสโหลดเต็ม
3. สัดส่วนของกระแสสตาร์ ตต่อกระแสโหลดเต็ม
4. ค่าตัวประกอบกําลังที่โหลดเต็ม
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 155

5. แรงบิดที่โหลดเต็ม
6. ประสิทธิภาพมอเตอร์ ที่โหลดเต็ม
ค.) 1. สลิปที่เกิดแรงบิดสูงสุด
2. แรงบิดสูงสุด
ง.) จะต้ องใช้ ความต้ านทานภายนอกต่อเฟสเท่าใดต่อเข้ าไปในวงจรโรเตอร์ เพื่อให้ ได้ แรงบิดสูงสุด
เกิดขึ ้นตอนสตาร์ ต

วิธีแก้ ปัญหา
=D Vp 460
ก.) An VL →
V1 = = 265.6 V/phase
3

1.) ขณะสตาร์ ต s =1 อินพุตอิมพีแดนซ์จะมีคา่ เท่ากับ


Xm Ri xi
14 x
j 30(0.2 + j 0.5)
,

Z1 = 0.25 + j 0.5 +
0.2 + j 30.5
Z1 = 1.08∠66° Ω
~

265.6 Vp
In A
~

I st = = 245.9∠ − 66°
. ∠66°
108
1800
2.) ω syn = × 2π = 188.5 rad/sec
60
Wsgn
a
1201×29
bop 265.6( j 30.0)
Vth = ≈ 2613
. V
(0.25 + j 30.5)
j 30(0.25 + j 0.5)
Z th = = 0.55∠63.9°
0.25 + j 30.5

Z th = 0.24 + j 0.49

Rth = 0.24 Ω X th = 0.49 ≈ X 1 Ω


Pag I 2′ 2 R2′ / s
Tst = =
ω syn ω syn
1 Vth2 R2′
หรื อจาก Tmech =
ω syn ( R + R ′ / s) + ( X + X ′ ) 2 2
s
th 2 th 2

3 261.3 2 0.2
Tst = ×
188.5 (0.24 + 0.2) + (0.49 + 0.5)
2 2
1
3 0.2
Tst = × (241.2) 2 × = 1852
. N-m
188.5 1
156 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

1800 − 1740
ข.) 1.) s= = 0.0333
1800
R2′ 0.2
2.) = = 6.01 Ω
s 0.0333
( j 30)(6.01 + j 0.5)
Z 1 = (0.25 + j 0.5) +
6.01 + j 30.5
Z1 = 6.15∠19.8° Ω
265.6
I FL = = 4319
. ∠ − 19.8° A
. ∠19.8°
615

I st 245.9
3.) = = 5.69
I FL 4319.

4.) PF = cos(19.8° ) = 0.94 (lagging)

3 (261.3) 2
5.) TFL = × 6.01
188.5 (0.24 + 6.01) 2 + (0.49 + 0.5) 2
3
TFL = × 41.29 2 × 6.01 = 16311
. N-m
188.5

6.) กําลังไฟฟ้าผ่านช่องอากาศ
Pag = Tω syn = 16311
. × 188.5 = 30,746.2 W
กําลังสูญเสียในขดลวดโรเตอร์
P2 = sPag = 0.0333 × 30,746.2 = 1023.9 W
Pmech = (1 − 0.0333)30,746.2 = 29,722.3 W
Pout = Pmech − Prot = 29,722.3 − 1700 = 28,022.3 W
Pin = 3V1 I 1 cosθ1

Pin = 3 × 265.6 × 43.19 × 0.94 = 32,349 W


28,022.3
Eff motor = × 100 = 86.6%
32,349

ค.) 1.) จากสมการที่ 7.58


0.2 0.2
sT max = = = 0.1963
[0.24 2
+ (0.49 + 0.5) ]
2 1/ 2 1.0186
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 157

2.) จากสมการ 7.59


3 261.32
Tmax =
[
2 × 188.5 0.24 + 0.24 2 + (0.49 + 0.5) 2 ]
1/ 2

Tmax = 431.68 N-m


Tmax 431.68
= = 2.65
TFL 163.11
R2′ + Rext
′ R2′ + Rext

ง.) sT max = 1 = =
[0.24 2
+ (0.49 + 0.5) ]
2 1/ 2 1.0186

′ = 10186
Rext . − 0.2 = 0.8186 Ω / phase

ตัวอย่ างที่ 7.5


มอเตอร์ เหนี่ยวนําสามเฟส ชนิดโรเตอร์ พนั ขดลวด มีพิกดั เท่ากับ 460 V 60 Hz 6 poles ได้ ขบั
โหลดคงที ่ เท่ากับ 100 N-m ด้ วยความเร็ ว 1140 rpm โดยที่ขวของโรเตอร์
ั้ ได้ ตอ่ ลัดวงจรไว้ ต้ องการลด
ความเร็ วลงเหลือ 1000 rpm โดยการต่อความต้ านทานภายนอกเข้ าไปในวงจรโรเตอร์ ให้ หาค่าความ
ต้ านทานภายนอกนี ้ ถ้ าความต้ านทานของขดลวดโรเตอร์ มีคา่ เท่ากับ 0.2 Ω / เฟส ไม่ต้องคิดกําลัง
สูญเสียเนื่องจากการหมุน ให้ สดั ส่วนจํานวนรอบของสเตเตอร์ ตอ่ โรเตอร์ มีคา่ เท่ากับ 1
วิธีแก้ ปัญหา
ความเร็ วซิงโครนัสมีคา่ เท่ากับ
120 × 60
ns = = 1200 rpm
6
สลิปที่ 1140 rpm มีคา่ เท่ากับ
1200 − 1140
s1 = = 0.05
1200
สลิปที่ 1000 rpm มีคา่ เท่ากับ
1200 − 1000
s2 = = 0.167
1200
จากวงจรสมมูลจะเห็นว่าถ้ า R2′ / s ไม่เปลี่ยนแปลงกระแสโรเตอร์ I 2 และกระแสสเตเตอร์ I 1
ก็ไม่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน เครื่ องจักรก็จะสร้ างแรงบิดเท่าเดิม ซึง่ พิจารณาได้ จากสมการที่ 7.54 และถ้ า
ไม่คดิ การสูญเสียเนื่องจากการหมุนด้ วยแล้ ว แรงบิดที่มอเตอร์ สร้ างขึ ้นจะเท่ากับแรงบิดของโหลด
สําหรับสัดส่วนจํานวนรอบเท่ากับ 1 จะได้ วา่
R2 R2 + Rext
=
s1 s2
158 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

0.2 0.2 + Rext


=
0.05 0.167
Rext = 0.468 Ω /phase

ตัวอย่ างที่ 7.6


มอเตอร์ เหนี่ยวนํา 3 เฟส ชนิดโรเตอร์ กรงกระรอก มีพกิ ดั เท่ากับ 460 V 1710 rpm 60 Hz 4
poles ในขณะสตาร์ ตกระแสโรเตอร์ จะมีขนาดเป็ น 6 เท่าของกระแสโรเตอร์ ที่โหลดเต็ม
ก.) หาขนาดแรงบิดสตาร์ ตเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของแรงบิดที่โหลดเต็ม
ข.) หาสลิปและความเร็วที่มอเตอร์ สร้ างแรงบิดได้ สงู สุด
ค.) หาขนาดแรงบิดสูงสุดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของแรงบิดที่โหลดเต็ม
วิธีแก้ ปัญหา
เนื่องจากพารามิเตอร์ ของวงจรสมมูลไม่ได้ กําหนดให้ ดังนัน้ ไม่สามารถใช้ พารามิเตอร์ ของ
วงจรสมมูลมาคํานวณโดยตรง
ก.) ความเร็วซิงโครนัสมีคา่ เท่ากับ
120 × 60
ns = = 1800 rpm
4
ค่าสลิปที่โหลดเต็มมีคา่ เท่ากับ
1800 − 1710
s FL = = 0.05
1800
จากสมการที่ 7.52a
I 22 R2 I 22 R2
T= ∝
ω syn s s
2
Tst I 2 ( st )
จะได้ วา่ = s FL
TFL I 2 ( FL )

Tst = 6 2 × 0.05 × TFL = 1.8TFL = 180 %TFL

ข.) จากสมการ 7.64


Tst 2 sT max
=
Tmax 1 + sT2 max

TFL 2s s
= 2 T max FL2
Tmax sT max + s FL
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 159

จากสมการทังสองนี
้ ้จะได้ วา่
Tst sT2 max + s FL
2
=
TFL s FL + s FL × sT2 max

sT2 max + 0.0025


1.8 =
0.05 + 0.05 × sT2 max

s T2 max + 0.0025 = 0.09 + 0.09 s T2 max

1/ 2
⎛ 0.0875 ⎞
sT max =⎜ ⎟ = 0.31
⎝ 0.91 ⎠

ความเร็วที่แรงบิดสูงสุด = (1 − 0.31) × 1800 = 1242 rpm

ค.) จากสมการที่ 7.64


1+ sT2 max 1 + 0.312
Tmax = Tst = × 1.8TFL
2sT max 2 × 0.31

Tmax = 3.18TFL = 318%TFL

7.9 ประเภทของมอเตอร์ เหนี่ยวนํากรงกระรอก


ความต้ องการใช้ งานมอเตอร์ ในอุตสาหกรรมจะแตกต่างกันไป ขึ ้นอยูก่ บั งานแต่ละชนิดว่ามีความ
ต้ องการคุณลักษณะขณะทํางานและคุณลักษณะขณะสตาร์ ตเป็ นอย่างไร ผู้ผลิตมอเตอร์ ได้ ผลิตมอเตอร์
ออกมาหลายมาตรฐาน มาตรฐานหนึง่ ที่ใช้ อ้างอิงกันแพร่หลาย คือมาตรฐาน NEMA ( National
ุ ลักษณะของแรงบิดกับความเร็ วรอบดังรูปที่ 7.19 ตัว
Electrical Manufacturers’ Association ) ซึง่ มีคณ
สําคัญที่ทําให้ การออกแบบมอเตอร์ แตกต่างกันคือค่าความต้ านทานยังผลของวงจรโรเตอร์ นนั่ เอง

รูปที่ 7.19 คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็ วของมอเตอร์ เหนี่ยวนําระดับชันต่


้ าง ๆ กัน
160 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

มอเตอร์ Class A
มอเตอร์ ประเภทนี ้มีแรงบิดสตาร์ ตปกติ กระแสสตาร์ ตสูง ทํางานที่คา่ สลิปน้ อย ๆ มีคา่ ความ
ต้ านทานของโรเตอร์ ตํ่า ดังนัน้ มอเตอร์ ประเภทนี ้ จะทํางานอย่างมีประสิทธิภาพที่สลิปน้ อย ๆ
( 0.005 < s < 0.015) เมื่อโหลดเต็ม จึงเหมาะกับโหลดที่ต้องการแรงบิดสตาร์ ตตํ่า เช่น พัดลมหรื อปั๊ ม
มอเตอร์ สามารถเร่งความเร็วถึงจุดการทํางานได้ เร็ ว ลดความร้ อนสูงเกินที่จะเกิดขึ ้นในระหว่างสตาร์ ตได้
ในมอเตอร์ ขนาดใหญ่จะสตาร์ ตด้ วยการลดแรงดันเพื่อลดกระแสสตาร์ ต

มอเตอร์ Class B
มอเตอร์ ประเภทนี ้มีแรงบิดสตาร์ ตปกติ กระแสสตาร์ ตตํ่า ทํางานที่ค่าสลิปน้ อย ๆ แรง บิดสตาร์ ต
มีค่าเกือบเท่ากับ Class A แต่กระแสสตาร์ ตมีค่าประมาณ 75 เปอร์ เซ็นต์ของ class A กระแสสตาร์ ตล
ดลงเนื่องจากมีการออกแบบให้ รีแอกแตนซ์เนื่องจากเส้ นแรงแม่เหล็กรั่วมีค่าสูง โดยออกแบบตัวนําโรเตอร์
เป็ นแท่งลึกหรื อกรงคู่ การที่รีแอกแตนซ์มีค่าสูงทําให้ แรงบิดสูงสุดมีค่าลดลง สลิปและประสิทธิ ภาพที่
โหลดเต็มมีคณ ุ ลักษณะดีเท่ากับมอเตอร์ Class A มอเตอร์ ประเภทนี ้จะเป็ นมอเตอร์ ที่ใช้ งานทัว่ ไป เหมาะ
กับงานที่ต้องการความเร็ วคงที่ แรงบิดขณะสตาร์ ตไม่สงู มากนัก ตัวอย่างโหลดประเภทนี ้ได้ แก่ พัดลม ปั๊ ม
โบลเวอร์ และชุดมอเตอร์ -เจนเนอเรเตอร์
มอเตอร์ class C
มอเตอร์ ประเภทนี ้มีคณ ุ ลักษณะที่ต้องการคือ แรงบิดสตาร์ ตสูง กระแสสตาร์ ตตํ่า จะออกแบบ
โรเตอร์ ชนิดกรงคูท่ ี่มีความต้ านทานโรเตอร์ สงู กว่า Class B ค่าสลิปที่โหลดเต็มจะมีคา่ มากกว่าและ
ประสิทธิภาพจะมีคา่ ตํ่ากว่า Class A และ Class B มอเตอร์ ประเภทนี ้เหมาะกับโหลดชนิด
คอมเพรสเซอร์ สายพานลําเลียง และเครื่องบด เป็ นต้ น

มอเตอร์ class D
มอเตอร์ ประเภทนี ้มีคณ
ุ ลักษณะที่ต้องการคือ แรงบิดสตาร์ ตสูง กระแสสตาร์ ตตํ่า สลิปในการ
ทํางานมีคา่ สูง ออกแบบโดยใช้ แท่งตัวนําที่มีความต้ านทานสูง เช่น ทองเหลือง คุณลักษณะแรงบิดกับ
ความเร็วจะคล้ ายกับโรเตอร์ ชนิดพันขดลวดที่มีความต้ านทานภายนอกต่ออยู่ แรงบิดสูงสุดเกิดขึ ้น
ที่สลิปตังแต่
้ 0.5 ขึ ้นไป สลิปที่โหลดเต็มมีคา่ สูงประมาณ 8-15 เปอร์ เซ็นต์ ดังนันประสิ ้ ทธิภาพการ
ทํางานตํ่า มีกําลังสูญเสียในโรเตอร์ สงู ดังนันจึ้ งต้ องใช้ มอเตอร์ ที่มีพิกดั ขนาดใหญ่กว่าเดิมเพื่อชดเชย
กําลังสูญเสียนี ้ ทําให้ ลงทุนสูงขึ ้น มอเตอร์ ประเภทนี ้เหมาะสําหรับขับโหลดชนิดเดิน ๆ หยุด ๆ ที่
ต้ องการอัตราเร่งสูง และต้ องการแรงกระแทกสูง เช่นเครื่ องปั๊ มขึ ้นรูปขนาดใหญ่ เครื่ องตัดแผ่นเหล็ก
เป็ นต้ น เนื่องจากโหลดประเภทนี ้เมื่อกระแทกหรื อตัดวัสดุ ความเร็วมอเตอร์ จะตกลง จึงต้ องมีมเู่ ล่
(flywheel) ต่ออยู่ เพื่อรองรับการถ่ายเทพลังงานจลน์ในขณะกระแทก
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 161

7.10 การควบคุมความเร็ว
มอเตอร์ เหนี่ยวนําเป็ นมอเตอร์ ที่มีความเร็ วคงที่เมื่อต่ออยู่กับแหล่งจ่ายที่มีแรงดันคงที่และ
ความถี่คงที่ ความเร็ ว ณ จุดทํางานจะใกล้ เคียงกับความเร็ วซิงโครนัสมาก ถ้ าแรงบิดของโหลดเพิ่มขึ ้น
ความเร็ วของมอเตอร์ จะตกลงเล็กน้ อย ดังนัน้ มอเตอร์ เหนี่ยวนําจึงเหมาะกับงานที่ต้องการความเร็ ว
คงที่ อย่างไรก็ตามมีงานหลายอย่างในอุตสาหกรรมต้ องการความเร็ วหลายความเร็ ว หรื อต้ องการ
ความเร็วที่ปรับได้ อย่างต่อเนื่อง วิธีที่การควบคุมความเร็วที่ใช้ กนั อยูจ่ ะใช้ มอเตอร์ กระแสตรงซึง่ มีราคา
แพง ต้ องบํารุ งรักษาคอมมิวเตเตอร์ และแปรงถ่านเป็ นประจํา มีมลภาวะต่อบรรยากาศ ทางเลือกใน
ปั จจุบนั จะใช้ มอเตอร์ เหนี่ยวนํากรงกระรอกซึ่งมีราคาถูก ทนทาน ไม่มีคอมมิวเตเตอร์ และแปรงถ่าน
เหมาะสําหรับการควบคุมความเร็ วรอบที่สงู วงจรที่ใช้ ควบคุมความเร็ วมอเตอร์ เหนี่ยวนําจะเป็ นวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ควบคุมที่มีความซับซ้ อนมากกว่าที่ใช้ ในมอเตอร์ กระแสตรง ในหัวข้ อนี ้จะกล่าวถึงวิธีการ
ต่าง ๆ ที่ใช้ ควบคุมความเร็วมอเตอร์ เหนี่ยว

7.10.1 การเปลี่ยนจํานวนขัว้ แม่ เหล็ก


สามารถเปลีย่ นแปลงความเร็ วของมอเตอร์ เหนี่ยวนําได้ โดยการเปลีย่ นจํานวนขัวแม่ ้ เหล็ก วิธี
นี ้ทําได้ โดยการเปลี่ยนการต่อของชุดขดลวดสเตเตอร์ มอเตอร์ ทวั่ ไปสามารถเปลี่ยนความเร็ วได้ ใน
สัดส่วน 2:1 คือมีความเร็วรอบได้ 2 ความเร็ ว ถ้ าชุดขดลวดสเตเตอร์ ใช้ ชดุ ขดลวดสองชุดที่แยกอิสระ
สามารถเปลี่ยนความเร็ วได้ 4 ค่าความเร็ วด้ วยกัน
มอเตอร์ กรงกระรอกยังใช้ วธิ ีการควบคุมแบบนี ้อยูอ่ ย่างมัน่ คง เพราะว่าโรเตอร์ สามารถทํา งาน
กับสเตเตอร์ ที่มีขวแม่
ั ้ เหล็กกี่ขวก็
ั ้ ได้ แต่การเปลี่ยนแปลงความเร็ววิธีนี ้จะเป็ นแบบก้ าวกระโดด และการ
สร้ างชุดขดลวดสเตเตอร์ ให้ เปลี่ยนขัวได้ ้ ทําให้ มอเตอร์ มีราคาสูงขึ ้น

(a) (b) มอเตอร์ class D


รูปที่ 7.20 คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็ วสําหรับแรงดันขัวต่
้ าง ๆ กัน
162 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

7.10.2 การควบคุมแรงดันขัว้
แรงบิดที่เกิดขึ ้นในมอเตอร์ จะแปรผันกับแรงดันขัวยกกํ้ าลังสอง ชุดคุณลักษณะ T − n ที่
แรงดันขัวต่
้ าง ๆ กัน แสดงไว้ ในรูปที่ 7.20 ถ้ ามอเตอร์ ขบั โหลดที่เป็ นพัดลม มอเตอร์ สามารถ
เปลี่ยนแปลงความเร็ว ในช่วง n1 ถึง n2 ด้ วยการเปลี่ยนแรงดันขัว้ มอเตอร์ Class D สามารถ
เปลี่ยนแปลงความเร็วด้ วยวิธีนี ้ได้ ในช่วงที่กว้ างกว่าประเภทอื่น ดังแสดงในรูปที่ 7.20b

รูปที่ 7.21 การควบคุมการสตาร์ ตและการควบคุมความเร็ว


(a) ควบคุมแรงดันด้ วยหม้ อแปลงออโต (b) ควบคุมแรงดันด้ วยโซลิดสเตต
(c) การควบคุมแรงดันแบบวงรอบปิ ด
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 163

แรงดันขัว้ V1 ปรับค่าได้ โดยใช้ หม้ อแปลงออโตหรื อวงจรโซลิดสเตตควบคุมดังแสดงในรูปที่ 7.21


หม้ อแปลงออโตจ่ายแรงดันที่เป็ นไซนูซอยด์ให้ กบั มอเตอร์ แต่วงจรโซลิดสเตตควบคุม จะจ่ายแรงดันที่ไม่
เป็ นไซนูซอยด์ ดังนัน้ การใช้ วงจรโซลิดสเตตควบคุมกับมอเตอร์ ขนาดใหญ่จะต้ องมีวงจรกรองความถี่เพื่อ
กรองความถี่ฮาร์ โมนิกของกระแส ไม่ให้ ไหลย้ อนกลับเข้ าไปในแหล่งจ่าย เพราะฮาร์ โมนิกจะทําให้ เกิด
กําลังสูญเสียในระบบไฟฟ้า
ในรูปที่ 7.21b เป็ นวงจรควบคุมแรงดันโดยใช้ ไทริสเตอร์ แรงดันที่จ่ายให้ กบั มอเตอร์ จะมีคา่
เปลี่ยนแปลงตามมุมจุดชนวน α โดยที่มมุ α นี ้จะเปลีย่ นแปลงก็ตอ่ เมื่อได้ รับสัญญาณคําสัง่ ให้
เปลี่ยนความเร็ วตามที่ต้องการ
การควบคุมความเร็วที่ต้องการความละเอียดสูง วิธีการควบคุมแบบวงรอบเปิ ดไม่เหมาะสม
จะใช้ วิธีการควบคุมแบบวงรอบปิ ดดังรูปที่ 7.21c

เมื่อความเร็วรอบตกด้ วยสาเหตุอะไรก็แล้ วแต่ ตัวอย่างเช่น แรงดันจากแหล่งจ่ายตก ความเร็ว


มอเตอร์ จะตกตาม จะมีการส่งสัญญาณป้อนกลับเพื่อเปลี่ยนมุมจุดชนวนให้ แรงดันจ่ายเข้ ามอเตอร์
เพิ่มมากขึ ้น เกิดแรงบิดมากขึ ้นความเร็วก็จะเพิ่มขึ ้นจนถึงความเร็วก่อนที่จะถูกรบกวน
การควบคุมความเร็วด้ วยวิธีนี ้สลิปจะมีคา่ สูงขึ ้นเมื่อความเร็วลดลงดังแสดงในรูปที่ 7.20 ทําให้
การทํางานไม่มีประสิทธิภาพ แต่โหลดที่เป็ นพัดลมหรื อโหลดที่คล้ ายคลึงกันโดยอาศัยแรงเหวี่ยง
แรงบิดจะแปรตามความเร็วรอบยกกําลังสอง (T ∝ n 2 ) กําลังไฟฟ้าจะลดลงตามความเร็วที่ลดลง
อย่างมีนยั สําคัญ แม้ วา่ กําลังสูญเสียในโรเตอร์ ( sPag ) มีความสัมพันธ์กบั กําลังส่งผ่านช่องอากาศ แต่
กําลังส่งผ่านช่องอากาศมีคา่ ลดลงตามคุณลักษณะของโหลด ดังนัน้ ความร้ อนที่เกิดขึ ้นในโรเตอร์ จงึ ยัง
ไม่เกินพิกดั วงจรควบคุมแรงดันเป็ นวงจรที่ง่าย แม้ วา่ ประสิทธิภาพจะไม่ดีนกั แต่ยงั มีความเหมาะสม
กับการควบคุมความเร็วของโหลดประเภทพัดลม ปั๊ ม และโหลดที่อาศัยแรงเหวี่ยง

7.10.3 การควบคุมความถี่ของแรงดัน
ความเร็ วซิงโครนัส หรื อความเร็วมอเตอร์ เปลี่ยนแปลงได้ โดยการเปลีย่ นความถี่ของแหล่งจ่าย
วิธีนี ้จะต้ องมีวงจรเปลี่ยนแปลงความถี่ ในรูปที่ 7.22 ได้ แสดงแผนภาพแบบกล่องของการควบคุม
ความเร็ วแบบเปลี่ยนแปลงความถี่ ประกอบด้ วยตัวเรี ยงกระแสควบคุม ( the controlled rectifier )
และเครื่ องแปลงผัน ( dc to ac inverter )
จากสมการที่ 7.25 เส้ นแรงแม่เหล็กของมอเตอร์ มีคา่ ดังนี ้

X =
I z WL .
-
219
IL Φp ∝
E
(7.70)
f
t
n'Mdw f h Noir window → I down ,
ninviniiw x a
-

urns
-

* ni
fronds → Xm asanas
164 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

ถ้ าแรงดันที่ตกคร่อม R1 และ X1 มีคา่ น้ อย สามารถประมาณค่าให้ V1 ≈ E1 จะได้


V
Φp ∝ (7.71)
f

เพื่อหลีกเลีย่ งการอิ่มตัวของสนามแม่เหล็ก แรงดันขัวกั ้ บความถี่ต้องเปลีย่ นแปลงไปด้ วยสัดส่วนที่เท่ากัน


วงจรควบคุมชนิดนี ้ รู้จกั กันในนาม constant voltage per hertz ที่ความถี่ตํ่าแรงดันที่ตกคร่อม R1 และ
X 1 เมื่อเทียบกับ V1 จะมีความหมาย สมการที่ 7.71 จะใช้ ไม่ได้ เพราะสัดส่วนของ V / f จะมีคา่ เพิ่มขึ ้น
เมื่อความถี่ลดลง ทําให้ เส้ นแรงแม่เหล็กเพิ่มขึ ้น ดังนัน้ เพื่อรักษาความหนาแน่นเส้ นแรงแม่เหล็กของช่อง
อากาศให้ คงที่ จะต้ องเปลีย่ นแปลงแรงดันให้ เหมาะสมกับความถี่ที่เปลีย่ นไปความต้ องการแรงดันที่
เปลีย่ นแปลงตามความถี่แสดงไว้ ในรูปที่ 7.23 แรงดันที่ปอ้ นให้ กบั มอเตอร์ จะเปลี่ยนไป ถ้ าแรงดันที่
ป้อนเข้ าเครื่ องแปลงผัน Vi เปลีย่ น แรงดันนี ้ถูกควบคุมด้ วยมุมจุดชนวนของตัวเรี ยงกระแสควบคุม

รูปที่ 7.22 การควบคุมความเร็วมอเตอร์ เหนี่ยวนํา


โดยการควบคุมแรงดันอินพุตและความถี่แบบวงรอบเปิ ด

คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็ วที่ความถี่ทํางานต่าง ๆ กัน แสดงไว้ ในรู ปที่ 7.24 ที่ความถี่ฐาน f base


แรงดันขัวของมอเตอร์
้ จะมีค่าสูงสุด ความถี่ที่ตํ่ากว่าความถี่ฐาน จะต้ องรักษาเส้ นแรงแม่เหล็กให้ คงที่โดย
เปลี่ยนค่า V1 ตาม f 1 แรงบิดที่ได้ จะเป็ น แรงบิ ดคงที ่ ความถี่ตงแต่
ั ้ ฐานขึ ้นไปแรงดันไม่สามารถเพิ่มขึ ้น
เครื่องจักรกลเหนี่ยวนํา 3 เฟส 165

ตามความถี่ได้ เส้ นแรงแม่เหล็กจะลดลงทําให้ แรงบิดลดลงด้ วย ช่วงนี ้จะเป็ นการทํางาน แบบแรงม้าคงที ่


คล้ ายกับการควบคุมกระแสสนามในเครื่ องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง

รูปที่ 7.23 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันกับความถี่ที่แปรเปลี่ยน

รูปที่ 7.24 คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็ วของเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา


โดยการควบคุมการเปลี่ยนแปลงแรงดันและความถี่
ในรูปที่ 7.24 คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็ วของโหลดเขียนทับอยูบ่ นคุณลักษณะของ
แรงบิดกับความเร็ วของมอเตอร์ จุดการทํางานที่ความเร็ว n1 .... n8 จะใกล้ เคียงกับความเร็ ว
ซิงโครนัสของจุดทํางานนัน้ ๆ ดังนันมอเตอร์
้ จะทํางานที่คา่ สลิปน้ อย ๆ และมีประสิทธิภาพสูงอยู่
ตลอดเวลา

7.11 การสตาร์ ตเครื่ องจักรกลเหนี่ยวนํา


โดยทัว่ ไปแล้ วมอเตอร์ เหนี่ยวนําจะสตาร์ ตตรงโดยต่อเข้ ากับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง กระแสสตาร์ ต
จะมีคา่ สูงประมาณ 500 - 800 % ของพิกดั กระแสโหลดเต็ม กระแสจํานวนมากไหลในไลน์จะเกิด
แรงดันตกสูง อาจมีผลกระทบต่อระบบอื่น ๆ ที่ตอ่ อยูก่ บั ไลน์เดียวกันนี ้ได้ ถ้ ากระแสสูงนี ้ไหลใน
166 การแปลงพลังงานกลไฟฟ้ า

มอเตอร์ เป็ นเวลานานจะทําให้ เกิดความร้ อนสูงเกินไปในมอเตอร์ ทําให้ ฉนวนเสียหายได้ ดังนันจะต้


้ องมี
การลดกระแสสตาร์ ต ทําได้ โดยการลดแรงดันขณะสตาร์ ต

วิ ธีที่ 1 ใช้ หม้ อแปลงออโตสามเฟสลดขันแรงดั


้ นดังแสดงในรูปที่ 7.25a เมื่อมอเตอร์ หมุนใกล้ ความเร็ ว
พิกดั ก็จะตัดหม้ อแปลงออโตออกไปจากวงจร

วิ ธีที่ 2 ใช้ วธิ ี Y Δ สตาร์ ต วิธีนี ้ใช้ กบั มอเตอร์ ที่ปกติทํางานแบบ Δ เมื่อสตาร์ ตจะต่อแบบ Y แรงดัน
เฟสจะลดลง 3 เท่า เป็ นผลให้ กระแสสตาร์ ตลดลงด้ วย เมื่อมอเตอร์ หมุนใกล้ ความเร็วพิกดั ก็จะ
สวิตช์การต่อเป็ นวงจร Δ ดังแสดงในรูปที่ 7.25b
วิ ธีที่ 3 ใช้ วงจรควบคุมแรงดันแบบโซลิดสเตต ดังรูปที่ 7.25c การสตาร์ ตด้ วยวิธีนี ้สามารถสตาร์ ต
มอเตอร์ ได้ อย่างนุ่มนวล
อย่างไรก็ตาม การสตาร์ ตทังสามวิ ้ ธีนี ้ เป็ นการลดแรงดันขณะสตาร์ ต ย่อมทําให้ แรงบิดสตาร์ ตลดลง
ด้ วย เพราะแรงบิดจะเป็ นสัดส่วนกับแรงดันขัวยกกํ ้ าลังสอง

รูปที่ 7.25 วิธีการสตาร์ ต


มอเตอร์ เหนี่ยวนํากรงกระรอก
(a) ใช้ หม้ อแปลงออโต
(b) วิธีวาย-เดลต้ า สตาร์ ต
(c) ใช้ วงจรโซลิดสเตต

You might also like