You are on page 1of 85

แผนการจัดการเรียนการสอน

รายวิ ชา EEE60-334 ปฏิ บตั ิ การไฟฟ้ ากําลัง 1


อาจารย์ผป้ ู ระสานงาน: ดร. ศิ ราพร ศักดิ์ พรหม

ปฏิ บตั ิ การ หัวข้อ อาจารย์ผสู้ อน


ที่ และวิ ศวกรผูช้ ่วย
1 ลักษณะสมบัตขิ องเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง (EWEL) อ.เจริญเกียรติ
2 ลักษณะสมบัตขิ องหม้อแปลงและแกนเหล็ก (ITALTEX) อ.อจลวิชญ์
3 การควบคุมคุณสมบัตโิ หลดของมอเตอร์กระแสตรงด้วยวิธตี ่างๆ (EWEL) อ.ศิราพร (พีเ่ ฉลิม)
4 ลักษณะสมบัตขิ องมอเตอร์เหนี่ยวนําหนึ่งเฟส (ITALTEX) อ.สราวุธ (พีเ่ ฉลิม)
5 การควบคุมมอเตอร์ดว้ ยคอนแทกเตอร์แม่เหล็กไฟฟ้ า อ.ธัญวัฒน์
6 การใช้งาน Programmable Logic Controller (PLC) เบือ้ งต้น อ.สราวุธ
7 ลักษณะสมบัตอิ มิ พีแดนซ์ของพืน้ ดิน (Ground Impedance) อ.ศิราพร
8 ลักษณะสมบัตขิ องตัวควบคุม PID และระบบควบคุมป้ อนกลับ-1 อ.กมล
9 ลักษณะสมบัตขิ องตัวควบคุม PID และระบบควบคุมป้ อนกลับ-2

Week/LAB L1 L2 L3 L4 L5 L6 L7 L8-L9
1 Empty
2
3 G1 G2 G3 G4 G5 G6 - G8-G9
4 G9 G1 G2 G3 G4 G5 G6/G7
5 G8 G9 G1 G2 G3 G4 - G6-G7
6 G7 G8 G5 G1 G2 G3 G4/G9
7 G6 G7 G8 G9 G1 G2 - G4-G5
8 G5 G6 G7 G8 G9 G1 G2/G3
9 G4 G5 G6 G7 G8 G9 - G2-G3
10 G3 G4 G5 G6 G7 G8 G9/G1
11 G2 G3 G4 G5 G6 G7 - G1
G5/G8 ชดเชย
12 Examination

ลําดับ รหัสประจําตัว ชื่อ Group


1 61102281 นางสาว โชติรส แซตั่น G1
2 61102398 นางสาว ฐานะมาศ ชโนจุต
3 61103057 นาย ดณุรุทธ หลงกาสา
4 61103909 นาย นนทวัฒน รักษาวงค
5 61103974 นาย นภัสกร ใจสวาง G2
6 61104162 นาย นวิน สิงหเสม
7 61104691 นางสาว เนติกาญจน ถาวร
8 61104832 นางสาว บุญบงกช ธรรมวุฒิ G3
9 61105151 นาย ปรเมศวร สุวรรณ
10 61109021 นางสาว สิริกมล คงดํา
11 61109427 นางสาว สุพัตรา ชูยัง G4
12 61109799 นาย หวันฮรีด ปะดุกา
13 61110987 นาย กิตติเดช ฉาฉ่ํา
14 61111233 นางสาว จีริชุฎา รักเถาว G5
15 61111894 นาย ธันยธรณ เพชรรัตน
16 61112561 นางสาว พัชรนิดา วรรณวร
17 61112975 นาย มูหัมหมัดฟาอิส กูโน G6
18 61113346 นางสาว ศิริกร เสงสี
19 61113353 นางสาว ศิริยาภรณ เหลาเมรี
20 61115606 นาย วัชรากร พูลสวัสดิ์ G7
21 61115713 นาย สุริยา อินยอด
22 61115754 นางสาว อมราวดี ผกามาศ
23 61115861 นาย นนทวัฒน ชูศรี
24 61116083 นาย เชษฐา สุวรรณวงค G8
25 61117560 นางสาว กฤติมา เกตุเอีย่ ม
26 61117917 นางสาว ณัฏฐธิดา มะโนใจ
27 61118139 นาย ธีรภัทร แซท่ํา G9
28 61121695 นาย มูฮัมหมัดลุฏฟย แวสนิ
29 61122438 นาย นูรุดดีน เจะยอ
30 61122834 นาย นิธิกร โชติวรนานนท
ปฏิ บตั ิ การที่ 1 ลักษณะสมบัติของเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ ากระแสตรง

วัตถุประสงค์การทดลอง

1. เพื่อเรียนรูถ้ งึ โครงสร้างและการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบต่าง ๆ


2. เพื่อเรียนรูแ้ ละเข้าใจถึงวิธวี ดั ลักษณะสมบัตขิ องเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
3. เพื่อศึกษาถึงผลของปฏิกริ ยิ าอาร์เมเจอร์

รายละเอียดทัวไปเกี
่ ่ยวกับอุปกรณ์ และเครื่องมือวัด

ชื่ออุปกรณ์ หมายเลขเครือ่ ง พิ กดั /พิ สยั /ชนิ ด/ความแม่นยํา/รายละเอียดอื่นๆ


………………… W ……………… RPM
1. เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง Armature: ……………… V ………………… A
Field…………………….. V ………………... A
2. Universal Machine
3. แหล่งจ่ายไฟ Universal M. …………………………….. V ……………….. A
4. แหล่งจ่ายไฟตรง …………………………….. V ……………….. A
5. โหลดความต้านทาน …………………………… Ω . ……………… A
6. ความต้านทานวงจรสนาม …………………………… Ω . ……………… A
เครือ่ งมือวัด
1. แทโคมิเตอร์ ชนิดแสง
2. โวลต์มเิ ตอร์ V1 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
3. โวลต์มเิ ตอร์ V2 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
4. แอมป์ มิเตอร์ A1 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
5. แอมป์ มิเตอร์ A2 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
เนื้ อหาและหลักการทํางานของเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ ากระแสตรง
เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงมีลกั ษณะโครงสร้างทางกายภาพเหมือนกับมอเตอร์กระแสตรง แต่ว่าการ
ทํางานจะกลับกันกับมอเตอร์กระแสตรง คือเปลี่ยนพลังงานกลที่ได้รบั จากตัวขับเคลื่อน (Prime Mover) เป็ น
พลังงานไฟฟ้ าจ่ายออกไปใช้งาน เพราะฉะนัน้ สิง่ ทีเ่ ราสนใจก็คอื ปริมาณทางไฟฟ้ า (แรงดัน กระแส ฯลฯ) ทีเ่ ครื่อง
กําเนิดไฟฟ้ าผลิต เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงมีดว้ ยกันหลายแบบ แต่ลกั ษณะสมบัตพิ น้ื ฐานทีค่ วรรู้เกี่ยวกับ
เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงคือลักษณะการกระตุน้ และปฏิกริ ยิ าอาร์เมเจอร์ ซึง่ เกีย่ วโยงกับลักษณะสมบัตโิ หลด
ลักษณะการกระตุ้น (Magnetization curve หรือ internal characteristics)
คือความสัมพันธ์ระหว่างฟลักซ์แม่เหล็กภายในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า กับกระแสสนาม แต่เนื่องจาก
เราไม่ ส ามารถวัด ฟลัก ซ์แ ม่ เ หล็ก ได้ เราจึง นิ ย มแสดงลัก ษณะการกระตุ้น ด้ว ยกราฟความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า ง
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําภายใน กับกระแสสนาม เมื่อหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าด้วยความเร็วคงที่ ดัง
แสดงในรูปที่ 1-1 โดยที่
(1-1)

โดยที่ ϕ คือฟลักซ์แม่เหล็กรวม
ω คือความเร็วของโรเตอร์
k คือค่าคงทีอ่ าร์เมเจอร์
Ea

G
Ea
If

If

รูปที ่ 1-1 ลักษณะการกระตุน้ ของเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง

ปฏิ กิริยาอาร์เมเจอร์(Armature reaction)


หมายถึง ปฏิกริยาที่เกิดจากการไหลของกระแสอาร์เมเจอร์เมื่อมีโหลด กล่าวคือในภาวะที่ไม่มโี หลด
ฟลักซ์แม่เหล็กภายในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า จะเกิดจากกระแสสนามเพียงอย่างเดียว แต่เมื่อต่อโหลดเข้ากับเครื่อง
กําเนิดไฟฟ้ าแล้ว กระแสอาร์เมเจอร์ท่ไี หลจะทําให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กอีกตัวหนึ่ง ซึ่งทําให้ฟลักซ์แม่เหล็กรวม
ภายในเปลีย่ นแปลงไป โดยจะทําให้การกระจายของสนามแม่เหล็กเพีย้ น และเกิดการอิม่ ตัวของแกนเหล็กในบาง
ช่วง ทําให้ค่าเฉลีย่ ของความหนาแน่ นสนามแม่เหล็กหรือฟลักซ์แม่เหล็กลดลง อันจะทําให้แรงดันอาร์เมเจอร์ Va
มีลกั ษณะเปลีย่ นแปลงไปด้วยตามสมการที่ 1-2
𝑉𝑉𝑎𝑎 = 𝐸𝐸𝑎𝑎 − 𝑅𝑅𝑎𝑎 𝐼𝐼𝑎𝑎 (1-2)

โดยที่ Ra คือค่าความต้านทานของวงจรอาร์เมเจอร์
Ia คือกระแสอาร์เมเจอร์
ลักษณะสมบัติโหลด (External/Load /Terminal Characteristics)
คือ ความสัมพัน ธ์ร ะหว่า งแรงดัน ขาออกกับ กระแสโหลด ซึ่ง จะแตกต่ างจาก Internal Characteristics
เนื่องจากผลของปฏิกริ ยิ าอาร์เมเจอร์และความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ าชนิดต่าง ๆ มี
External Characteristics ต่างกันดังแสดงในรูปที่ 1-2
Va

OVER

RATED
FLAT
UNDER
SEPARATE

SHUNT
IL
0 RATED

รูปที ่ 1-2 ลักษณะ External Characteristics ของเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง

Voltage Regulation
เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงลักษณะสมบัติของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า ว่าแรงดันขาออกเปลี่ยนแปลงเพียงใดเมื่อมี
โหลด โดยที่
(1-3)

ชนิ ดของเครือ่ งกําเนิ ดไฟฟ้ ากระแสตรง


[1] เครือ่ งกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแยกกระตุ้น (Separately Excited)
มีลกั ษณะวงจรดังแสดงไว้ในรูปที่ 1-3 ซึง่ กระแสสนามจะถูกป้ อนจากแหล่งจ่ายไฟตรงอันหนึ่ง โดย ปรกติ
ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสสนามกับฟลักซ์แม่เหล็ก จะมีลกั ษณะไม่เป็ นเชิงเส้นและมีฮสิ เตอเรซิส (Hysteresis)

𝑉𝑉𝑎𝑎 = 𝑘𝑘ωϕ − 𝑅𝑅𝑎𝑎 𝐼𝐼𝑎𝑎 (1-4)


𝜙𝜙 = 𝑀𝑀(𝐼𝐼𝑓𝑓 ) (1-5)

Ea

Ia

G If
Ea
n

If

รูปที ่ 1-3 เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกกระตุน้


[2] เครือ่ งกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบขนาน (Shunt)
มีลกั ษณะวงจรดังแสดงในรูปที่ 1-4 การต่อเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบนี้จะอาศัยแรงเคลื่อนไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้ ใน
วงจรอาร์เมเจอร์ เป็ นตัวจ่ายกระแสสนามเอง (Self-excitation) โดยในช่วงทีย่ งั ไม่มกี ระแสสนาม ฟลักซ์แม่เหล็ก
ตกค้างในแกนเหล็ก(Residual flux) จะเป็ นตัวเหนี่ยวนําให้เกิดแรงดัน แต่แรงดันทีเ่ กิดขึน้ นี้จะต้องมีทศิ ทางทีจ่ ่าย
กระแสสนาม ทีจ่ ะสร้างฟลักซ์แม่เหล็กเสริม ไม่ใช่หกั ล้างกับฟลักซ์แม่เหล็กตกค้างเดิม แรงเคลื่อนเหนี่ยวนําจึงมี
ค่ามากขึน้ เรื่อย ๆ (Voltage build-up) จุดทํางานในขณะไม่มโี หลดก็คอื จุดตัดระหว่างเส้นกราฟ Magnetization
curve กับเส้นตรงทีม่ คี วามชันเท่ากับค่าความต้านทานในวงจรสนาม Rf
𝑉𝑉𝑎𝑎 = 𝑘𝑘ωϕ − 𝑅𝑅𝑎𝑎 𝐼𝐼𝑎𝑎 (1-6)
𝜙𝜙 = 𝑀𝑀(𝐼𝐼𝑓𝑓 ) = 𝑀𝑀(𝑉𝑉/𝑅𝑅𝑓𝑓 ) (1-7)
Ea

Ia

Rf
G
Ea
If
n
Rf

If

รูปที ่ 1-4 เครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

นอกจากเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแยกกระตุน้ และแบบขนานแล้ว ยังมีเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบอนุ กรมและ


แบบผสมอีกด้วย ซึ่งจะมีคุณสมบัติท่แี ตกต่ างไปจากเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแยกกระตุ้นและแบบขนาน อัน
เนื่ อ งมาจากการสร้า งสนามแม่ เ หล็ก ด้ว ยวิธีก ารที่ต่ า งกัน แต่ เ ราสามารถพิจ ารณาคุ ณ สมบัติไ ด้โ ดยอาศัย
แนวความคิดพืน้ ฐานการทํางานเดียวกันได้
สําหรับตัวขับเคลื่อนเครื่องกําเนิดไฟฟ้ านัน้ เราอาจจะใช้มอเตอร์กระแสตรงหรือมอเตอร์กระแสสลับก็ได้
เพียงแต่ให้มคี วามสามารถในการปรับความเร็วของระบบได้ตามต้องการเท่านัน้ ก็พอ ในการทดลองนี้เราจะใช้
Universal Machine เป็ น ตัว ขับ เคลื่อ นเครื่อ งกํา เนิ ด ไฟฟ้ า กระแสตรง โดยใช้ AC Power Supply ปรับ ระดับ
แรงดันทีจ่ ่ายให้ Universal Machine เพื่อควบคุมความเร็วให้มคี ่าคงทีไ่ ด้ตามต้องการ ซึง่ ตัว Universal Machine
นี้กเ็ ป็ นมอเตอร์เหนี่ยวนํา 1 เฟสธรรมดานันเอง่ การเชื่อมต่อ Universal Machine แสดงในรูปที่ 1-5
VARIAC UNIVERSAL MACHINE
AC
V A DC
A1 A2
D1 D2 D3

AC/DC AC DC
V1

L1 N min MAX

0-260V AC 3A 0-230V DC 3A

รูปที ่ 1-5 การเชือ่ มต่อ Universal Machine


ตอนที่ 1-1 ลักษณะการกระตุ้น
ลําดับขัน้ การทดลอง
วิ ธีการสตาร์ท Universal Machine
1. ต่อวงจรของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าเป็ นแบบแยกกระตุ้น ดังแสดงในรูปที่ 1-6 แต่ยงั ไม่ต่อโหลด (สวิตช์
SL “OFF”)
DC SUPPLY SHUNT SW
SL
V A

LOAD
A2
S1 S2

V1

47Ω
min MAX
RFIELD C1
0% 100%
UNIVERSAL

DC GENERATOR
MACHINE
A1
0-230V DC 1.6A
V2
G
A2
POWER
U V W SUPPLY
E2 E1
SHUNT SW F2 F1
B2

1800
A1

47Ω
V1

รูปที ่ 1-6 วงจรประกอบการทดลองเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกกระตุน้

2. จ่ายไฟให้กบั Universal Machine โดยปรับ Main Switch ไปที่ตําแหน่ ง “ON(I)” แล้วค่อย ๆ ปรับ
Variac เพื่อเพิม่ ระดับแรงดันทีจ่ ่ายให้แก่ Universal Machine จะเห็นว่า Machine มีความเร็วเพิม่ ขึน้
3. ค่อย ๆ ทําการเพิม่ ความเร็ว จนกระทังได้ ่ ความเร็วพิกดั ของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง 3000
RPM (วัดด้วยแทโคมิเตอร์)
วิ ธีวดั ลักษณะการกระตุ้น
4. ปรับค่าความต้านทานภายนอก Rfield ทีต่ ่ออนุกรมกับขดลวดสนาม ให้เป็ น “0”
5. ปรับ สวิต ช์ของแหล่ งจ่า ยไฟตรง S1 อยู่ใ นตํ า แหน่ ง “OFF” และ ปรับ ปุ่ มหมุน S2 (สํา หรับ ปรับ
แรงดันวงจรสนาม) ให้อยู่ทต่ี ําแหน่ง 0% บันทึกค่ากระแสสนาม If (วัดด้วยแอมมิเตอร์ A1) และแรงดันอาร์เมเจอร์
Va (วัดด้วยโวลท์มเิ ตอร์ V2)
6. ON สวิตช์ S1
7. ค่อย ๆ ปรับแรงดันสนามด้วยปุ่ม S2 ให้กระแสสนามมีค่าเพิม่ ขึน้ ประมาณ 8 ค่า (ถ้าปรับเลยค่าที่
ต้องการไปแล้วก็หา้ มปรับย้อนกลับ) ในช่วง 0 ถึงค่าพิกดั ที่ 0.21 A (ให้ระวังไม่ให้เข็มของโวลต์มเิ ตอร์ V1, V2
และแอมป์ มิเตอร์ A1 ตีกลับทิศ ถ้าทิศผิดให้สลับให้ถูกต้อง) บันทึกค่ากระแสสนาม (A1) และ แรงดันอาร์เมเจอร์
(V2) ทีไ่ ด้ ทัง้ นี้ให้รกั ษาความเร็วโรเตอร์ไว้ทค่ี ่าพิกดั 3000 RPM ตลอดเวลาด้วยการปรับ Variac ทีจ่ ่ายแรงดัน
ให้กบั Universal Machine
8. ปรับลดกระแสสนามลงไปทางเดียวจาก 0.21-0 A รวมค่าที่ 0 A ด้วย โดยอาศัยการปรับแรงดัน
สนามด้วยปุ่ม S2 บันทึกค่ากระแสสนาม (A1) และแรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) ทัง้ นี้ ให้รกั ษาความเร็วโรเตอร์ไว้ทค่ี ่า
พิกดั 3000 RPM ตลอดเวลาด้วยการปรับ Variac ทีจ่ ่ายแรงดันให้กบั Universal Machine ตามจําเป็ น
9. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํ าภายใน Ea ต่ อกระแส
สนาม If (Magnetization Curve หรือ Internal Characteristics)
หมายเหตุ ในกรณีทย่ี งั ไม่ต่อโหลดให้กบั หม้อแปลง แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําภายใน Ea จะมีค่าเท่ากับ
แรงดันอาร์เมเจอร์ Va (ซึง่ ถูกวัดโดยโวลท์มเิ ตอร์ V2)

ผลการทดลอง

N =______________
ปรับ กระแสสนาม (A1) [ ]
ขึน้ แรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) [ ]
ปรับ กระแสสนาม (A1) [ ]
ลง แรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) [ ]
ตารางที ่ 1-1 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอาร์เมเจอร์และกระแสสนาม

ตอนที่ 1-2 ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับแรงดันขาออก


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้วงจรรูปที่ 3-6 เช่นเดิม หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าให้ได้ความเร็วพิกดั โดยยังไม่จ่ายกระแสสนาม
2. จากนัน้ ปรับความต้านทานภายนอก Rfield ให้เป็ น “0” แล้วจ่ายกระแสสนามให้ได้ค่าพิกดั ที่ 0.21 A
บันทึกค่าความเร็ว (N) และค่าแรงดันอาร์เมเจอร์ (V2)
3. ปรับลดความเร็วประมาณ 6 ค่า ในช่วง 3000-0 RPM บันทึกค่าความเร็วและค่าแรงดันอาร์เมเจอร์
(V2) ทีไ่ ด้โดยรักษากระแสสนาม (A1) ให้คงทีต่ ลอดเวลาด้วยการปรับแรงดันวงจรสนามทีป่ ่ มุ S2
4. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอาร์เมเจอร์ Va กับความเร็ว N

ผลการทดลอง

A1 =_______________
ความเร็วรอบ (N) [ ]
แรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) [ ]
ตารางที ่ 1-2 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอาร์เมเจอร์และความเร็วรอบ
ตอนที่ 1-3 ลักษณะสมบัติโหลดของเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบแยกกระตุ้น
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้วงจรเดิมในรูปที่ 1-6 หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าให้ได้ความเร็วพิกดั โดยยังไม่จ่ายกระแสสนาม
2. จากนัน้ ปรับความต้านทานภายนอก Rfield ให้เป็ น “0” แล้วจ่ายกระแสสนามโดยปรับแหล่งจ่ายไฟ
ตรงทีป่ ่ ุม S2 ให้ได้ค่าแรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) เป็ นค่าพิกดั ที่ 220 V
3. ปรับค่าความต้านทานโหลด RL ให้มคี ่าสูงสุด (100%)
4. “ON” สวิตช์ SL เชื่อมต่ อโหลดเข้ากับวงจรอาร์เมเจอร์ ตรวจสอบทิศของแอมป์ มิเตอร์ A2 ที่วดั
กระแสโหลด (กระแสอาร์เมเจอร์) ให้ถูกต้อง
5. ค่อย ๆ เพิม่ (กระแส) โหลดโดยการปรับลดความต้านทานโหลดและปรับกระแสสนามด้วยปุ่ม S2
ไปพร้อม ๆ กันจนได้แรงดันขาออกและกระแสโหลดเป็ นค่าพิกดั (220 V 1.5 A) โดยรักษาความเร็วให้คงทีท่ ค่ี ่า
พิกดั ตลอดเวลา บันทึกค่ากระแสสนาม (A1)
[Hint: เทคนิคการปรับจุดทํางานให้ได้ค่าพิกดั ให้แบ่งความรับผิดชอบแยกกันอย่างเด็ดขาด โดยนักศึกษา
คนที่ 1 คอยปรับ Variac ให้ความเร็วคงที่ นักศึกษาคนที่ 2 คอยปรับกระแสสนามให้ได้แ รงดันขาออกคงที่
นักศึกษาคนที่ 3 คอยปรับลดความต้านทานโหลดเพิม่ กระแสโหลดไปช้า ๆ จนได้ค่ากระแสพิกดั ]
6. ปรับความต้านทานโหลดเพิม่ ขึน้ ให้คา่ กระแสโหลดลดลงประมาณ 8 ค่าในช่วงศูนย์ถงึ ค่ากระแสพิกดั
1.5 A และให้วดั ค่าที่ No Load ด้วย (โดยการเปิ ดวงจรสวิตช์ SL) บันทึกค่าแรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) และกระแส
โหลด (A2) ทีไ่ ด้ และในการทดลองนี้ให้รกั ษาความเร็วและกระแสสนามให้คงทีท่ ค่ี ่าในข้อ 5 ตลอดเวลา
7. คํานวณหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําภายใน Ea ตามสมการที่ 3-2 บันทึกผลในตารางที่ 1-3
8. คํานวณ Voltage Regulation โดยใช้สมการที่ 3-3
หมายเหตุ ในการทดลองตอนที่ 1-3 และ 1-4 นี้ ในขณะที่ทําการทดลองที่ค่ากระแสสูง (1-1.5 A) ให้
กระทําโดยเร็ว เพราะหากใช้เวลานานจะทําให้ความต้านทานโหลดร้อนจัด

ผลการทดลอง

A1 =_______________ N =_______________
กระแสโหลด (A2) [ ]
แรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) [ ]
RaIa [ ]
Ea=Va+RaIa [ ]
ตารางที ่ 1-3 ลักษณะสมบัตโิ หลดของเครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้ าแบบแยกกระตุน้

การคํานวณหาค่า %V.R:
ตอนที่ 1-4 เครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าแบบขนาน
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 1-7 (ให้ใช้วงจรเดิมในรูปที่ 3-6 เพียงแต่แก้ไขส่วนทีแ่ ตกต่างจากวงจรเดิมตรงที่
ขัว้ ของวงจรสนามจะเชื่อมต่อกับขดลวดอาร์เมเจอร์แทนทีจ่ ะต่อกับแหล่งจ่ายไฟตรง)
SHUNT SW
SL
LOAD

A2
RFIELD
0% 100%

C1
UNIVERSAL

DC GENERATOR
MACHINE
A1
SHUNT SW V2
G
A2
POWER
U V W SUPPLY
V1 E2 E1
A1 F2 F1
B2

1800
47
รูปที ่ 1-7 วงจรประกอบการทดลองเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

2. ปรับความต้านทานภายนอก Rfield ให้อยู่ทต่ี ําแหน่ง “0%”


3. หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าให้ได้ความเร็วพิกดั
4. ค่อย ๆ เพิ่มความต้านทาน Rfield แล้วสังเกตดูว่ามีการ Build-up ของแรงดันหรือไม่ ถ้าไม่มใี ห้
“OFF” ระบบ แล้วกลับทิศการต่อขัว้ วงจรสนามและลองทําใหม่
5. เพิม่ ความต้านทาน Rfield เพื่อปรับกระแสสนามให้ได้ค่าแรงดันขาออกพิกดั
6. ปรับค่าความต้านทานโหลด RL ให้มคี ่าสูงสุด (100%)
7. “ON” สวิตช์ SL เชื่อมต่ อโหลดเข้ากับวงจรอาร์เมเจอร์ ตรวจสอบทิศของแอมป์ มิเตอร์ A2 ที่วดั
กระแสอาร์เมเจอร์ให้ถูกต้อง
8. ค่อย ๆ เพิม่ กระแสโหลดโดยการปรับลดความต้านทานโหลดและปรับกระแสสนามด้วยการปรับ
ความต้านทาน Rfield ไปพร้อม ๆ กันจนได้แรงดันขาออกและกระแสโหลดเป็ นค่าพิกดั (220 V 1.5 A) (วัดโดย
โวลท์มเิ ตอร์ V2 และแอมมิเตอร์ A2 ตามลําดับ) โดยรักษาความเร็วให้คงทีท่ ค่ี ่าพิกดั ตลอดเวลา (ถ้าไม่สามารถ
รักษาแรงดันได้ทค่ี ่าพิกดั ก็อนุโลมให้ปรับเปลีย่ นค่าความเร็วได้เล็กน้อยตามจําเป็ น) บันทึกค่ากระแสสนาม (A1)
และความเร็ว (N)
9. ปรับความต้านทานโหลดเพิม่ ขึน้ ให้คา่ กระแสโหลดลดลงประมาณ 8 ค่าในช่วงศูนย์ถงึ ค่ากระแสพิกดั
1.5 A และให้วดั ค่าที่ No load ด้วย (โดยการเปิ ดวงจรสวิตช์ SL) บันทึกค่าแรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) และกระแส
โหลด (A2) ทีไ่ ด้ และในการทดลองนี้ให้รกั ษาความเร็วให้คงทีต่ ลอดเวลา
10. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอาร์เมเจอร์ Va และกระแสโหลด IL ของเครื่อง
กําเนิดกระแสไฟฟ้ าแบบกระตุ้น (จากผลการทดลองตอนที่ 1-3) และของเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟ้ าแบบขนาน
(จากผลการทดลองตอนที่ 1-4) ลงในกราฟแกนเดียวกัน (External Characteristics)

ผลการทดลอง

A1 =_______________ N =_______________
กระแสโหลด (A2) [ ]
แรงดันอาร์เมเจอร์ (V2) [ ]
ตารางที ่ 1-4 ลักษณะสมบัตโิ หลดของเครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้ าแบบขนาน

ตอนที่ 1-5 การวัดค่าความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์และขดลวดสนาม


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้ Digital Multimeter วัดค่าความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์และขดลวดสนาม
2. จากผลการทดลองตอนที่ 1-3 และ 1-5 คํานวณค่าแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําภายใน Ea แล้วบันทึกผลลง
ในตารางที่ 1-3 โดยใช้ค่าความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ทว่ี ดั ได้ในตารางที่ 1-5
3. จากผลการทดลองตอนที่ 1-3 เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา
ภายใน Ea และกระแสอาร์เมเจอร์ Ia

ผลการทดลอง

ความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ [ ]
ความต้านทานของขดลวดสนาม [ ]
ตารางที ่ 1-5 ค่าความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์และขดลวดสนาม

วิ เคราะห์ผลการทดลอง
1. จากผลการทดลองที่ 1-1 และ 1-2 อยากทราบว่า แรงดันขาออกของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า ขึ้น กับ
กระแสสนามและความเร็วอย่างไร และมีลกั ษณะเป็ นเชิงเส้นหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
2. กราฟ External Characteristics ของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบแยกกระตุน้ ทีว่ ดั ได้ มีลกั ษณะเป็ นเชิง
เส้นหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
3. จากผลการทดลองที่ 1-3 และ 1-4 Voltage Regulation ของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยก
กระตุน้ ดีกว่าแบบขนานหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
4. อื่นๆ
ตอบ____________________________________________________________________

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 2 ลักษณะสมบัติของหม้อแปลงและแกนเหล็ก

วัตถุประสงค์การทดลอง
1.เพื่อเรียนรูล้ กั ษณะทางแม่เหล็กของแกนเหล็ก
2.เพื่อเรียนรูล้ กั ษณะการทํางานของหม้อแปลง
3.เพื่อเรียนรูว้ ธิ กี ารวัดค่าทางไฟฟ้ าของหม้อแปลง
4.เพื่อเข้าใจถึงกําลังสูญต่าง ๆ ในหม้อแปลง

รายละเอียดทัวไปเกี
่ ่ยวกับอุปกรณ์ และเครื่องมือวัด

ชื่ออุปกรณ์ หมายเลขเครือ่ ง พิ กดั /พิ สยั /ชนิ ด/ความแม่นยํา/รายละเอียดอื่นๆ


1. หม้อแปลงเฟสเดียว …………..VA ปฐมภูม.ิ ..…….…..V …..……..A
ทุตยิ ภูมิ ……….....V ………....A
2. โหลดความต้านทาน ……………………………… Ω . ………………. A
3. แหล่งจ่ายไฟสลับ ………………………………. V …………………. A
4.
5.
6.
เครือ่ งมือวัด
1. โวลต์มเิ ตอร์ V1 ชนิด Moving Iron พิสยั …………………………
2. โวลต์มเิ ตอร์ V2 ชนิด Moving Iron พิสยั …………………………
3. แอมป์ มิเตอร์ A1 ชนิด Moving Iron พิสยั …………………………
4. แอมป์ มิเตอร์ A2 ชนิด Moving Iron พิสยั …………………………
5. วัตต์มเิ ตอร์ ชนิด Moving Iron พิสยั แรงดัน ………………………
พิสยั กระแส ……………………..
6.
7.
เนื้ อหาและหลักการทํางานของหม้อแปลงและแกนเหล็ก
แกนเหล็กที่ใช้ทวไปในเครื
ั่ ่องจักรกลไฟฟ้ า มีคุณสมบัติเป็ นแบบไม่เชิงเส้น และมี Hystersis ด้วยดัง
แสดงในรูปที่ 3-1 เพราะฉะนัน้ การนําไปใช้งานจึงจําเป็ นต้องเข้าใจในลักษณะสมบัติเหล่านี้ ค่าความหนาแน่ น
ของสนามแม่เหล็ก B และค่าสนามแม่เหล็ก H ในสารแม่เหล็ก (Magnetic material) ทัวไปจะมี
่ ความสัมพันธ์ตาม
สมการที่ (3-1) โดยปกติ 𝑀𝑀>>𝜇𝜇0 𝐻𝐻 และ M จะแปรตาม H ในลักษณะทีไ่ ม่เป็ นเชิงเส้น
B
c

e
H
O

f g

รูปที ่ 3-1 Hysteresis Loop

สารแม่เหล็กทีไ่ ม่เคยถูกใช้งานมาก่อนจะอยู่ในสภาพที่ H=0 และ M=0 ถ้าเราค่อย ๆ เพิม่ สนามแม่เหล็ก


จากภายนอก ค่าของ B และ H จะเคลื่อนทีไ่ ปตามเส้นโค้ง oc ซึง่ เราเรียกว่า initial magnetization curve จนใน
ทีส่ ุด M ก็จะเริม่ อิม่ ตัว ค่าของ B ก็จะอิม่ ตัวตามไปด้วย ถ้าเราลดสนามแม่เหล็กลงจะได้ว่า ค่าของ B และ H จะ
ไม่เคลื่อนทีต่ ามเส้นทางเดิม แต่จะอยู่บนเส้นโค้ง cd แทน และถ้าเรากลับทิศทางสนามแม่เหล็ก H เราก็จะได้เส้น
โค้ง d --> e --> f ตามลําดับ ถ้าเราเพิม่ และกลับทิศทางอีกครัง้ ก็จะได้เส้นโค้ง f --> g --> c ซึ่งเราเรียกเส้น
โค้งปิ ดนี้ว่า Hysteresis loop เราสามารถคํานวณได้ว่าค่าของพลังงานต่อหน่ วยปริมาตรทีต่ อ้ งใช้ในการทําให้ B-
H หมุนรอบ Hysteresis loop 1 ครัง้ มีค่าเท่ากับสมการที่ (3-2) ดังนัน้ ค่ากําลังงานทีใ่ ช้ไปในการนี้จงึ มีค่าเท่ากับ
สมการที่ (3-3)
𝐵𝐵 = 𝜇𝜇0 𝐻𝐻 + 𝑀𝑀 (3-1)
∫ HdM ≈ ∫ HdB (3-2)
𝑊𝑊ℎ ≈ ∫ HdB × 𝑓𝑓 × Volume (3-3)
โดยที่ 𝑀𝑀 คือ โมเมนต์แม่เหล็ก/หน่วยปริมาตร
𝜇𝜇 คือ ค่า Permeability ของสุญญากาศ
𝑓𝑓 คือความถี่

กําลังงานจํานวนนี้จะเปลี่ยนเป็ นความร้อนแทน ซึ่งเราเรียกว่า Hysteresis loss และในกรณีท่เี ราใช้


สารแม่เหล็กกับไฟฟ้ ากระแสสลับ ค่าของ B จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งจากกฎของฟาราเดย์ (Faraday’s
Law) จะมีการเหนี่ยวนําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าขึน้ ในเนื้อเหล็ก และทําให้เกิดกระแสไฟฟ้ าไหลในทิศทางทีต่ า้ น
การเปลีย่ นแปลงของสนามแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้ นี้เราเรียกว่ากระแสไหลวน (Eddy current) และกําลัง
งานสูญเสียทีเ่ กิดจากความต้านทานในส่วนทีก่ ระแสไหลนี้เรียกว่า Eddy current loss (We) กําลังงานสูญเสียทัง้
สองส่ ว นนี้ คื อ Hysteresis Loss และ Eddy current loss รวมเรี ย กว่ า Core Losses โดยทั ว่ ไปเราจะได้
ความสัมพันธ์ว่า
𝑊𝑊ℎ ≈ 𝐾𝐾ℎ fB 𝑥𝑥 × Volume (3-4)
𝑊𝑊𝑒𝑒 ≈ 𝐾𝐾𝑒𝑒 𝑓𝑓 2 𝐵𝐵 2 Volume (3-5)
โดยที่ x มีค่าประมาณ 1.6 ~ 2 ขึน้ กับชนิดของแกนเหล็ก

ในการวัดคุณสมบัติ B-H ของแกนเหล็ก เนื่องจากโดยทัวไปเราไม่่ สามารถจะวัดสนามแม่เหล็กในแกน


เหล็กได้โดยตรง เราจึงนิยมวัดค่าทางไฟฟ้ าทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั สนามแม่เหล็กแทน โดยอาศัยความสัมพันธ์ทว่ี ่า
𝑑𝑑𝑑𝑑
Faraday’s Law 𝑒𝑒 = − dt (3-6)
Ampere’s Law ∮ 𝐻𝐻 ���⃗ = ∑ NI
�⃗ ⋅ dl (3-7)

หม้อแปลงเป็ นอุปกรณ์ทางไฟฟ้ าที่มกี ารใช้อย่างแพร่หลาย โดยอาศัยคุณสมบัตขิ องแกนเหล็กและการ


เหนี่ยวนําทางแม่เหล็กไฟฟ้ าจากกฎของฟาราเดย์และแอมแปร์ ช่วยในการส่งผ่านกําลังงานไฟฟ้ าทีร่ ะดับแรงดัน
หนึ่งไปยังอีกระดับแรงดันหนึ่ง ชนิดของหม้อแปลงมีหลายแบบขึน้ อยู่กบั จุดประสงค์ในการใช้งาน
ขนาดของหม้อแปลงก็มตี งั ้ แต่ไม่ก่ี VA ทีใ่ ช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไปจนถึงขนาดหลาย MVA ในระบบส่ง
ไฟกําลังสูง กล่าวโดยทัวไปแล้
่ ว หม้อแปลงทุกชนิดมีคุณสมบัติพ้นื ฐานเหมือนกัน โดยทีว่ งจรสมมูลของหม้อ
แปลง สามารถเขียนได้ดงั แสดงในรูปที่ 3-2 ค่าคงที่ ต่าง ๆ ในวงจรสมมูลสามารถหาได้จาก (1) การทดลอง
วงจรเปิ ด (2) การทดลองลัดวงจร และ (3) การวัดความต้านทานของขดลวด
r1 X1 X2 r2 X r

b g b g

รูปที ่ 3-2 (a) วงจรสมมูลของหม้อแปลง รูปที ่ 3-2 (b) วงจรสมมูลโดยประมาณ

ค่าพืน้ ฐานทีบ่ ่งบอกถึงลักษณะสมบัตขิ องหม้อแปลง มีดงั นี้คอื


1. แรงดันอิ มพีแดนซ์ S
คือแรงดันทีต่ กคร่อมอิมพีแดนซ์ (ค่าความต้านทาน+ค่าความเหนี่ยวนํารัวไหลของขดลวด)
่ ของหม้อ
แปลงเมื่อกระแสพิกดั ไหลผ่าน ซึง่ โดยปกติจะคิดเป็ น % เทียบกับแรงดันพิกดั
�𝑍𝑍𝐼𝐼⃗𝑁𝑁 � |(𝑟𝑟+jx)𝐼𝐼𝑁𝑁 |
𝑆𝑆= |𝑉𝑉𝑁𝑁 |
× 100 = |𝑉𝑉𝑁𝑁 |
× 100 (3-8)

𝑆𝑆= �(rI𝑁𝑁 /𝑉𝑉𝑁𝑁 )2 + (xI𝑁𝑁 /𝑉𝑉𝑁𝑁 )2 × 100 (3-9)

= �𝑝𝑝2 + 𝑞𝑞 2 (3-10)
โดยที่ z = r+jx: อิมพีแดนซ์สมมูลของหม้อแปลง
IN: กระแสพิกดั
VN: แรงดันพิกดั
S: Impedance voltage (%)
p: resistance voltage (%)
q: reactance voltage (%)

2. Voltage regulation ε
เป็ นค่าทีบ่ อกถึงการเปลีย่ นแปลงของแรงดันขาออกของหม้อแปลงเปรียบเทียบระหว่างสภาวะไร้โหลดกับ
สภาวะทีม่ โี หลดเป็ นค่าพิกดั โดยคิดเป็ น % เทียบกับแรงดันพิกดั สามารถหาได้จากสมการที่ (3-11)
หมายเหตุ : ในกรณีท่ี แรงดันอิมพีแดนซ์มคี ่าตํ่า เราอาจประมาณได้จากสมการที่ (3-12)

𝑉𝑉noload −𝑉𝑉𝑁𝑁
𝜀𝜀 = 𝑉𝑉𝑁𝑁
× 100 (3-11)
𝜀𝜀 ≈ 𝑝𝑝cos𝜙𝜙 + 𝑞𝑞sin𝜙𝜙 (3-12)

โดยที่ 𝜀𝜀: Voltage regulation


𝑉𝑉noload: แรงดันขณะทีไ่ ม่มโี หลด
𝜙𝜙: ค่าตัวประกอบกําลังของโหลด

3. ประสิ ทธิ ภาพและกําลังสูญ


กําลังสูญทีเ่ กิดขึน้ ในหม้อแปลงมีด้วยกันใหญ่ๆ 2 อย่างคือ กําลังสูญทีเ่ กิดจากแกนเหล็ก (core losses)
และกําลังสูญทีเ่ กิดจากความต้านทานในขดลวด (copper losses)
a. กําลังสูญไม่มโี หลด (𝑃𝑃NL ) เป็ นกําลังสูญทีเ่ กิดจาก core losses เสียส่วนใหญ่ เนื่องจากกระแส
กระตุน้ มีค่าน้อยมาก copper loss จึงสามารถละเลยได้ในขณะไม่มโี หลด
b. กําลังสูญเนื่องจากโหลด (𝑃𝑃𝐿𝐿 ) เป็ นกําลังสูญที่เกิดจากการที่กระแสโหลดไหลผ่าน
ขดลวดในหม้อแปลงและเกิดการสูญเสียในความต้านทานของขดลวด ซึง่ ก็คอื copper losses รวมกับกําลังสูญที่
เกิดในโครงสร้างส่วนอื่นๆ ของหม้อแปลงในขณะทีม่ กี ระแสโหลดไหลและทําให้การกระจายของสนามแม่เหล็ก
เปลีย่ นแปลงด้วย เพราะฉะนัน้ กําลังสูญรวมของหม้อแปลง ณ ค่าโหลดใด ๆ อาจประมาณได้จากผลรวมระหว่าง
กําลังสูญไม่มโี หลดและกําลังสูญเนื่องจากโหลด ณ ค่าโหลดนัน้ ๆ ดังนัน้ ในการหาประสิทธิภาพของหม้อแปลง
เราสามารถคํานวณได้โดยตรงจากสมการที่ (3-13) หรือจะคํานวณค่าโดยประมาณจากสมการที่ (3-14) แทนก็ได้
ค่ า ประสิท ธิภ าพที่คํ า นวณจากสมการที่ (3-14) เรีย กว่ า conventional efficiency ซึ่ง อาจมีค่ า แตกต่ า งจาก
ประสิทธิภาพทีว่ ดั ได้จริงจากกําลังขาเข้าและขาออกโดยตรง
𝑃𝑃
Measured efficiency 𝜂𝜂 = 𝑃𝑃𝑜𝑜 × 100 (3-13)
in
𝑃𝑃
Conventional efficiency 𝜂𝜂 = 𝑃𝑃 +𝑃𝑃 𝑜𝑜 +𝑃𝑃 × 100 (3-14)
𝑜𝑜 NL 𝐿𝐿
โดยที่ Pin: กําลังขาเข้า
Po: กําลังขาออก
ตอนที่ 3-1 Open Circuit Test
ลําดับขัน้ การทดลอง
1.ต่อวงจรตามรูปที่ 6-3 ปรับวาริแอคของแหล่งจ่ายไฟให้อยู่ทต่ี ําแหน่ง “MIN”
2.จ่ายแรงดันปฐมภูมิ (วัดโดยโวลท์มเิ ตอร์ V1) ให้ได้ค่าพิกดั 220 V
3.บันทึกค่าแรงดันปฐมภูมิ (V1), แรงดันทุตยิ ภูมิ (V2), กระแสปฐมภูมิ (A1) และกําลังขาเข้า (W)
4.ลดแรงดันด้านปฐมภูมลิ งให้ได้ค่าประมาณ 7 ค่าในช่วง 220-0 โวลท์ แล้วบันทึกค่าตามข้อ 3
5.จากผลการทดลอง เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันปฐมภูมแิ ละกระแสปฐมภูมิ
(V1-A1) , กําลังขาเข้าและแรงดันปฐมภูมิ (W-V1), แรงดันทุตยิ ภูมแิ ละแรงดันปฐมภูมิ (V3-V1)
หมายเหตุ ก. เนื่องจากกระแสกระตุน้ มีค่าน้อย (< 100 mA) ควรเลือกใช้แอมป์ มิเตอร์ให้เหมาะสม
ข. การใช้ วตั ต์มิเตอร์ให้ตงั ้ สเกลกระแสและแรงดันอยู่ที่ค่าสูงสุดก่อนทําการทดลอง
เสมอ เพือ่ ป้ องกันความเสียหายที่อาจจะเกิ ดขึน้ ได้

SHUNT SW
VARIAC 220V, 1.36A

TRANSFORMER
V A
U1 U2 U3 U4

V1 A1
u1 u2 u3 u4
V1
W
L1 N min MAX
110V, 2.73A

0-260V AC 3A 0-230V DC 3A
V2

รูปที ่ 3-3 Open Circuit Test

ผลการทดลอง

แรงดันปฐมภูมิ (V1) [ ]
แรงดันทุติยภูมิ (V2) [ ]
กระแสปฐมภูมิ (A1) [ ]
กําลังขาเข้า (W) [ ]
ตารางที ่ 3-1 ผลการทดลองของวงจร Open Circuit Test
ตอนที่ 3-2 Short circuit test
ลําดับขัน้ การทดลอง
1.ต่อวงจรตามรูปที่ 3-4 ปรับวาริแอคของแหล่งจ่ายให้อยู่ทต่ี ําแหน่ง “MIN”
2.จ่ายแรงดันให้กบั หม้อแปลงทางด้านปฐมภูมทิ ลี ะน้ อย (แรงดันที่ใช้จะไม่เกิน 20 V) พร้อมทัง้ สังเกต
ค่ากระแสทางด้านทุตยิ ภูมิ (วัดโดยแอมมิเตอร์ A2) ให้ได้ค่ากระแสทุตยิ ภูมเิ ป็ นค่าพิกดั 2.73 A
3.บันทึกค่าแรงดันปฐมภูมิ (V1), กระแสปฐมภูมิ (A1),กระแสทุตยิ ภูมิ (A2) และกําลังขาเข้า (W)
4.ลดค่ากระแสทุตยิ ภูมใิ ห้ได้ค่าประมาณ 7 ค่าในช่วง 2.73-0 แอมป์ แล้วบันทึกค่าตามข้อ 3
5.เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกําลังขาเข้าและกระแสปฐมภูมิ (W-A1), กระแสทุตยิ ภูมิ
และกระแสปฐมภูมิ (A3-A1) จากผลการทดลอง
6.คํานวณหาและเขียนวงจรสมมูลโดยประมาณของหม้อแปลงอ้างอิงทางด้านแรงสูง โดยอาศัยข้อมูลจาก
การทํา Open Circuit และ Short Circuit Test (เราทําการทดลองทางด้านแรงสูงตลอด)
7.คํานวณหาค่าแรงดันอิมพีแดนซ์ S ตามสมการที่ (3-8)
หมายเหตุ เนื่องอิมพีแดนซ์ของหม้อแปลงในขณะลัดวงจรมีค่าน้อย ตัองระวังไม่จ่ายแรงดันทางด้านปฐม
ภูมมิ ากจนเกินไป เพราะจะทําให้เกิดกระแสเกินและหม้อแปลงอาจเสียหายได้

SHUNT SW
VARIAC 220V, 1.36A

TRANSFORMER
V A
U1 U2 U3 U4

V1 A1
u1 u2 u3 u4
V1
W
L1 N min MAX
110V, 2.73A

0-260V AC 3A 0-230V DC 3A SHUNT SW

A2

รูปที ่ 3-4 Short Circuit Test


ผลการทดลอง

แรงดันปฐมภูมิ (V1) [ ]
กระแสปฐมภูมิ (A1) [ ]
กระแสทุติยภูมิ (A2) [ ]
กําลังขาเข้า (W) [ ]
ตารางที ่ 3-2 ผลการทดลองของวงจร Short Circuit Test
แสดงการคํานวณหาวงจรสมมูล:

r1=______ X1=______ X2=______ r2=______

b=______ g=______

แสดงการคํานวณหาแรงดันอิ มพิ แดนซ์ S:


ตอนที่ 3-3 การวัดลักษณะสมบัติโหลด
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 3-5 ปรับวาริแอคของแหล่งจ่าย ให้อยู่ทต่ี ําแหน่ง “MIN”
2. “ON” สวิต ช์ SL ทางด้า นโหลดของขดลวดทุ ติย ภู มิ ปรับ ความต้า นทานโหลดให้อ ยู่ท่ีตํ า แหน่ ง
“100%” (ความต้านทานโหลดมีค่ามากทีส่ ดุ ) แล้วปรับวาริแอคให้ได้แรงดันทุตยิ ภูมิ V2 เป็ นค่าพิกดั 110 V
3. ค่อย ๆ เพิม่ กระแสทุตยิ ภูมิ โดยการลดความต้านทานโหลดลงทีละน้อย จนกระทังกระแสทุ ่ ตยิ ภูมมิ ี
ค่าพิกดั ที่ 2.73 A พร้อมกันนัน้ ก็ให้ปรับแวริแอกให้แรงดันทางด้านทุตยิ ภูมมิ คี ่าคงทีโ่ ดยประมาณทีค่ ่าพิกดั 110
V ตลอดเวลาด้วย
หมายเหตุ ในการทดลองนี้ ตัวเฟรมภายนอกของความต้านทานโหลดจะร้อนมากพอสมควร ให้ระวังการ
สัมผัสในส่วนนี้ดว้ ย เพราะอาจทําให้ได้รบั บาดเจ็บได้
4. เมื่อปรับค่ากระแสทุตยิ ภูมแิ ละแรงดันทุตยิ ภูมจิ นได้ค่าพิกดั พร้อมกันแล้ว ให้บนั ทึกค่าแรงดันปฐม
ภูมิ (V1), แรงดันทุตยิ ภูมิ (V2), กระแสปฐมภูมิ (A1),กระแสทุตยิ ภูมิ (A2) และกําลังขาเข้า (W)
5. ลดค่ากระแสทุตยิ ภูมใิ ห้ได้ค่าประมาณ 7 ค่าในช่วง 2.73-0 แอมป์ (ให้ทําที่ No Load ด้วยโดยเปิ ด
วงจรสวิตช์ SL) แล้วบันทึกค่าตามข้อ 4 โดยคงค่าแรงดันปฐมภูมไิ ว้ท่คี ่าทีว่ ดั ได้ในข้อ 4 ถ้าในขณะปรับโหลด
แรงดันปฐมภูมิ V1 มีค่าเปลีย่ นไปจากค่าทีว่ ดั ได้ในข้อ 4 ก็ให้ปรับแวริแอกได้ตามจําเป็ น
6. คํานวณค่ากําลังด้านออกของหม้อแปลง (กําลังด้านออก=แรงดันทุตยิ ภูมกิ ระแสทุตยิ ภูม)ิ
7. คํานวณค่า Measured efficiency ตามสมการที่ (3-13) บันทึกผลการทดลองในตารางที่ 3-3
8. คํานวณค่า Conventional efficiency ที่ Full Load ตามสมการที่ (3-14) โดยอาศัยข้อมูล Core Loss
จากผลการทดลองตอนที่ 3-1 และข้อมูล Full-Load Copper Loss จากผลการทดลองตอนที่ 3-2
9. คํานวณหาค่า voltage regulation ตามสมการที่ (3-11)
10. จากผลการทดลอง เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันทุตยิ ภูมแิ ละกระแส ทุตยิ
ภูมิ (V3-A2), ประสิทธิภาพและกระแสทุตยิ ภูมิ (η-A2)
SHUNT SW
220V, 1.36A

LOAD
VARIAC
TRANSFORMER

V A
U1 U2 U3 U4

V1 A1
u1 u2 u3 u4

V1
W
min MAX 110V, 2.73A
L1 N

V2
0-260V AC 3A 0-230V DC 3A

SHUNT SW U V W

SL

A2

รูปที ่ 3-5 การวัดลักษณะสมบัตโิ หลด


ผลการทดลอง

แรงดันปฐมภูมิ (V1) [ ]
แรงดันทุติยภูมิ (V2) [ ]
กระแสปฐมภูมิ (A1) [ ]
กระแสทุติภมู ิ (A2) [ ]
กําลังด้านเข้า (W) [ ]
กําลังด้านออก (คํานวณ) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ η (คํานวณ) [ ]
ตารางที ่ 3-3 ลักษณะสมบัตโิ หลด

แสดงการคํานวณหาค่า Measured efficiency ที่ Full Load:

แสดงการคํานวณค่า Conventional efficiency ที่ Full Load:

แสดงการคํานวณหาค่า voltage regulation:


ตอนที่ 3-4 การวัดลักษณะสมบัติโหลด
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้ Digital Multimeter วัด ค่ า ความต้า นทานของขดลวดทัง้ ทางด้า นปฐมภู มิแ ละทุ ติย ภู มิทุ ก ขด
บันทึกผลในตารางที่ 3-4

ผลการทดลอง

ความต้านทานของขดลวดปฐมภูมิ [ ]
ความต้านทานของขดลวดทุติยภูมิ [ ]
ตารางที ่ 3-4 ความต้านทานของขดลวด
วิ เคราะห์ผลการทดลอง
1. จงเปรียบเทียบค่าแรงดันอิมพีแดนซ์ S กับค่า Voltage regulation ทีค่ าํ นวณได้
ตอบ____________________________________________________________________
2. จงเปรียบเทียบค่า Measured efficiency กับค่า Conventional efficiency ที่ Full Load
ตอบ____________________________________________________________________
3. อื่นๆ
ตอบ____________________________________________________________________

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 3 การควบคุมคุณสมบัติโหลดของมอเตอร์กระแสตรงด้วยวิ ธีต่างๆ

วัตถุประสงค์การทดลอง
1. เพื่อทดลองหาลักษณะสมบัตโิ หลด (แรงบิด-ความเร็ว) ของมอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุ้น ที่
แรงดันอาร์เมเจอร์ค่าต่างๆ
2. เพื่อทดลองหาลักษณะสมบัตโิ หลด (แรงบิด-ความเร็ว) ของมอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุ้น ที่
ความต้านทานอาร์เมเจอร์ค่าต่างๆ
3. เพื่อทดลองหาลักษณะสมบัตโิ หลด (แรงบิด-ความเร็ว) ของมอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุ้น ที่
กระแสสนามค่าต่างๆ

รายละเอียดทัวไปเกี
่ ่ยวกับอุปกรณ์ และเครื่องมือวัด

ชื่ออุปกรณ์ หมายเลขเครือ่ ง พิ กดั /พิ สยั /ชนิ ด/ความแม่นยํา/รายละเอียดอื่นๆ


………………… W ……………… RPM
1. มอเตอร์กระแสตรง Armature: ……………… V ………………… A
Field…………………….. V ………………... A
2. Electromagnetic Brake
3. แหล่งจ่ายไฟ Elec. Brake …………………………….. V ……………….. A
4. แหล่งจ่ายไฟตรง …………………………….. V ……………….. A
5. โหลดความต้านทาน …………………………… Ω . ……………… A

เครือ่ งมือวัด
1. แทโคมิเตอร์ ชนิดแสง
2. โวลต์มเิ ตอร์ V1 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
3. โวลต์มเิ ตอร์ V2 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
4. แอมป์ มิเตอร์ A1 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
5. แอมป์ มิเตอร์ A2 ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
เนื้ อหาและหลักการทํางาน
มอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุ้นเป็ นมอเตอร์กระแสตรงที่มใี ช้กนั มากที่สุดในงานอุตสาหกรรม และ
โดยทัวไปแล้
่ วเรามักจะต้องทําการควบคุมหรือปรับเปลีย่ นความเร็วของมอเตอร์ให้มคี ่าตามความต้องการของ
ระบบ การทีจ่ ะปรับเปลีย่ นความเร็วรอบของมอเตอร์มอี ยู่ดว้ ยกันหลายวิธี ในการทดลองนี้เราจะทําการศึกษาการ
ปรับเปลีย่ นลักษณะสมบัตโิ หลด (ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับความเร็ว) โดยการ
1. ปรับแรงดันอาร์เมเจอร์ (Armature Voltage Control)
2. ปรับความต้านทานอาร์เมเจอร์ดว้ ยการต่อความต้านทานภายนอก (Armature Resistance Control)
3. ปรับกระแสสนาม (Field Control) ซึ่งในแต่ละวิธกี จ็ ะทําให้เราได้ลกั ษณะสมบัตโิ หลดของมอเตอร์ท่ี
เปลีย่ นไป ทําให้จุดทํางานของระบบมอเตอร์และโหลดเปลีย่ นไปนันเอง

สมการทางไฟฟ้ าและสมการแรงบิดของมอเตอร์กระแสตรงแสดงดังนี้คอื

วงจรอาร์เมเจอร์ 𝑣𝑣𝑎𝑎 = 𝑅𝑅𝑎𝑎 𝑖𝑖𝑎𝑎 + 𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖𝑓𝑓 )𝜔𝜔𝑚𝑚 (3-1)

แรงบิด𝜏𝜏 = 𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖𝑓𝑓 )𝑖𝑖𝑎𝑎 (3-2)

โดยที่ va : แรงดันอาร์เมเจอร์ ia : กระแสอาร์เมเจอร์


if : กระแสสนาม Ra : ค่าความต้านทานของวงจรอาร์เมเจอร์
k : ค่าคงทีอ่ าร์เมเจอร์ ωm : ความเร็วรอบของมอเตอร์
𝜏𝜏: แรงบิดทีม่ อเตอร์สร้าง

เราสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับความเร็วได้ดงั นี้ คือ


𝑉𝑉𝑎𝑎 −𝑅𝑅𝑎𝑎 𝑖𝑖𝑎𝑎
𝜔𝜔𝑚𝑚 = 𝐸𝐸𝑎𝑎 ⁄𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖𝑓𝑓 ) = 𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖𝑓𝑓 )

𝑉𝑉 𝑅𝑅
𝑎𝑎
= 𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖 )
− [𝑘𝑘𝑘𝑘 (𝑖𝑖𝑎𝑎 )]2 ⋅ 𝜏𝜏 (3-3)
𝑓𝑓 𝑓𝑓

จากสมการข้างต้น ถ้าเราเปลีย่ นค่าแรงดันอาร์เมเจอร์เราจะได้ลกั ษณะสมบัตโิ หลดทีเ่ ปลีย่ นไปดังแสดงใน


รูปที่ 3-2 และถ้าเราเพิม่ ความต้านทานภายนอกเพื่อทําให้ Ra เปลี่ยนแปลง เราจะได้ลกั ษณะสมบัติโหลดดัง
แสดงในรูปที่ 3-3 ส่วนในกรณีทเ่ี ราปรับเปลีย่ นค่ากระแสสนามนัน้ ก็จะทําให้ลกั ษณะสมบัตโิ หลดเปลีย่ นไปดังรูปที่
3-4
รูปที ่ 3-1 ลักษณะแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์ รูปที ่ 3-2 ลักษณะแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์
กระแสตรงแบบแยกกระตุน้ และจุดทํางานเมือ่ มีโหลด กระแสตรงเมือ่ เปลีย่ นแรงดันอาร์เมเจอร์

รูปที ่ 3-3 ลักษณะแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์ รูปที ่ 3-4 ลักษณะแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์


กระแสตรงเมือ่ เปลีย่ นความต้านทานของวงจรอาร์เมเจอร์ กระแสตรงเมือ่ เปลีย่ นกระแสสนาม
ข้อปฏิ บตั ิ ในการทําการทดลอง
1. ตรวจเช็คสายไฟในวงจรสนามว่าต่อได้ถูกต้องและแน่นไม่หลุดง่าย
2. ขัน้ ตอนการ OFF ระบบ ให้ทาํ ย้อนขัน้ ตอนการสตาร์ท

ตอนที่ 3-1 วิ ธีการสตาร์ทมอเตอร์


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 3-5 โดยปรับให้ความต้านทาน Starter มีค่าสูงสุด
2. ปรับสวิตช์ S1, S3 อยู่ในตําแหน่ ง “OFF” และ ปรับปุ่มหมุน S2 (สําหรับปรับแรงดันอาร์เมเจอร์)
และ ปุ่ม S4 (สําหรับปรับแรงดันวงจรสนาม) ให้อยู่ในตําแหน่งซ้ายสุด (ค่าน้อยทีส่ ดุ )
3. ON สวิตช์ S1 และ S3 ตามลําดับ
4. ปรับแรงดันสนามด้วยปุ่ม S4 ให้ได้กระแสสนามเป็ นค่าพิกดั ที่ 0.21 A (วัดโดยแอมมิเตอร์ A1)
5. ทําการสตาร์ทมอเตอร์ โดยค่อยๆ ปรับแรงดันอาร์เมเจอร์ดว้ ยปุ่ม S2 และสังเกตกระแสอาร์เมเจอร์
ในขณะสตาร์ท (วัดโดยแอมมิเตอร์ A2) จนกระทังได้ ่ แรงดันเป็ น 220 V (วัดโดยโวลท์มเิ ตอร์ V2)
6. ค่อยๆ ลดความต้านทาน Starter จนกระทังเป็ ่ น 0 ให้สงั เกตการเปลี่ยนแปลงของความเร็วและ
กระแสอาร์เมเจอร์ว่าเพิม่ ขึน้ หรือลดลงอย่างไร เป็ นอันสิน้ สุดการสตาร์ทมอเตอร์
7. ทําการหยุดมอเตอร์โดยทําย้อนขัน้ ตอนที่ 7 ถึงขัน้ ตอนที่ 2

VARIAC DC SUPPLY R_STARTER


0% 100%
V A V A

DC MOTOR
C1
ELECTRO
MAGNETIC
S1 S2 S3 S4 A1 BRAKE

V1 V1 M
min MAX min MAX SHUNT SW A2
POWER
SUPPLY
E2 E1
L1 N F1
F2
B2
0-260V AC 3A 0-230V DC 3A 0-230V DC 1.6A
A2 V2

SHUNT SW

V1
A1

รูปที ่ 3-5 วงจรประกอบการทดลองมอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุน้


ตอนที่ 3-2 การควบคุมคุณสมบัติโหลดโดยการปรับแรงดันอาร์เมเจอร์
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้วงจรเดิมในรูปที่ 3-5 ทําการสตาร์ทมอเตอร์ตามขัน้ ตอนที่ 3-7 ของการทดลองตอนที่ 3-1
2. ปรับ Variac ทีจ่ ะจ่ายไฟให้แก่ Electromagnetic Brake ทีต่ ําแหน่ ง “0 V” บันทึกค่าแรงบิดทีอ่ ่านได้
(ค่า Offset ของการวัดแรงบิด)
3. ปรับกระแสสนามด้วยปุ่ม S4 ให้ได้ค่ากระแสสนามเป็ น 0.21 A (วัดโดยแอมมิเตอร์ A1)
4. ค่อยๆ ทําการเพิม่ โหลด ด้วยการปรับ Variac เพิม่ ระดับแรงดันทีจ่ ่ายให้แก่ Electromagnetic Brake
และสังเกตดูการเพิม่ ของกระแสอาร์เมเจอร์ ถ้าทิศทางแรงบิดถูกต้องกระแสอาร์เมเจอร์จะมีค่าเพิม่ ขึน้ ตามการ
เพิม่ ของแรงบิดโหลด จนกระทังกระแสอาร์
่ เมเจอร์มคี ่าพิกดั 1.5 A
5. ปรับลดกระแสสนามด้วยปุ่ม S4 ให้ได้ความเร็วพิกดั ในขณะเดียวกันก็พยายามรักษากระแสอาร์
เมเจอร์ให้มคี ่าพิกดั เท่าเดิมด้วยโดยการปรับ Variac ตามจําเป็ น
[Hint: เทคนิ ค การปรับ จุ ด ทํา งานให้ไ ด้ค่ า พิก ัด ให้แ บ่ ง ความรับ ผิด ชอบแยกกัน อย่ า งเด็ด ขาด โดย
นักศึกษาคนที่ 1 คอยปรับ Variac ให้ได้ค่ากระแสอาร์เมเจอร์คงทีท่ ่คี ่าพิกดั นักศึกษาคนที่ 2 คอยปรับกระแส
สนามให้ได้ความเร็วเป็ นค่าพิกดั ]
6. ถ้าทุกอย่างถูกต้องจะได้สภาวะทีม่ อเตอร์ทาํ งานทีแ่ รงดันและกระแสอาร์เมเจอร์พกิ ดั และความเร็วก็
มีค่าพิกดั ด้วย (กระแสสนามอาจมีค่าแตกต่างจากค่าพิกดั ได้)
7. บันทึกค่าความเร็ว N (อ่านจากแทโคมิเตอร์) ค่ากระแสและแรงดันอาร์เมเจอร์ A2, V2 ค่ากระแสและ
แรงดันในวงจรสนาม A1, V1 ทีไ่ ด้
8. ลดค่าแรงบิดโหลดลงทีค่ ่าต่างๆ ประมาณ 5 ค่า แล้วทําการบันทึกค่าแรงบิด ความเร็ว และกระแส
อาร์เมเจอร์ A2 โดยต้องรักษาค่ากระแสสนาม และแรงดันอาร์เมเจอร์ให้มคี ่าคงที่ ณ ค่าทีอ่ ่านได้ในข้อ 7 ตลอด
การทดลองนี้ดว้ ย

หมายเหตุ ในการทดลองทีโ่ หลดค่าสูง(กระแสสูง) ให้กระทําโดยเร็วเพื่อมิให้มอเตอร์รอ้ นจัด

9. ปรับปุ่ม S2 เพื่อลดแรงดันอาร์เมเจอร์ลงทีค่ ่า 180 และ 140 V แล้วทําการทดลองซํ้าในข้อ 4-8


10. เมื่อทําการทดลองข้อ 9 เสร็จแล้ว ให้ปรับโหลดให้มคี ่าน้อยๆ (ประมาณ 0.1 Nm) เพื่อให้แรงบิด
โหลดมีค่าเป็ น “0” จากนัน้ จึงค่อย “OFF” Variac และบันทึกค่าแรงบิด ความเร็ว และกระแสอาร์เมเจอร์ A2

หมายเหตุ การที่เ ราต้อ งลดโหลดให้มีค่า ตํ่า ก่อ น “OFF” Variac ก็เ พื่อ มิใ ห้เ กิดการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสอาร์เมเจอร์อย่างกระทันหัน ซึง่ อาจทําให้เกิดประกายไฟทีแ่ ปรงถ่านได้

11. ให้ทาํ การหยุดมอเตอร์โดยทําย้อนขัน้ ตอนที่ 7 ถึงขัน้ ตอนที่ 2 ของการทดลองตอนที่ 6-1


12. คํานวณค่ากําลังขาเข้า กําลังขาออก และค่าประสิทธิภาพ
13. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วรอบและแรงบิดโหลด (N-τ) ทีค่ ่าแรงดันอาร์
เมเจอร์ต่างๆ
ผลการทดลอง

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-1 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่าแรงดันอาร์เมเจอร์ต่าง ๆ

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-2 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่าแรงดันอาร์เมเจอร์ต่าง ๆ
ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________
ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 6-3 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่าแรงดันอาร์เมเจอร์ต่าง ๆ

ตอนที่ 3-3 การควบคุมคุณสมบัติโหลดโดยการปรับกระแสสนาม


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้วงจรเดิมในรูปที่ 3-5 ทําการสตาร์ทมอเตอร์ตามขัน้ ตอนที่ 3-7 ของการทดลองตอนที่ 3-1
2. ปรับ Variac ทีจ่ ะจ่ายไฟให้แก่ Electromagnetic Brake ทีต่ ําแหน่ ง “0 V” บันทึกค่าแรงบิดทีอ่ ่านได้
(ค่า Offset ของการวัดแรงบิด)
3. ปรับกระแสสนามด้วยปุ่ม S4 ให้ได้ค่ากระแสสนามเป็ น 0.18 A
4. ทําการทดลองซํ้าในข้อ 4-8 ของการทดลองตอนที่ 3-2
5. ปรับปุ่ม S4 เพื่อลดกระแสสนามลงทีค่ ่า 0.15 A แล้วทดลองซํ้าในข้อ 4-8 ของการทดลองตอนที่ 3-2
6. เมื่อทําการทดลองข้อ 5 เสร็จแล้ว ให้ปรับโหลดให้มคี ่าน้อยๆ (ประมาณ 0.1 Nm) เพื่อให้แรงบิด
โหลดมีค่าเป็ น “0” จากนัน้ จึงค่อย “OFF” Variac และบันทึกค่าแรงบิด ความเร็ว และกระแสอาร์เมเจอร์ A2

หมายเหตุ การที่เ ราต้อ งลดโหลดให้มีค่า ตํ่า ก่อ น “OFF” Variac ก็เ พื่อ มิใ ห้เ กิดการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสอาร์เมเจอร์อย่างกระทันหัน ซึง่ อาจทําให้เกิดประกายไฟทีแ่ ปรงถ่านได้

7. ทําการหยุดมอเตอร์ โดยทําย้อนขัน้ ตอนที่ 7 ถึงขัน้ ตอนที่ 2 ของการทดลองตอนที่ 3-1


8. คํานวณค่ากําลังขาเข้า กําลังขาออก และค่าประสิทธิภาพ
9. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วรอบและแรงบิดโหลด (N-τ) ทีค่ ่าแรงดันอาร์
เมเจอร์ต่างๆ
ผลการทดลอง

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-4 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่ากระแสสนามต่าง ๆ

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-5 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่ากระแสสนามต่าง ๆ
ตอนที่ 3-4 การควบคุมคุณสมบัติโหลดโดยการปรับความต้ านทานอาร์เมเจอร์
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ใช้วงจรตามรูปที่ 3-6 ทําการสตาร์ทมอเตอร์ตามขัน้ ตอนที่ 3-7 ของการทดลองตอนที่ 3-1
2. ปรับความต้านทานทีต่ ่ออนุกรมในวงจรอาร์เมเจอร์ท่ี 100%
3. ปรับ Variac ทีจ่ ะจ่ายไฟให้แก่ Electromagnetic Brake ทีต่ ําแหน่ ง “0 V” บันทึกค่าแรงบิดทีอ่ ่านได้
(ค่า Offset ของการวัดแรงบิด)
4. ปรับกระแสสนามด้วยปุ่ม S4 ให้ได้ค่ากระแสสนามเป็ น 0.21 A
5. ทําการทดลองซํ้าในข้อ 4-8 ของการทดลองตอนที่ 3-2
6. ปรับลดความต้านทานที่ต่ออนุ กรมในวงจรอาร์เมเจอร์ลงที่ 80% ทําการทดลองซํ้าในข้อ 4-8 ของ
การทดลองตอนที่ 3-2
7. เมื่อทําการทดลองข้อ 6 เสร็จแล้ว ให้ปรับโหลดให้มคี ่าน้อยๆ (ประมาณ 0.1 Nm) เพื่อให้แรงบิด
โหลดมีค่าเป็ น “0” จากนัน้ จึงค่อย “OFF” Variac และบันทึกค่าแรงบิด ความเร็ว และกระแสอาร์เมเจอร์ A2
หมายเหตุ การที่เ ราต้อ งลดโหลดให้มีค่า ตํ่า ก่อ น “OFF” Variac ก็เ พื่อ มิใ ห้เ กิดการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสอาร์เมเจอร์อย่างกระทันหัน ซึง่ อาจทําให้เกิดประกายไฟทีแ่ ปรงถ่านได้
8. ทําการหยุดมอเตอร์ โดยทําย้อนขัน้ ตอนที่ 7 ถึงขัน้ ตอนที่ 2 ของการทดลองตอนที่ 3-1
9. คํานวณค่ากําลังขาเข้า กําลังขาออก และค่าประสิทธิภาพ
10. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วรอบและแรงบิดโหลด (N-τ) ทีค่ ่าแรงดันอาร์
เมเจอร์ต่างๆ

VARIAC DC SUPPLY R_STARTER


0% 100%
V A V A

DC MOTOR
LOAD

C1

A1
S1 S2 S3 S4
ELECTRO
V1 V1
M
MAGNETIC
SHUNT SW A2 BRAKE
min MAX min MAX
E2 E1
L1 N F2 F1
B2
POWER
SUPPLY
0-260V AC 3A 0-230V DC 3A 0-230V DC 1.6A
A2

V2
U V W

SHUNT SW

V1
A1

รูปที ่ 3-6 วงจรประกอบการทดลองคุณสมบัตโิ หลดมอเตอร์กระแสตรงแบบแยกกระตุน้ ด้วยการปรับความ


ต้านทานอาร์เมเจอร์
ผลการทดลอง

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-6 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่าความต้านทานอาร์เมเจอร์ต่าง ๆ

ค่า Offset ของแรงบิ ด T0=______________


ที่ค่าพิ กดั A1=______________ V1=_______________
A2=______________ V2=_______________
T=_______________ N=________________

แรงบิ ดที่อ่านได้ (Tmeas) [ ]


ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว ω = 2πN/60 [ ]
กระแสอาร์เมเจอร์ (A2) [ ]
แรงบิ ดจริง (T=Tmeas-T0) [ ]
กําลังขาเข้า (Pin= VaIa) [ ]
กําลังขาออก (Pout=Tω) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (η) [ ]
ตารางที ่ 3-7 ลักษณะสมบัตโิ หลดทีค่ ่าความต้านทานอาร์เมเจอร์ต่าง ๆ
วิ เคราะห์ผลการทดลอง
1. กราฟความเร็วกับแรงบิด N-τ ในการทดลองที่ 3-4 มีลกั ษณะอย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
2. จงหาสมการแสดงความสัมพันธ์คุณสมบัตโิ หลดเมื่อใช้การควบคุมในแต่ละวิธี (ใช้ค่าความต้านทาน
ของมอเตอร์จากการทดลองที่ 3)
ตอบ____________________________________________________________________
3. หากต้องการควบคุมความเร็วของมอเตอร์ จงพิจารณาว่าวิธใี ดเป็ นการควบคุมความเร็วทีม่ ี
ประสิทธิภาพดีและด้อยทีส่ ดุ ทัง้ นี้ให้บอกเหตุผลประกอบในการพิจารณา
ตอบ____________________________________________________________________
4. อื่นๆ
ตอบ____________________________________________________________________

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 4 ลักษณะสมบัติของมอเตอร์เหนี่ ยวนําหนึ่ งเฟส

วัตถุประสงค์การทดลอง
1. เรียนรูล้ กั ษณะโครงสร้างของมอเตอร์เหนี่ยวนําหนึ่งเฟสแบบใช้ขดลวดช่วยสตาร์ทและแบบคาปาซิ
เตอร์สตาร์ท
2.
3. เรียนรูก้ ารทํางาน, วิธกี ารสตาร์ทและการกลับทิศการหมุนของมอเตอร์เหนี่ยวนําหนึ่งเฟส
4. เรียนรูค้ ุณสมบัตขิ ณะสตาร์ทและคุณสมบัตโิ หลดของมอเตอร์เหนี่ยวนําหนึ่งเฟส

รายละเอียดทัวไปเกี
่ ่ยวกับอุปกรณ์ และเครื่องมือวัด

ชื่ออุปกรณ์ หมายเลขเครือ่ ง พิ กดั /พิ สยั /ชนิ ด/ความแม่นยํา/รายละเอียดอื่นๆ


1.1 ……………………….. W ……………RPM
1. มอเตอร์เหนี่ยวนํา 1 เฟส …………………………….. V ……………….. A
1.1 แบบขดลวดช่วยสตาร์ท …………………………….. ขัว้ ………………Hz
1.2 แบบคาปาซิเตอร์ช่วย 1.2 ……………………….. W ……………RPM
สตาร์ท …………………………….. V ……………….. A
…………………………….. ขัว้ ………………Hz
2. Electro Magnetic Break
3. Power Supply …………………………….. V ……………….. A
4. แหล่งจ่ายไฟสลับ …………………………….. V ……………….. A
เครือ่ งมือวัด
1. แทคโคมิเตอร์ ชนิดแสง
2. โวลต์มเิ ตอร์ V ชนิด Moving coil พิสยั …………………………
3. แอมป์ มิเตอร์ A1 ชนิด Moving Coil พิสยั …………………………
4. แอมป์ มิเตอร์ A2 ชนิด Moving Coil พิสยั …………………………
ชนิด Moving Coil พิสยั แรงดัน ……………………
5. วัตต์มเิ ตอร์ W พิ สั ย
กระแส ……………………..
เนื้ อหาและหลักการทํางานของมอเตอร์เหนี่ ยวนําหนึ่ งเฟส
โครงสร้างของมอเตอร์เหนี่ยวนํ าหนึ่งเฟสจะประกอบด้วยขดลวดสเตเตอร์ 1 เฟสพันอยู่รอบนอกบน
สเตเตอร์ทอ่ี ยู่นิ่งและมีขดลวดโรเตอร์ 1 เฟสพันอยู่บนโรเตอร์แบบกรงกระรอก (Squirrel Cage) ดังแสดงในรูปที่
4-1 เมื่อเราป้ อนไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสให้กบั ขดลวดสเตเตอร์ จะทําให้เกิดสนามแม่เหล็กอยู่ในแนวแกนของ
ขดลวดสเตเตอร์เ ป็ นแบบพัล เซติ้ง (Pulsating) ดัง แสดงในรูปที่ 4-2 สนามแม่ เหล็ก จากขดลวดสเตเตอร์จะ
เหนี่ยวนําให้เกิดแรงเคลื่อนและเกิดกระแสโรเตอร์ไหลในขดลวดโรเตอร์ กระแสนี้จะสร้างสนามแม่เหล็กทีเ่ ป็ นพัล
เซติง้ โดยมีทศิ ทางในแนวเดียวกับสนามแม่เหล็กจากขดลวดสเตเตอร์ ตามกฎของ Lenz สนามแม่เหล็กทัง้ สองจะ
กระทําในทิศตรงข้ามกัน มุมระหว่างเส้นแรงแม่เหล็กทัง้ สองมีค่าเป็ นศูนย์ จึงไม่เกิดแรงบิดสตาร์ท

ตอร์เหนีย่ วนํา รู ป ที ่ 4-2 มอเตอร์ เ ฟส

มอเตอร์เหนี่ยวนําหนึ่งเฟสทีม่ ขี ดลวดสเตเตอร์เพียงขดเดียวไม่สามารถสร้างแรงบิดสตาร์ทได้ จําเป็ นที่


จะต้องมีการช่วยทําให้มอเตอร์หมุนก่อนจึงจะทําให้มอเตอร์มแี รงบิดทีส่ ามารถหมุนไปได้ดว้ ยตัวเอง ดังนัน้ ในการ
ทําให้มอเตอร์ออกตัวได้จงึ ต้องมีวธิ กี ารสตาร์ทมอเตอร์ซ่งึ เป็ นที่มาในการจําแนกมอเตอร์เหนี่ยวนํ าหนึ่งเฟส
ออกเป็ นชนิดต่าง ๆ โดยในการทดลองนี้นกั ศึกษาจะได้เรียนรูก้ ารใช้งานมอเตอร์อยู่ 2 ประเภทได้แก่
1. มอเตอร์แบบใช้ขดลวดช่วยสตาร์ท (Split-Phase Motor) มอเตอร์เหนี่ยวนําแบบใช้ขดลวดช่วย
สตาร์ทจะมีขดลวดช่วยสตาร์ทโดยสัดส่วนของค่าความต้านทานต่ อรีแอกแตนซ์ของขดลวดช่วยมีค่าสูงกว่า
ขดลวดหลัก ดังนัน้ กระแสที่ไหลในขดลวดทัง้ สองจะมีมุมเฟสไม่ตรงกันดังแสดงในรูปที่ 4-3 (b) ขดลวดช่วย
สตาร์ทจะถูกต่ออยู่ในวงจรเฉพาะช่วงเวลาสตาร์ทและถูกตัดออกด้วยสวิทซ์แรงเหวี่ยงเมื่อมอเตอร์มคี วามเร็ว
ประมาณ 75 % ของความเร็วซิงโครนัส
คุณลักษณะแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์ชนิดนี้แสดงดังในรูปที่ 4-3 (c) มีค่าแรงบิดสตาร์ทตํ่าถึงปาน
กลาง ขึ้นอยู่กบั ขนาดกระแสและมุมระหว่างกระแสทัง้ สอง แรงบิดสตาร์ทเพิ่มได้โดยการต่ อความต้านทาน
ภายนอกอนุกรมกับขดลวดช่วย
2. มอเตอร์แบบสตาร์ทด้วยตัวเก็บประจุ (Capacitor-Start Motor) การต่อตัวเก็บประจุอนุ กรมกับ
ขดลวดช่วยสามารถเพิม่ แรงบิดให้สงู ขึน้ ได้โดยการเพิม่ มุมระหว่างกระแสในขดลวดหลักและขดลวดช่วย ดังแสดง
ในรูปที่ 6-4 (a, b) คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็วแสดงดังในรูปที่ 4-4 (c) เนื่องจากตัวเก็บประจุน้ถี ูกต่ออยู่
ในวงจรเฉพาะช่วงเวลาสตาร์ท จึงสามารถใช้ตวั เก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลท์ซง่ึ มีราคาถูกได้ มอเตอร์ชนิดนี้มี
จุดเด่นตรงทีม่ คี ่าแรงบิดสตาร์ทสูง
รูปที ่ 4-3 คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์เหนีย่ วนแบบขดลวดช่วยสตาร์ท

รูปที ่ 4-4 คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์เหนีย่ วนแบบคาปาซิเตอร์สตาร์ท


ข้อปฏิ บตั ิ ในการทําการทดลอง
1. ให้ดวู ธิ กี ารใช้วตั ต์มเิ ตอร์ในเอกสาร “ข้อมูลเกีย่ วกับอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการทดลอง”
2. ให้ป รับ ค่ า Range ของแรงดัน และกระแสของ วัต ต์ มิเ ตอร์ W1 และ W2 เป็ น 480 V และ 1 A
ตามลํ า ดับ ถ้ า ใช้ค่ า ที่ต่ํ า เกิน ไปจะทํา ให้เ กิด Overload และทํ า ให้ว ัต ต์มิเ ตอร์เ สีย หายได้ มิเ ตอร์ตัว อื่น ก็ใ ห้
ตรวจสอบค่า Range ทีใ่ ช้เช่นเดียวกัน และต้องตรวจสอบก่อนเริม่ ทําการทดลองทุกครัง้ หลังจากเริม่ การทดลอง
และทราบค่าแรงดัน กระแสจริงแล้ว จึงค่อยปรับค่า Range ทีเ่ หมาะสมในการวัด
3. ในการวัดกําลังงานของอุปกรณ์ 3 เฟสด้วยวิธี Two Watts (=W1+W2) ค่า W1 หรือ W2 อาจมีค่า
ติดลบได้โดยเฉพาะทีค่ ่าตัวประกอบกําลังตํ่าๆ เช่นในสภาวะ No Load
4. ในกรณีทค่ี ่าวัตต์ตดิ ลบ เข็มของวัตต์มเิ ตอร์จะตีกลับทิศ ให้สลับทิศกระแสใน Current Coil ของวัตต์
มิเตอร์ โดยการกลับขัว้ ปลักที ๊ ช่ นั ต์สวิตช์ แล้วบันทึกค่าทีไ่ ด้เป็ น ค่า"ลบ" แต่เมื่อเสร็จสิน้ การทดลองแล้วอย่าลืม
สลับทิศขัว้ กลับให้ถูกต้องด้วยเสมอ

ตอนที่ 4-1 การทดลองสตาร์ทและกลับทิ ศการหมุนของมอเตอร์เหนี่ ยวนํ าหนึ่ งเฟสแบบ


ขดลวดช่วยสตาร์ท
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรดังแสดงในรูปที่ 4-5 (a) ปรับแรงดันของแวริแอคของแหล่งจ่ายให้อยู่ตําแหน่ งศูนย์ ยังไม่
ต้องจ่ายไฟให้กบั มอเตอร์
2. ปรับสวิตช์ S1 ไปทีต่ ําแหน่ง “ON” แล้วปรับสวิทซ์ S2 ให้แรงดันเข้ามอเตอร์มคี า่ เป็ น 120 V สังเกต
ว่ามอเตอร์สตาร์ทได้หรือไม่ (ทดลองภายในระยะเวลาสัน้ ๆ แล้วรีบลดแรงดันของแวรีแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์)
3. ปรับสวิทซ์ S2 ให้แรงดันเข้ามอเตอร์มีค่าเป็ น 120 V แล้วใช้มือช่วยหมุนที่เพลาไปทางขวามือ
สังเกตดูว่ามอเตอร์สตาร์ทได้หรือไม่ และถ้าสตาร์ทได้ มอเตอร์หมุนในทิศใด หลังทดลองเสร็จแล้วให้ปรับลด
แรงดันของแวรีแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์
4. ทดลองเช่นเดียวกับข้อ 3 แต่ใช้มอื ช่วยหมุนทีเ่ พลาของมอเตอร์ไปทางซ้ายมือ หลังทดลองเสร็จ ปิ ด
สวิตซ์หลักของแหล่งจ่ายไฟสลับไปทีต่ ําแหน่ง “OFF” แล้วปรับลดแรงดันของแวรีแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์
VARIAC
SHUNT SW
V A

U1 U2
S1 S2
ELECTRO MAGNETIC
Z1 Z2
V1 V1 A1 BRAKE
min MAX
(a)
L1 N W A2
U1 U2
0-260V AC 3A 0-230V DC 3A
POWER
Z1 Z2 SUPPLY

(b)

รูปที ่ 4-5 การต่อวงจรเพือ่ สตาร์ทมอเตอร์เหนีย่ วนําแบบขดลวดช่วยสตาร์ท


5. ต่อขดลวดสตาร์ทเข้ากับวงจร ตามรูปที่ 4-5 (b)
6. ปรับสวิตช์ S1 ไปทีต่ ําแหน่ง “ON” แล้วปรับสวิทซ์ S2 ให้แรงดันเข้ามอเตอร์มคี า่ เป็ น 120 V สังเกต
ดูทศิ ทางการหมุนของมอเตอร์ หลังทดลองเสร็จ ปิ ดสวิตซ์หลักของแหล่งจ่ายไฟสลับไปทีต่ ําแหน่ ง “OFF” แล้ว
ปรับลดแรงดันของแวรีแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์
7. สลับสายไฟทีจ่ ่ายให้แก่มอเตอร์ แล้วทําการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 6 เปรียบเทียบทิศทางการหมุนที่
เกิดขึน้ ในข้อ 6

ตอนที่ 4-2 การหาลักษณะสมบัติของมอเตอร์เหนี่ ยวนําหนึ่ งเฟสแบบขดลวดช่วยสตาร์ท


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. จากวงจรรูปที่ 4-5 (b) ปรับแวริแอกให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์ ยังไม่ตอ้ งจ่ายไฟให้กบั มอเตอร์
2. ปรับสวิตช์ S1 ไปทีต่ ําแหน่ง “ON” แล้วปรับสวิทซ์ S2 ให้แรงดันเข้ามอเตอร์มคี ่าเป็ น 220 V
3. ค่ อ ย ๆ เพิ่ม แรงบิด โหลดโดยจ่า ยแรงดัน ให้ก ับ Electromagnetic brake จะสัง เกตพบว่ า ขณะที่
แรงบิดเพิม่ ขึน้ ความเร็วโรเตอร์จะต้องมีค่าลดลง หากความเร็วมีค่าเพิม่ ขึน้ แสดงว่า แรงบิดโหลดมีทศิ ทางไม่
ถูกต้อง ปรับแรงบิดจนกระแสเข้ามอเตอร์เป็ นค่าพิกดั บันทึกค่ากระแส แรงบิด และความเร็วโรเตอร์
4. ปรับโหลดลดลงประมาณ 7 ค่าในช่วงระหว่างค่ากระแสพิกดั ถึงค่า No Load และให้ทาํ การทดลองที่
No Load ด้ว ยโดยการปิ ด สวิต ช์แหล่ ง จ่า ยของ Electromagnetic brake บัน ทึก ค่ า มิเ ตอร์ทุ ก ตัว แรงบิด และ
ความเร็วโรเตอร์ หลังทดลองเสร็จให้ปรับลดแรงดันของแวรีแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์
5. คํานวณค่ากําลังด้านออก, ค่าตัวประกอบกําลัง และค่าประสิทธิภาพ
6. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิด, ตัวประกอบกําลัง และประสิทธิภาพ (แกนตัง้ ) กับ
ความเร็ว (แกนนอน) ไว้ในกราฟเดียวกัน โดยเขียนแกนตัง้ ของแต่ละกราฟแยกกัน
7. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดและกระแส

ผลการทดลอง

แรงดันขดลวด (V1) [ ]
กระแสขดลวด (A1) [ ]
กระแสของ Elector. B (A2) [ ]
กําลังขาเข้า (W1) [ ]
แรงบิ ด (T) [ ]
ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว (ω = 2πN/60) [ ]
กําลังขาออก (Pout = Tω) [ ]
ตัวประกอบกําลัง (Pin/VI) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (Pin/Pout) [ ]
ตารางที ่ 4-1 การหาลักษณะสมบัตขิ องมอเตอร์เหนีย่ วนําหนึง่ เฟสแบบขดลวดช่วยสตาร์ท
ตอนที่ 4-3 การทดลองสตาร์ทและกลับทิ ศการหมุนของมอเตอร์เหนี่ ยวนําหนึ่ งเฟสแบบคา
ปาซิ เตอร์สตาร์ท
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 4-6 (a) ปรับแวริแอคให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์ ยังไม่ตอ้ งจ่ายไฟให้กบั มอเตอร์
2. ทําการทดลองเหมือนกับข้อ 6-7 ของตอนที่ 4-1
3. ต่อคาร์ปาซิเตอร์ช่วยสตาร์ทตามรูปที่ 4-6 (b) แล้วทําการทดลองเหมือนกับข้อ 6-7 ของตอนที่ 4-1
เปรียบเทียบทิศทางการหมุนทีเ่ กิดขึน้ ในข้อ 2
VARIAC
SHUNT SW
V A

U1 U2
S1 S2
ELECTRO MAGNETIC
Z1 Z2
V1 V1 A1 BRAKE
min MAX
C1 C2
L1 N W A2
(a)
0-260V AC 3A 0-230V DC 3A
POWER
U1 U2 SUPPLY

Z1 Z2

รูปที ่ 4-7 การต่อวงจรเพือ่ สตาร์ทมอเตอร์เหนีย่ วนํา C1 C2


แบบคาปาซิเตอร์สตาร์ท
(b)

ตอนที่ 4-4 การหาลักษณะสมบัติของมอเตอร์เหนี่ ยวนําหนึ่ งเฟสแบบคาปาซิ เตอร์สตาร์ท


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. จากวงจรในรูปที่ 4-6 (b) ทําการถอดตัวเก็บประจุออกจากมอเตอร์ (ถอดสายเชื่อมต่อระหว่าง U1
กับ Z1 และ U2 กับ C2) ปรับแวริแอกให้อยู่ในตําแหน่งศูนย์ ยังไม่ตอ้ งจ่ายไฟให้กบั มอเตอร์
2. ทําการทดลองเหมือนกับข้อ 3-5 ของตอนที่ 4-2
3. ต่อตัวเก็บประจุกลับทีเ่ ดิมตามวงจรรูปที่ 4-6 (b) แล้วทําการทดลองตามข้อ 2 ซํ้าอีกครัง้
4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิด และกระแส (แกนตัง้ ) กับความเร็ว (แกนนอน) ไว้ใน
กราฟเดียวกัน โดยเขียนแกนตัง้ ของแต่ละกราฟแยกกัน ทัง้ กรณีต่อตัวเก็บประจุและไม่ต่อตัวเก็บประจุ
5. เขียนกราฟ (Y-X) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดและกระแสไว้ในกราฟเดียวกันทัง้ กรณีต่อตัว
เก็บประจุและไม่ต่อตัวเก็บประจุ
6. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิด, ตัวประกอบกําลัง และประสิทธิภาพ (แกนตัง้ ) กับ
ความเร็ว (แกนนอน) ไว้ในกราฟเดียวกัน โดยเขียนแกนตัง้ ของแต่ละกราฟแยกกัน ทัง้ กรณีต่อตัวเก็บประจุและ
ไม่ต่อตัวเก็บประจุ
ผลการทดลอง
แรงดันขดลวด (V1) [ ]
กระแสขดลวด (A1) [ ]
กระแสของ Elector. B (A2) [ ]
กําลังขาเข้า (W1) [ ]
With Out แรงบิ ด (T) [ ]
Capacitor ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว (ω = 2πN/60) [ ]
กําลังขาออก (Pout = Tω) [ ]
ตัวประกอบกําลัง (Pin/VI) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (Pin/Pout) [ ]
แรงดันขดลวด (V1) [ ]
กระแสขดลวด (A1) [ ]
กระแสของ Elector. B (A2) [ ]
กําลังขาเข้า (W1) [ ]
With แรงบิ ด (T) [ ]
Capacitor ความเร็วรอบ (N) [ ]
ความเร็ว (ω = 2πN/60) [ ]
กําลังขาออก (Pout = Tω) [ ]
ตัวประกอบกําลัง (Pin/VI) [ ]
ประสิ ทธิ ภาพ (Pin/Pout) [ ]
ตารางที ่ 4-2 การหาลักษณะสมบัตขิ องมอเตอร์เหนีย่ วนําหนึง่ เฟสแบบคาปาซิเตอร์สตาร์ท

วิ เคราะห์ผลการทดลอง
1. แรงบิดกับกระแสของมอเตอร์ทงั ้ สองชนิดมีความสัมพันธ์ในลักษณะอย่างไร น่าจะเป็ นเพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
2. แรงบิดกับความเร็วของมอเตอร์ทงั ้ สองชนิด มีความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้นหรือไม่อย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
3. มอเตอร์ชนิดใดมีตวั ประกอบกําลังสูงกว่า เป็ นเพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
4. จากผลการทดลองลักษณะสมบัติของมอเตอร์ คํา กล่ า วที่ว่า “ค่ า ตัว ประกอบกํา ลังของมอเตอร์
เหนี่ยวนํามีคา่ ค่อนข้างตํ่าเมือ่ เปรียบกับหม้อแปลง” จริงหรือไม่ และน่าจะเป็ นเพราะเหตุใด
ตอบ____________________________________________________________________
5. อื่นๆ
ตอบ____________________________________________________________________
สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 5 การควบคุมมอเตอร์ด้วยคอนแทกเตอร์แม่เหล็กไฟฟ้ า

วัตถุประสงค์การทดลอง
1. เพื่อเรียนรูถ้ งึ วงจรพืน้ ฐานเกีย่ วกับคอนแทกเตอร์
2. เพื่อศึกษาการใช้คอนแทกเตอร์แม่เหล็กควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ
3. เพื่อศึกษาถึงหลักการทํางานของอุปกรณ์ควบคุมพืน้ ฐานชนิดต่างๆ

รายละเอียดทัวไปเกี
่ ่ยวกับอุปกรณ์ และเครื่องมือวัด

ชื่ออุปกรณ์ หมายเลขเครือ่ ง พิ กดั /พิ สยั /ชนิ ด/ความแม่นยํา/รายละเอียดอื่นๆ


…………………………….. W ……………RPM
1. มอเตอร์เหนี่ยวนํา …………………………….. V ……………….. A
…………………………….. ขัว้ ………………Hz
2. Main Contactor + Auxiliary Main Contactor …….……. V ………………..A
จํานวน ………….ตัว
Contactor Auxiliary Contactor: …..… V ………….…… A
3. Thermal Overload Relay จํานวน ………….ตัว ……………….. A
4. Timer Delay Relay จํานวน ………….ตัว ………………Sec………… V ………………..A
5. Pilot Lamp จํานวน ………….ตัว …………………………….. V ……………….. A
6. Push Button จํานวน ………….ตัว
7. Fuse จํานวน ………….ตัว ……………….. A
8.
9.
เครือ่ งมือวัด
1.
2.
3.
4.
เนื้ อหาและหลักการทํางานของการควบคุมมอเตอร์

ในการควบคุมการทํางานของมอเตอร์โดยทัวไปเราสามารถกระทํ
่ าได้ 2 วิธี คือ
1. การควบคุมด้วยมือ (Manual Control) การควบคุมแบบนี้กระทําได้โดยใช้อุปกรณ์ควบคุมทีต่ ้องใช้
คนคอยควบคุมอยู่ตลอดเวลา เช่น สวิทช์จาํ พวก ON-Off, Drum, Cutout เป็ นต้น
2. การควบคุ ม แบบอัต โนมัติ (Automatic Control) การควบคุ ม แบบนี้ จะใช้อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม พวก
Magnetic Contactor, Control Relay, Time Delay Relay, Programmable Logic controller เป็ นต้น
ส่วนใหญ่การควบคุมของระบบขนาดใหญ่จะใช้การควบคุมแบบอัตโนมัติ เพราะทํางานได้รวดเร็วถูกต้อง
แน่ นอน สามารถควบคุมได้จากระยะไกล เช่น การควบคุมการเริม่ ต้นเดินเครื่อง การหยุดเดินเครื่อง การหมุน
กลับทิศทาง ทําให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ปฏิบตั งิ าน และสามารถติดตัง้ อุปกรณ์พเิ ศษต่างๆ ได้มากมาย เช่น
อุปกรณ์ป้องกันการทํางานผิดปกติต่างๆ เพื่อป้ องกันมอเตอร์จากความเสียหายสัญญาณทีใ่ ช้ในการควบคุมการ
ทํางานของมอเตอร์ได้จาก อุปกรณ์วดั สภาพต่างๆ ของโหลด เช่นวัดความดัน วัดความร้อน วัดกระแส ฯลฯ
การทดลองนี้ต้องการให้นักศึกษาทดลองและทําความเข้าใจการทํางานของวงจรควบคุมเบือ้ งต้น 4 แบบ
คือ
1. การควบคุมการเริม่ เดินเครื่องมอเตอร์แบบต่อเข้ากับสายโดยตรง( DOL ;Direct On Line)
2. การควบคุมมอเตอร์ให้เดินหน้าและถอยหลัง
3. การควบคุมมอเตอร์แบบ Jogging
4. การควบคุมมอเตอร์ให้ทาํ งานแบบ Duty Cycle
วงจรควบคุมทัง้ 4 แบบนี้ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุมพืน้ ฐานดังนี้คอื
1. สวิตช์ป่ ุมกด (Push Button Switch) คืออุปกรณ์ท่มี หี น้าสัมผัสอยู่ภายใน เราสามารถควบคุมการ
เปิ ดหรือปิ ดของหน้ าสัมผัสนัน้ ได้โดยกดปุ่ม เมื่อกดปุ่ม แรงจากการกดจะทําให้กลไกที่อยู่ภายในบัง คับ ให้
หน้ า สัม ผัส เปิ ด หรือ ปิ ด แต่ เ มื่อ เราปล่ อ ยจากการกดหน้ า สัมผัส จะคืน สู่ส ภาพเดิมโดยแรงสปริง เราเรีย ก
หน้าสัมผัสทีจ่ ะทํางานเมื่อถูกกดและหน้าสัมผัสจะคืนสภาพเมื่อปล่อยมือว่า หน้าสัมผัสชนิดทํางานด้วยมือคืน
สภาพโดยอัตโนมัต(ิ manual operated automatic released contact) โดยทัวๆไป ่ หน้าสัมผัสของสวิทช์ป่ มุ กดจะ
มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบปกติเปิ ด (normally open N/O) และแบบปกติปิด (normally closed N/C)
2. หลอดไฟแสดงสภาพการทํางาน (Pilot Lamp) เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้แสดงสภาพการทํางานของอุปกรณ์
ต่างๆ เช่น แสดงว่ามอเตอร์กาํ ลังทํางาน หรือหยุดทํางาน ฯลฯ
3. คอนแทกเตอร์ (Magnetic Contacter) เป็ นอุปกรณ์ทอ่ี าศัยหลักการของแรงดูดแม่เหล็กในการเปิ ด
หรือปิ ดหน้าสัมผัส มีส่วนประกอบใหญ่ๆ 2 ส่วน คือ ส่วนขดลวดซึง่ ทําให้เกิดแม่เหล็กไฟฟ้ า และส่วนหน้าสัมผัส
ซึง่ จะทําหน้าทีเ่ ปิ ดหรือปิ ดวงจร การทํางานจะคล้ายกับรีเลย์ทวไป ั ่ เพียงแต่จะใช้ในการตัดต่อวงจรไฟฟ้ ากําลังทีม่ ี
กระแสขนาดสูง ไหลผ่ า นเท่ า นัน้ โครงการสร้า งภายในจึง แข็ง แรงกว่ า รีเ ลย์ธ รรมดา เพื่อ ให้ส ามารถตัด ต่ อ
วงจรไฟฟ้ ากําลังได้ คอนแทกเตอร์ทวๆไปจะมี ั่ หน้าสัมผัสอยู่ 2 ชนิด คือหน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) ซึง่ ใช้ใน
วงจรไฟฟ้ ากําลัง และหน้าสัมผัสช่วย (Auxiliary Contact) จะใช้ในวงจรควบคุม
4. เทอร์ม ัล รีเลย์ (Thermal Overload Relay) เป็ น รีเ ลย์ชนิ ดหนึ่ งที่ภ ายในประกอบด้วยอุ ป กรณ์ ท่มี ี
เคลื่อนทีเ่ มื่อได้รบั ความร้อน ดึงลวดความร้อน (heater) และไบเมทตัล(bi-metal) กับกลไกควบคุมหน้าสัมผัสซึง่
จะทําหน้าทีเ่ ปิ ดปิ ดวงจรอย่างรวดเร็ว ใช้สาํ หรับตัดวงจรควบคุม เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลมากเกินไป เช่นในวงจร
ของมอเตอร์ขณะเกิดโหลดเกินพิกดั (overload)
5. รี เ ลย์ ห น่ วงเวลา (Time Delay Relay) คื อ รี เ ลย์ ท่ี เ มื่ อ ได้ ร ั บ สั ญ ญาณไฟฟ้ า (Time delay on
energisation ) หรือสัญญาณไฟฟ้ าหายไป (Time delay on de-energisation) หน้าสัมผัสภายในจะไม่เปิ ดหรือ
ปิ ดทันที แต่จะหน่วงเวลาออกไปตามเวลาทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้ เมื่อครบเวลานัน้ หน้าสัมผัสก็จะเปิ ดหรือปิ ด
ฟิ วส์ (Fuse) เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้ป้องกันการลัดวงจรของระบบ โดยใช้ร่วมกับเทอร์มลั รีเลย์ เพื่อป้ องกันความ
เสียหายทีอ่ าจเกิดกับหน้าสัมผัสของคอนแทรคเตอร์และอุปกรณ์อ่นื ๆ
สําหรับสัญลักษณ์ของอุปกรณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้ในการควบคุมได้แสดงไว้ในตารางที่ 6-1

A1 1 3 5 X1
Main Contact Pilot lamp
A2 2 4 6
X2

13 21
Auxiliary
Contact Push Button

14 22

95 97 1 3 5
Thermal
Overload Relay Fuse

96 98 2 3 6

Timer delay
Relay
Delay on energisation Delay on de-energisation

ตารางที ่ 6-1 สัญลักษณ์ของอุปกรณ์


วงจรพืน้ ฐาน
1. วงจร Self-hold ตัวอย่างวงจรแสดงในรูปที่ 6-2 (a) เป็ นวงจรทีใ่ ช้หน้าสัมผัสช่วยของคอนแทกเตอร์
ช่วยให้การทํางานของคอนแทกเตอร์คงสภาพเดิมไว้หลังจากทีม่ กี ารจ่ายไฟให้กบั ขดลวดของคอนแทกเตอร์ใน
ช่วงเวลาสัน้ ๆ เช่นโดยกดสวิตซ์ป่ มุ กด b1 ถ้าต้องการ reset ให้วงจรเปิ ดก็ทาํ ได้โดยกดปุ่ม bo
2. วงจร Interlock ตัวอย่างวงจรแสดงในรูปที่ 6-2 (b) เป็ นวงจรเกี่ยวข้องกับการทํางานหลายอย่าง
ไม่ให้เกิดขึ้นพร้อมกัน กล่าวคือ ในขณะที่วงจรทํางานอย่างหนึ่งอยู่ วงจรจะป้ องกันไม่ให้เกิดการทํางานใน
ลักษณะอื่นเกิดขึน้
3. วงจรแสดงการทํางาน ตัวอย่างวงจรแสดงในรูปที่ 6-2 (c) เป็ นวงจรทีใ่ ช้หลอดไฟแสดงถึงสภาพการ
ทํางานของระบบ

b0

b1 C1 C1
C2 C1

C1 C1 C2 C1

(a) (b) (c)

รูปที ่ 6-2 วงจรพื้นฐานชนิ ดต่างๆ

ตอนที่ 6-1 การควบคุมการเริ่ มเดิ นเครื่องมอเตอร์แบบ Direct On Line


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 6-3 โดยยังไม่ต่อสาย 1,2,3 เพื่อไม่ให้จ่ายแรงดันให้กบั วงจรด้านกําลัง
2. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุม ว่าถูกต้องโดย
a. กดสวิทช์ b1 แล้วปล่อยมือ
b. กดสวิทช์ b0 แล้วปล่อยมือ
c. เมื่อวงจรควบคุมทํางานถูกต้องแล้ว ให้ต่อสาย 1,2,3 เข้ากับวงจร เพื่อทําการทดลองจริง
d. ทดลองทําซํ้าดู 3-3 ครัง้ แล้วบันทึกผลทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด
R
S
T
N
1 2 3
e0 e1

e2 C1

b0 C1 C1

b1 C1 e2

U V W
C1 h1 h2
M
3
N
1 2 3 4
รูปที� 1 วงจรควบคุมการเริ�มต้นเดินเครื� องมอเตอร์แบบต่อ
รูปที ่ 5.3 วงจรควบคุมการเริม่ ต้นเดิ นเครือ่ งมอเตอร์แบบต่อตรง

ผลการทดลอง
ตอนที่ 6-2 วงจรควบคุมการเริ่มต้นเดิ นเครื่องมอเตอร์เดิ นหน้ าและถอยหลัง
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 6-4 โดยยังไม่ต่อสาย 1,2,3 เพื่อไม่ให้จ่ายแรงดันให้กบั วงจรด้านกําลัง
2. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุม ว่าถูกต้องโดย
a. กดสวิทช์ b1 จนสุดแล้วปล่อยมือ
b. กดสวิทช์ b2 จนสุดแล้วปล่อยมือ
c. กดสวิทช์ b0 แล้วปล่อยมือ
d. เมื่อวงจรควบคุมทํางานถูกต้องแล้ว ให้ต่อสาย 1,2,3 เข้ากับวงจร เพื่อทําการทดลองจริง
e. ทดลองทําซํ้าดู 3-3 ครัง้ แล้วบันทึกผลทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด

R
S
T
N
1 2 3
e0
e1
b0
e2 C1 C2

b2
C1 C2
b1 e2

U V W

C2 C 1 C1 C2 M
3
C1 C2
h1 h2
N
1 2 3 4 5 6

รูปที� 2 วงจรควบคุมการมอเตอร์แบบเดินหน้าและถอยหลัง
รูปที ่ 6-4 วงจรควบคุมการเริม่ ต้นเดินเครือ่ งมอเตอร์แบบเดินหน้าและถอยหลัง
ผลการทดลอง

ตอนที่ 6-3 วงจรควบคุมมอเตอร์แบบ Jogging


ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 6-5 โดยยังไม่ต่อสาย 1,2,3 เพื่อไม่ให้จ่ายแรงดันให้กบั วงจรด้านกําลัง
2. ทดสอบการทํางานของวงจรควบคุม ว่าถูกต้องโดย
a. กดสวิทช์ b1 จนสุด ประมาณ 2 วินาทีแล้วจึงค่อยปล่อยมือ
b. กดสวิทช์ b2 จนสุด ประมาณ 2 วินาทีแล้วจึงค่อยปล่อยมือ
c. กดสวิทช์ b3 จนสุด แล้วปล่อยมือ
d. กดสวิทช์ b4 จนสุด แล้วปล่อยมือ
e. กดสวิทช์ b0 แล้วปล่อยมือ
f. เมื่อวงจรควบคุมทํางานถูกต้องแล้ว ให้ต่อสาย 1,2,3 เข้ากับวงจร เพื่อทําการทดลองจริง
g. ทดลองทําซํ้าดู 3-3 ครัง้ แล้วบันทึกผลทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด
R
S
T
N
1 2 3

e0 e1

e2 C2 C1

b0

b1 e2

U V W
b2 M
3
b3 C2

C1 b4

C2 C1 C1 C2

C1 C2 h1 h2

N
1 2 3 4 5 6 7 8
รูปที� 3 วงจรควบคุมการมอเตอร์แบบ Jogging (Inching)
รูปที ่ 6-5 วงจรควบคุมมอเตอร์แบบ Jogging (Inching)

ผลการทดลอง
ตอนที่ 6-4 วงจรควบคุมมอเตอร์แบบ Duty Cycle
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปที่ 6-5 โดยยังไม่ต่อสาย 1,2,3 เพื่อไม่ให้จ่ายแรงดันให้กบั วงจรด้านกําลัง
2. ตัง้ ช่วงเวลาในตําแหน่งการทํางานของรีเลย์ d1,d2 ตามต้องการ แต่ควรใช้ค่าให้เหมาะสมทีไ่ ม่สนั ้
หรือยาวเกินไป ( ~ 5 วินาที)
3. เมื่อวงจรควบคุมทํางานถูกต้องแล้ว ให้ต่อสาย 1,2,3 เข้ากับวงจร เพื่อทําการทดลองจริง
4. บันทึกผลทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด

R
S
T
N
1 2 3
e0 e1

e2 C1

C2 d1 C2

d2 e2

C2 d2 U V W
d1 C1 M
3
N
1 2 3 4
รูปที� 4 วงจรควบคุมมอเตอร์ให้ทํางานแบบ Duty Cycle
รูปที ่ 6-6 วงจรควบคุมมอเตอร์ให้ทาํ งานแบบ Duty Cycle
ผลการทดลอง

1. ให้วเิ คราะห์และอธิบายการทํางานของวงจรควบคุมทัง้ 4 แบบ และเปรียบเทียบกับผลทีไ่ ด้จากการ


ทดลอง
ตอบ____________________________________________________________________
2. อื่นๆ
ตอบ____________________________________________________________________

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 6 การใช้งาน Programmable Logic Controller (PLC) เบือ้ งต้ น

วัตถุประสงค์การทดลอง
1. เพื่อเรียนรูก้ ารควบคุมลําดับการทํางานของอุปกรณ์แบบมีเงื่อนไข
2. เพื่อเรียนรูถ้ งึ โครงสร้างและการใช้งานของ PLC
3. เพื่อศึกษาวิธกี ารเขียนโปรแกรมบน PLC

อุปกรณ์ การทดลอง
1. ชุดทดลอง PLC
2. แผงควบคุมไฟจราจร
3. มอเตอร์เหนี่ยวนํา
4. ดิจติ อลมัลติมเิ ตอร์
5. คอมพิวเตอร์พร้อมซอฟแวร์ทใ่ี ช้เขียนโปรแกรม PLC

ตอนที่ 6-1 การเขียนโปรแกรม PLC เบือ้ งต้น


เนื้ อหาและหลักการทํางาน
Programmable Logic Controller (PLC) เป็ นอุปกรณ์ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ทม่ี หี น่ วยความจําในการเก็บ
โปรแกรมสําหรับควบคุมการทํางานของอุ ปกรณ์ ต่า ง ๆ ที่ต่อเข้ากับขัว้ เข้าและขัว้ ออกของมัน PLC ถือเป็ น
อุปกรณ์ท่สี ําคัญตัวหนึ่ ที่ทําหน้าที่ควบคุมเครื่องจักรให้ทํางานแบบซีเคว้นซ์ (เรียงลําดับการทํางานก่อนหลัง)
โดยขึ้นอยู่กบั เงื่อนไขที่กําหนด ทําให้เครื่องจักรสามารถทํางานได้อย่างอัตโนมัติ ส่วนประกอบภายใน PLC
ประกอบด้วยไมโครคอมพิวเตอร์และหน่วยความจํานอกจากนี้ยงั มีวงจรอินพุทและเอาท์พุ สําหรับต่อกับอุปกรณ์
ภายนอกด้วย

รูปที ่ 6-1โครงสร้างของ PLC


ในการป้ อ นโปรแกรมเข้า ไปในหน่ ว ยความจํ า ของ PLC จะใช้แ ผงป้ อ นโปรแกรมหรือ เชื่อ มต่ อ กับ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โปรแกรมที่เขียนใน PLC จะเป็ นแผนภาพแสดงการควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ท่ี
เรียกว่า Ladder diagram ซึง่ ประกอบด้วยสวิทซ์, รีเลย์, ไทเมอร์ และอุปกรณ์ควบคุม ดังตัวอย่างในรูปที่ 6-2

รูปที ่ 6-2 วงจรแลดเดอร์

อธิ บายการทํางานของวงจร
1. เมื่อกดสวิตซ์ PB1 จะทําให้อนิ พุทรีเลย์ X001 ทํางาน
2. หน้าสัมผัส X001 ของรีเลย์ X001 จะปิ ดทําให้เอาท์พุทรีเลย์ Y000 ทํางาน
3. หน้าสัมผัส Y000 ของรีเลย์ Y000 จะขับหลอดไฟ PL ซึง่ ต่อกับขัว้ ออกให้สว่าง
4. ถ้าปล่อยมือจากการกดสวิทซ์ PB1 อินพุทรีเลย์ X001 จะหยุดทํางาน และหน้าสัมผัสจะเปิ ดออก แต่
หน้าสัมผัสของรีเลย์ Y000 ทีต่ ่อกับหน้าสัมผัสของรีเลย์ X001 ยังคงปิ ดอยู่ ทําให้รเี ลย์ Y000 ยังสามารถทํางาน
อยู่ได้ (วงจรเซลฟ์ โฮลด์)
5. ถ้าหน้าสัมผัสของลิมติ สวิตซ์ LS1 ปิ ดจะทําให้รเี ลย X003 ทํางาน หน้าสัมผัส b ของรีเลย์ X003 จะ
เปิ ด ทําให้รเี ลย์ Y000 หยุดทํางาน (ถูกรีเซท) จะมีผลให้หลอดไฟ PL ดับ
วงจรพืน้ ฐาน
1. วงจร Self-Hold เป็ นวงจรที่ใช้หน้าสัมผัสช่วยของคอนเทกเตอร์ ช่วยให้การทํางานของคอนแทก
เตอร์คงสภาพเดิมไว้หลังจากทีม่ กี ารจ่ายไฟ ให้กบั ขดลวดของคอนแทกเตอร์ในช่วงเวลาสัน้ ๆ เช่น โดยการกด
สวิตซ์ป่ มุ กด b1 ถ้าต้องการ reset ให้วงจรเปิ ดก็ทาํ ได้โดยกดปุ่ม b0 ตัวอย่างวงจร Self-Hold แสดงดังรูปที่ 6-3
2. วงจร Interlock เป็ นวงจรเกีย่ วข้องกับการทํางานหลายอย่างไม่ได้เกิดขึน้ พร้อมกัน กล่าวคือ ในขณะ
ที่ วงจรทํางานอย่างหนึ่งอยู่ วงจรจะป้ องกัน ไม่ได้เกิดการทํางานในลักษณะอื่นเกิดขึน้ ตัวอย่างวงจร Interlock
แสดงดังรูปที่ 6-4
b0

b1 C1
C2 C1

C1 C1 C2

รูปที ่ 6-3 วงจร Self Hold รูปที ่ 6-4 วงจร Interlock

ขัน้ ตอนการเขียนโปรแกรม PLC


เพื่อลดความผิดพลาดและมีการวางแผนในการเขียนโปรแกรม PLC สามารถสรุปขัน้ ตอนในการเขียน
โปรแกรมได้ดงั นี้
1. กําหนดเบอร์อนิ พุท/เอาท์พุทให้อุปกรณ์ โดยพิจารณาว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ กีต่ วั แล้วกําหนด
เบอร์ของขัว้ เข้าและขัว้ ออกของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบทีจ่ ะต่อเข้ากับ PLC ก่อน
2. ออกแบบวงจรซีเคว้นซ์ภายใน PLC โดยการเขียน Ladder Diagram ซึง่ เหมือนกับการออกแบบวงจร
ซีเคว้นซ์โดยใช้รเี ลย์ทวั ่ ๆ ไป
3. แปลงวงจรแลดเดอร์เป็ นโปรแกรม (Coding) โดยรูปแบบคําสังศึ ่ กษาได้จากคู่มอื PLC
4. ตรวจเช็คและแก้ไขโปรแกรมให้ถูกต้อง
5. ทดสอบการทํางาน
ชุดทดลอง PLC ทีใ่ ช้ในระบบปฏิบตั กิ ารนี้ เป็ นชุดทดลองทีป่ ้ อนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ (PC) วิธกี าร
เขียนเพียงวาดรูป Ladder Diagram ให้โปรแกรมเท่านัน้ โปรแกรมก็จะแปลงวงจร Ladder เป็ นโปรแกรมสําหรับ
อัดลง PLC ให้เอง ชุดทดลอง PLC ทีใ่ ช้แสดงในรูปที่ 6-5
ให้นักศึกษาศึกษาการใช้ PLC เพิม่ เติมจากคู่มอื การใช้งาน PLC แล้วทําการทดลองเพื่อออกแบบระบบ
ควบคุมอย่างง่าย โดยใช้โปรแกรม PLC ตามขัน้ ตอนการทดลองต่อไปนี้
รูปที ่ 6-5 บอร์ดทดลอง PLC

ลําดับขัน้ การทดลอง
3. เขียนโปรแกรมควบคุมการเปิ ด/ปิ ดหลอด LED 1 ดวง (ใช้หลอดไฟของแผงควบคุมไฟจราจร) ด้วย
สวิทซ์ SW1 ถ้าเปิ ดสวิทซ์ SW1 หลอด LED จะติด ถ้าปิ ดสวิทซ์ SW1 หลอด LED จะดับ
4. เขียนโปรแกรมควบคุมการเปิ ด/ปิ ดหลอด LED 1 ดวง (ใช้หลอดไฟของแผงควบคุมไฟจราจร) ด้วย
สวิทซ์ SW1 และ SW2 ถ้าเปิ ดสวิทซ์ SW1 หลอด LED จะติด ถ้าเปิ ดสวิทซ์ SW2 หลอด LED จะดับ หรือ ถ้า
เปิ ดสวิทซ์ SW2 หลอด LED จะติด ถ้าเปิ ดสวิทซ์ SW1 หลอด LED จะดับ (ควบคุม LED ด้วยสวิทซ์สองทาง)
5. เขียนโปรแกรมควบคุมให้หลอด LED 1 ดวง (ใช้หลอดไฟของแผงควบคุมไฟจราจร) ติด 6 วินาที
และดับ 3 วินาที สลับไปมาภายหลังเปิ ดสวิทซ์ SW1 และหลอดไฟจะดับเมื่อปิ ดสวิทซ์ SW1
6. เขียนโปรแกรมควบคุมหลอดไฟสัญญาณจราจรเพียงชุดเดียว โดยให้ไฟเขียวติดนาน 6 วินาที ไฟ
เหลือง 2 วินาที ไฟแดง 6 วินาที แล้วกลับเป็ นไฟเขียวอีกครัง้ หนึ่งภายหลังเปิ ดสวิทซ์ SW1 และสัญญาณจราจร
จะหยุดทํางานเมือ่ ปิ ดสวิทซ์ SW1
หมายเหตุ หลังจากที่เขียนโปรแกรมและทําการตรวจสอบว่าโปรแกรมทีเ่ ขียนถูกต้องแล้ว ให้นักศึกษา
เรียกอาจารย์หรือผูค้ วบคุมตรวจสอบอีกครัง้ เพื่อบันทึกคะแนนปฏิบตั กิ าร
7. บันทึกเบอร์อนิ พุท/เอาท์พุท วงจรซีเคว้นซ์ภายใน และคําสังทั่ ง้ หมดในรายงานการทดลอง
รูปที ่ 6-6 ชุดควบคุมไฟจราจร

ข้อควรระวัง: ห้ามต่อจุด M เข้ากับ COMMON ทางด้าน OUTPUT ของ PLC

ผลการทดลอง
1. ควบคุมหลอด LED 1 ดวงด้วยสวิทซ์ SW1
Ladder Diagram

ผลการทดลองที่ได้
2. ควบคุมหลอด LED 1 ดวง ด้วยสวิทซ์ SW1 และ SW2
Ladder Diagram

ผลการทดลองที่ได้

3. ควบคุมหลอด LED ติด 6 วินาที และดับ 3 วินาที


Ladder Diagram

ผลการทดลองที่ได้
4. ควบคุมหลอดไฟสัญญาณจราจร
Ladder Diagram

ผลการทดลองที่ได้

สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 6-2 การเขียนโปรแกรม PLC ในการควบคุมเครือ่ งจักร
ลําดับขัน้ การทดลอง
1. ให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมควบคุมการทํางานของสายพาน ซึ่งขัน้ ตอนในการทํางานของสายพาน
แสดงด้วยแผนภาพตามรูปที่ 6-7

2. กํ า หนดเบอร์ อิน พุ ท , และเอาท์ พุ ท


ตามตารางที่ 6.1
3. ออกแบบ Ladder Diagram ของระบบ
แล้วแปลงเป็ นโปรแกรม
4. ต่ อ สายทางด้ า น I/P 24 VDC ของ
เครื่อง PLC เข้ากับชุดลําเลียงขนส่งวัตถุตามตําแหน่ง
INPUT ทีก่ าํ หนด
5. ต่ อ สายทางด้ า น O/P 24 VDC-230
VAC ของเครื่อ ง PLC เข้า กับ ชุ ด ลํา เลียงขนส่งวัตถุ
ตามตําแหน่ง Output ทีก่ าํ หนด
6. จ่ า ยแรงดั น ไฟเข้ า ที่ I/P 220 VAC
ของเครื่อง PLC แล้วปรับตําแหน่ งสวิทซ์การทํางาน
ของ PLC ไว้ทต่ี ําแหน่ง RUN MODE
7. ดาวน์ โ หลดโปรแกรมที่อ อกแบบไว้
(ซึ่ง compile ผ่านและให้อาจารย์ตรวจสอบแล้ว) ลง
PLC
8. ทดลองตามเงื่อนไขและสังเกตผลการ
ทดลอง

รูปที ่ 6-7 ขัน้ ตอนการทํางานของสายพาน

Input Number Output Number


S3 I0.0 Motor ของ Conv.1 Q0.0
START I0.1 Motor ของ Conv.2 Q0.1
STOP I0.2 Motor ของ Conv.3 Q0.2
ตารางที ่ 6-1 บอร์อนิ พุทและเอาท์พุทของอุปกรณ์
ผลการทดลอง
Ladder Diagram

ผลการทดลองที่ได้

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 7 Ground Impedance
ปฏิ บตั ิ การที่ 8 ลักษณะสมบัติของตัวควบคุม PID และระบบควบคุมป้ อนกลับ-1

วัตถุประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาผลตอบสนองของระบบ และลักษณะสมบัตขิ องตัวควบคุม PID

อุปกรณ์ การทดลอง
1. ชุ ด ทดลอง PID การควบคุ ม แกนใบพัด
2. บอร์ด Arduino Mega
3. คอมพิวเตอร์พร้อมซอฟแวร์ทใ่ี ช้เขียนโปรแกรม

ตอนที่ 8-1 บทนํา


ระบบควบคุมแบบสัดส่วน (Proportional action: P) -ปริพนั ธ์ (Integral action: I) -อนุ พนั ธ์ (Derivative
action: D) (Proportional - Integral – Derivative Action: PID controller) เป็ นระบบควบคุมแบบป้ อนกลับที่ใช้
กันอย่างกว้างขวาง ซึง่ ค่าทีน่ ําไปใช้ในการคํานวณเป็ นค่าความผิดพลาดทีห่ ามาจากความแตกต่างของตัวแปรใน
กระบวนการและค่าทีต่ อ้ งการ ตัวควบคุมจะพยายามลดค่าผิดพลาดให้เหลือน้อยทีส่ ดุ ด้วยการปรับค่าสัญญาณขา
เข้าของกระบวนการ ค่าตัวแปรของ PID ทีใ่ ช้จะปรับเปลีย่ นตามธรรมชาติของระบบ
วิธคี ํานวณของ PID ขึน้ อยู่กบั สามตัวแปรคือค่า P, I และ D ค่า P กําหนดจากผลของความผิดพลาดใน
ปั จจุบนั , ค่า I กําหนดจากผลบนพืน้ ฐานของผลรวมความผิดพลาดทีซ่ ง่ึ พึง่ ผ่านพ้นไป, และค่า D กําหนดจากผล
บนพืน้ ฐานของอัตราการเปลีย่ นแปลงของค่าความผิดพลาด นํ้าหนักทีเ่ กิดจากการรวมกันของทัง้ สามนี้จะใช้ใน
การปรับกระบวนการ

รูปที ่ 8-1 แผนภาพบล็อกของการควบคุมแบบพีไอดี


โดยการปรับ ค่า คงที่ใน PID ตัว ควบคุมสามารถปรับรูป แบบการควบคุมให้เ หมาะกับ ที่กระบวนการ
ต้องการได้ การตอบสนองของตัวควบคุมจะอยู่ในรูปของการไหวตัวของตัวควบคุมจนถึงค่าความผิดพลาด ค่าโอ
เวอร์ชูต (overshoots) และ ค่าแกว่งของระบบ (oscillation) วิธี PID ไม่รบั ประกันได้ว่าจะเป็ นระบบควบคุมที่
เหมาะสมทีส่ ดุ หรือสามารถทําให้กระบวนการมีความเสถียรแน่นอน
การประยุ ก ต์ใ ช้ง านบางครัง้ อาจใช้เ พีย งหนึ่ ง ถึง สองรูป แบบ ขึ้น อยู่ก ับ กระบวนการเป็ น สํา คัญ PID
บางครัง้ จะถูกเรียกว่าการควบคุมแบบ PI, PD, P หรือ I ขึน้ อยู่กบั ว่าใช้รปู แบบดังต่อไปนี้
การควบคุมแบบ PID ได้ช่อื ตามการรวมกันของเทอมของตัวแปรทัง้ สามตามสมการ:
𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂 (𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 (8-1)
เมื่อ 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 , 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 และ 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 เป็ นผลของสัญญาณขาออกจากระบบควบคุม PID จากแต่ละเทอมซึง่ นิยาม
ตามรายละเอียดด้านล่าง
และ เป็ นผลของสัญญาณขาออกจากระบบควบคุม PID จากแต่ละเทอมซึง่ นิยามตามรายละเอียด
ด้านล่าง
สัดส่วน (Proportional action: P)
สัดส่วน (P) (บางครัง้ เรียกอัตราขยาย) จะเปลีย่ นแปลงเป็ นสัดส่วนของค่าความผิดพลาด การตอบสนอง
ของสัดส่วนสามารถทําได้โดยการคูณค่าความผิดพลาดด้วยค่าคงที่ 𝐾𝐾𝑝𝑝 หรือทีเ่ รียกว่าอัตราขยายสัดส่วน เทอม
ของสัดส่วนเป็ นไปตามสมการ:
𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝐾𝐾𝑝𝑝 𝑒𝑒(𝑡𝑡) (8-2)
เมื่อ
𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 : สัญญาณขาออกของเทอมสัดส่วน 𝑒𝑒: ค่าความผิดพลาด = 𝑆𝑆𝑆𝑆 − 𝑃𝑃𝑃𝑃
𝐾𝐾𝑝𝑝 : อัตราขยายสัดส่วน, ตัวแปรปรับค่าได้ 𝑡𝑡: เวลา
ผลอัตราขยายสัดส่วนที่สูงค่าความผิดพลาดก็จะเปลี่ยนแปลงมากเช่นกัน แต่ ถ้าสูงเกินไประบบจะไม่
เสถียรได้ ในทางตรงกันข้าม ผลอัตราขยายสัดส่วนทีต่ ่าํ ระบบควบคุมจะมีผลตอบสนองต่อกระบวนการน้อยตาม
ไปด้วยดังแสดงในรูปที่ 6-2

รูปที ่ 8-2 กราฟ PV ต่อเวลา, Kp กําหนดเป็ น 3 ค่า(Ki และ Kd คงที)่


ปริพนั ธ์ (Integral action: I)
ปริพนั ธ์ (I) (บางครัง้ เรียก reset) เป็ นสัดส่วนของขนาดความผิดพลาดและระยะเวลาของความผิดพลาด
ผลรวมของความผิดพลาดในทุกช่วงเวลา (ปริพนั ธ์ของความผิดพลาด) จะให้ออฟเซตสะสมทีค่ วรจะเป็ นในก่อน
หน้ า ความผิด พลาดสะสมจะถูก คูณ โดยอัตราขยายปริพ ัน ธ์ ขนาดของผลของเทอมปริพนั ธ์จะกํา หนดโดย
อัตราขยายปริพนั ธ์ 𝐾𝐾𝑖𝑖
เทอมปริพนั ธ์จะเป็ นไปตามสมการ:
𝑡𝑡
𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝐾𝐾𝑖𝑖 ∫0 𝑒𝑒(𝜏𝜏) 𝑑𝑑𝑑𝑑 (8-3)
เมื่อ
𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 : สัญญาณขาออกของเทอมปริ พนั ธ์ 𝑒𝑒: ค่าความผิดพลาด = 𝑆𝑆𝑆𝑆 − 𝑃𝑃𝑃𝑃
𝐾𝐾𝑖𝑖 : อัตราขยายปริพนั ธ์, ตัวแปรปรับค่าได้ 𝑡𝑡: เวลา
𝜏𝜏: ตัวแปรปริพนั ธ์หุ่น
ปริพนั ธ์ (เมื่อรวมกับเทอมสัดส่วน) จะเร่งกระบวนการให้เข้าสู่จุดทีต่ ้องการและขจัดความผิดพลาดที่
เหลืออยู่ทเ่ี กิดจากการใช้เพียงเทอมสัดส่วน แต่อย่างไรก็ตาม ปริพนั ธ์เป็ นการตอบสนองต่อความผิดพลาดสะสม
ในอดีต จึงสามารถทําให้เกิดโอเวอร์ชตู ได้ (ข้ามจุดทีต่ อ้ งการและเกิดการหันเหไปทางทิศทางอื่น) ดังแสดงในรูป
ที่ 6-3

รูปที ่ 8-3 กราฟ PV ต่อเวลา, Ki กําหนดเป็ นสามค่า (Kp และ Kd คงที)่


อนุพนั ธ์ (Derivative action: D)
อัต ราการเปลี่ย นแปลงของความผิด พลาดจากกระบวนการนัน้ คํา นวณหาจากความชัน ของความ
ผิดพลาดทุกๆเวลา (นัน่ คือ เป็ นอนุ พนั ธ์อนั ดับหนึ่งสัมพันธ์กบั เวลา) และคูณด้วยอัตราขยายอนุ พนั ธ์ 𝐾𝐾𝑑𝑑 ขนาด
ของผลของเทอมอนุพนั ธ์ (บางครัง้ เรียก อัตรา) ขึน้ กับ อัตราขยายอนุพนั ธ์ 𝐾𝐾𝑑𝑑
เทอมอนุพนั ธ์เป็ นไปตามสมการ:
𝑑𝑑
𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝐾𝐾𝑑𝑑 𝑑𝑑𝑑𝑑 �𝑒𝑒(𝑡𝑡)� (8-4)
เมื่อ
𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 : สัญญาณขาออกของเทอมอนุ พนั ธ์ 𝑒𝑒: ค่าความผิดพลาด = 𝑆𝑆𝑆𝑆 − 𝑃𝑃𝑃𝑃
𝐾𝐾𝑖𝑖 : อัตราขยายอนุพนั ธ์, ตัวแปรปรับค่าได้ 𝑡𝑡: เวลา
เทอมอนุ พนั ธ์จะชะลออัตราการเปลีย่ นแปลงของสัญญาณขาออกของระบบควบคุมและด้วยผลนี้จะช่วยให้ระบบ
ควบคุมเข้าสูจ่ ุดทีต่ อ้ งการ ดังนัน้ เทอมอนุพนั ธ์จะใช้ในการลดขนาดของโอเวอร์ชตู ทีเ่ กิดจาเทอมปริพนั ธ์และทําให้
เสถียรภาพของการรวมกันของระบบควบคุมดีขน้ึ แต่อย่างไรก็ตามอนุ พนั ธ์ของสัญญาณรบกวนทีถ่ ูกขยายใน
ระบบควบคุมจะไวมากต่อการรบกวนในเทอมของความผิดพลาดและสามารถทําให้กระบวนการไม่เสถียรได้ถ้า
สัญญาณรบกวนและอัตราขยายอนุพนั ธ์มขี นาดใหญ่เพียงพอ ดังแสดงในรูปที่ 6-4

รูปที ่ 8-4 กราฟ PV ต่อเวลา, สําหรับ Kd 3 ค่า (Kp และ Ki คงที)่

เทอมสัด ส่ว น, ปริพ ัน ธ์, และอนุ พ ัน ธ์ จะนํ า มารวมกัน เป็ น สัญญาณขาออกของการควบคุ มแบบ PID
กําหนดให้ 𝑢𝑢(𝑡𝑡) เป็ นสัญญาณขาออก สมการสุดท้ายของวิธี PID คือ:
𝑡𝑡 𝑑𝑑
𝑢𝑢(𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂 (𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝐾𝐾𝑝𝑝 𝑒𝑒(𝑡𝑡) + 𝐾𝐾𝑖𝑖 ∫0 𝑒𝑒(𝜏𝜏) 𝑑𝑑𝑑𝑑 + 𝐾𝐾𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
�𝑒𝑒(𝑡𝑡)� (8-5)
การปรับจูนด้วยมือ
ถ้าระบบยังคงทํางาน ขัน้ แรกให้ตงั ้ ค่า 𝐾𝐾𝑖𝑖 และ 𝐾𝐾𝑑𝑑 เป็ นศูนย์ เพิม่ ค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝 จนกระทังสั
่ ญญาณขาออกเกิด
การแกว่ง (oscillate) แล้วตัง้ ค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝 ให้เหลือครึ่งหนึ่งของค่าที่ทําให้เกิดการแกว่งสําหรับการตอบสนองชนิด
"quarter amplitude decay" แล้วเพิม่ 𝐾𝐾𝑖𝑖 จนกระทังออฟเซตถู
่ กต้องในเวลาที่พอเพียงของกระบวนการ แต่ถ้า
𝐾𝐾𝑖𝑖 มากไปจะทําให้ไม่เสถียร สุดท้ายถ้าต้องการ ให้เพิม่ ค่า 𝐾𝐾𝑑𝑑 จนกระทังลู ่ ปอยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ แต่ถ้า 𝐾𝐾𝑑𝑑
มากเกินไปจะเป็ นเหตุให้การตอบสนองและโอเวอร์ชูตเกินยอมรับได้ ปกติการปรับจูน PID ถ้าเกิดโอเวอร์ชูต
เล็กน้อยจะช่วยให้เข้าสู่จุดทีต่ ้องการเร็วขึน้ แต่ในบางระบบไม่สามารถยอมให้เกิดโอเวอร์ชูตได้ และถ้าค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝
น้อยเกินไปก็จะทําให้เกิดการแกว่ง

ตัวแปร ช่วงเวลา โอเวอร์ชูต เวลาสูส่ มดุล ความผิดพลาดสถานะคงตัว เสถียรภาพ


ขึน้ (Overshoot) (Settling time) (Steady-state error)
(Rise
time)

𝐾𝐾𝑝𝑝 ลด เพิม่ เปลีย่ นแปลง ลด ลด


เล็กน้อย

𝐾𝐾𝑖𝑖 ลด เพิม่ เพิม่ ลดลงอย่างมีนยั สําคัญ ลด

𝐾𝐾𝑑𝑑 ลดลง ลดลงเล็กน้อย ลดลงเล็กน้อย ตามทฤษฏีไม่มผี ล ดีขน้ึ ถ้า 𝐾𝐾𝑑𝑑 มีค่า


เล็กน้อย น้อย
ตารางที ่ 8-1 ผลของการปรับเปลีย่ นค่าตัวแปร

ชุดทดลองแกนใบพัด
ชุดทดลองแกนใบพัดนี้จะช่วยให้ผู้ทดลองได้เข้าใจการควบคุม PID สําหรับการควบคุมตําแหน่ งของ
แกนใบพัด หมุ น โปรแกรมควบคุ ม จะทํา ผ่ า นโปรแกรม Arduino และสามารถแสดงผลเป็ น กราฟ เพื่อ ใช้ดู
ผลตอบสนองของระบบซึ่งจะช่วยให้ผู้ทดลองสามารถปรับปรุ งตัวควบคุม PID ให้เหมาะสมและลู่เข้า สู่ค่ า ที่
ต้องการโดยทดลองจะแบ่งเป็ นใบงานดังนี้
1. การควบคุม Open loop
2. การควบคุมแบบ P
3. การควบคุมแบบ PI
4. การควบคุมแบบ PID
5. การควบคุมแบบ PID โดยใช้ไลเบอรี่
สําหรับองค์ประกอบของชุดทดลองแกนใบพัดประกอบด้วย ปุ่มปรับ (Set point), นํ้าหนักถ่วง, มอเตอร์
ดีซี (DC Motor), ใบพัด และ บอร์ดอินเตอร์เฟส ดังรูปที่ 6-5
รูปที ่ 8-5 คู่มอื การควบคุมชุดทดลองแกนใบพัด

การต่อวงจร Ardiuno เข้ากับ บอร์ดอินเตอร์เฟส แสดงตามรูปที่ 8-6

รูปที ่ 8-6 การต่อวงจรเข้ากับ Arduino Mega


รูปที ่ 8-7 ตัวอย่างการต่อใช้งานและลักษณะสัญญาณอินพุตและเอาต์พุต

ตอนที่ 8-2 การควบคุม Open loop


รูปที่ 8-6 เป็ นไดอะแกรม การควบคุมแบบ Open loop ทีผ่ ใู้ ช้งานสามารถปรับค่าแรงดันไฟฟ้ าทีจ่ ะจ่าย
ให้กบั มอเตอร์โดยตรง ซึ่งค่าแรงดันไฟฟ้ านี้คอื สัญญาณ PWM นัน่ เอง การควบคุมลักษณะนี้ ตัวควบคุมจะไม่
รับรูต้ ําแหน่ งของแกนใบพัดไม่ว่าจะขึน้ ลงมากหรือน้อย สัญญาณ PWM ก็จะยังคงเดิมไม่เปลีย่ นจนกว่าผูใ้ ช้งาน
จะปรับเปลีย่ นค่าเอง
การควบคุมลักษณะนี้เรียบง่าย ไม่ซบั ซ้อนแต่ขอ้ เสียสําคัญคือ ระบบจะไม่ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลง
ของระบ กล่าวคือไม่ว่าระบบจะเป็ นอย่างไร สัญญาณเอาต์พุตก็ยงั คงเดิม
รูปที ่ 8-8 ไดอะแกรมการควบคุมแบบ Open loop

รูปที ่ 8-9 โปรแกรมควบคุมแกนใบพัดแบบ Open loop


ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

ตอนที่ 8-3 การควบคุมแบบ P


การควบคุมแบบ P ย่อมาจากคําว่า Proportional เป็ นหนึ่งในเทอมของการควบคุมแบบ PID ในหัวข้อนี้
จะได้เรียนรูพ้ ฤติกรรม ข้อดี ข้อเสียของ P control
การควบคุมแบบ PID เป็ นการพิจารณาจากค่า Error ทีเ่ กิดขึน้ จากความแตกต่างระหว่างสัญญาณ set
point กับสัญญาณอินพุตป้ อนกลับ (feed back) โดยมีการคูณด้วยอัตราการขยายหรือเกน เข้ากับค่า Error ทีไ่ ด้
เรียกว่าค่า K สําหรับการควบคุม P ก็จะเรียกค่าเกนว่า Kp (อ่านว่า เคพี)

รูปที ่ 8-10 สมการการควบคุมแบบ P


รูปที ่ 8-11 ไดอะแกรมการควบคุมแบบ P

รูปที ่ 8-12 โปรแกรมควบคุมแกนใบพัดแบบ P


ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

ตอนที่ 8-4 การควบคุมแบบ PI


การควบคุมแบบ PI ย่อมาจากคําว่า Proportional Integral เป็ นสองในสามเทอมของการควบคุมแบบ
PID ในหัวข้อนี้จะได้เรียนรูพ้ ฤติกรรม ข้อดี ข้อเสีย ของ PI control
การควบคุมแบบ PI เป็ นการปรับปรุงการควบคุมแบบ P โดยเพิม่ เทอม I เข้าไปเพื่อแก้ปัญหาออฟเซต
ระหว่าง set point และสัญญาณ feed back ในช่วงแรก กลไกของเทอม P จะทํางานเพื่อให้ตําแหน่ง feed back
เข้าใกล้ set point ต่อจากนัน้ ค่าออฟเซตทีเ่ กิดขึน้ จะถูกแก้ดว้ ยเทอม I ทีจ่ ะค่อยๆ ขยับค่าเพื่อลดค่าออฟเซตให้
น้อยลงจนเข้าใกล้ศนู ย์ ในทางทฤษฏีแล้วการควบคุมแบบ PI จะมีค่า Error เป็ นศูนย์ แต่ในโลกแห่งความจริงแล้ว
จะมีการแกว่งเล็กๆ เกิดขึน้ อยู่โดยระบบจะแกว่งอยู่รอบๆ ค่า set point กลไกการทํางานของ PI control เป็ น
ตามสมการในรูปที ่ 6-13

รูปที ่ 8-13 ไดอะแกรมการควบคุมแบบ PI


รูปที ่ 8-14 ไดอะแกรมการควบคุมแบบ PI

รูปที ่ 8-15 โปรแกรม PI


ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง
ปฏิ บตั ิ การที่ 9 ลักษณะสมบัติของตัวควบคุม PID และระบบควบคุมป้ อนกลับ-2
วัตถุประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาผลตอบสนองของระบบ และลักษณะสมบัตขิ องตัวควบคุม PID

อุปกรณ์ การทดลอง
1. ชุ ด ทดลอง PID การควบคุ ม แกนใบพัด
2. บอร์ด Arduino Mega
3. คอมพิวเตอร์พร้อมซอฟแวร์ทใ่ี ช้เขียนโปรแกรม

ตอนที่ 6-1 บทนํา


ระบบควบคุมแบบสัดส่วน (Proportional action: P) -ปริพนั ธ์ (Integral action: I) -อนุ พนั ธ์ (Derivative
action: D) (Proportional - Integral – Derivative Action: PID controller) เป็ นระบบควบคุมแบบป้ อนกลับที่ใช้
กันอย่างกว้างขวาง ซึง่ ค่าทีน่ ําไปใช้ในการคํานวณเป็ นค่าความผิดพลาดทีห่ ามาจากความแตกต่างของตัวแปรใน
กระบวนการและค่าทีต่ อ้ งการ ตัวควบคุมจะพยายามลดค่าผิดพลาดให้เหลือน้อยทีส่ ดุ ด้วยการปรับค่าสัญญาณขา
เข้าของกระบวนการ ค่าตัวแปรของ PID ทีใ่ ช้จะปรับเปลีย่ นตามธรรมชาติของระบบ
วิธคี ํานวณของ PID ขึน้ อยู่กบั สามตัวแปรคือค่า P, I และ D ค่า P กําหนดจากผลของความผิดพลาดใน
ปั จจุบนั , ค่า I กําหนดจากผลบนพืน้ ฐานของผลรวมความผิดพลาดทีซ่ ง่ึ พึง่ ผ่านพ้นไป, และค่า D กําหนดจากผล
บนพืน้ ฐานของอัตราการเปลีย่ นแปลงของค่าความผิดพลาด นํ้าหนักทีเ่ กิดจากการรวมกันของทัง้ สามนี้จะใช้ใน
การปรับกระบวนการ

รูปที ่ 9-1 แผนภาพบล็อกของการควบคุมแบบพีไอดี


โดยการปรับ ค่า คงที่ใน PID ตัว ควบคุมสามารถปรับรูป แบบการควบคุมให้เ หมาะกับ ที่กระบวนการ
ต้องการได้ การตอบสนองของตัวควบคุมจะอยู่ในรูปของการไหวตัวของตัวควบคุมจนถึงค่าความผิดพลาด ค่าโอ
เวอร์ชูต (overshoots) และ ค่าแกว่งของระบบ (oscillation) วิธี PID ไม่รบั ประกันได้ว่าจะเป็ นระบบควบคุมที่
เหมาะสมทีส่ ดุ หรือสามารถทําให้กระบวนการมีความเสถียรแน่นอน
การประยุ ก ต์ใ ช้ง านบางครัง้ อาจใช้เ พีย งหนึ่ ง ถึง สองรูป แบบ ขึ้น อยู่ก ับ กระบวนการเป็ น สํา คัญ PID
บางครัง้ จะถูกเรียกว่าการควบคุมแบบ PI, PD, P หรือ I ขึน้ อยู่กบั ว่าใช้รปู แบบดังต่อไปนี้
การควบคุมแบบ PID ได้ช่อื ตามการรวมกันของเทอมของตัวแปรทัง้ สามตามสมการ:
𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂 (𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 (9-1)
เมื่อ 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 , 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 และ 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 เป็ นผลของสัญญาณขาออกจากระบบควบคุม PID จากแต่ ละเทอม จะ
นํ ามารวมกันเป็ นสัญญาณขาออกของการควบคุมแบบ PID กําหนดให้ 𝑢𝑢(𝑡𝑡) เป็ นสัญญาณขาออก สมการ
สุดท้ายของวิธี PID คือ:
𝑡𝑡 𝑑𝑑
𝑢𝑢(𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂𝑂 (𝑡𝑡) = 𝑃𝑃𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐼𝐼𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 + 𝐷𝐷𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜𝑜 = 𝐾𝐾𝑝𝑝 𝑒𝑒(𝑡𝑡) + 𝐾𝐾𝑖𝑖 ∫0 𝑒𝑒(𝜏𝜏) 𝑑𝑑𝑑𝑑 + 𝐾𝐾𝑑𝑑
𝑑𝑑𝑑𝑑
�𝑒𝑒(𝑡𝑡)� (9-2)
ตอนที่ 6-1 การปรับจูน PID ด้วยมือ
ถ้าระบบยังคงทํางาน ขัน้ แรกให้ตงั ้ ค่า 𝐾𝐾𝑖𝑖 และ 𝐾𝐾𝑑𝑑 เป็ นศูนย์ เพิม่ ค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝 จนกระทังสั
่ ญญาณขาออกเกิด
การแกว่ง (oscillate) แล้วตัง้ ค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝 ให้เหลือครึ่งหนึ่งของค่าที่ทําให้เกิดการแกว่งสําหรับการตอบสนองชนิด
"quarter amplitude decay" แล้วเพิม่ 𝐾𝐾𝑖𝑖 จนกระทังออฟเซตถู
่ กต้องในเวลาที่พอเพียงของกระบวนการ แต่ถ้า
𝐾𝐾𝑖𝑖 มากไปจะทําให้ไม่เสถียร สุดท้ายถ้าต้องการ ให้เพิม่ ค่า 𝐾𝐾𝑑𝑑 จนกระทังลู ่ ปอยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ แต่ถ้า 𝐾𝐾𝑑𝑑
มากเกินไปจะเป็ นเหตุให้การตอบสนองและโอเวอร์ชูตเกินยอมรับได้ ปกติการปรับจูน PID ถ้าเกิดโอเวอร์ชูต
เล็กน้อยจะช่วยให้เข้าสู่จุดทีต่ ้องการเร็วขึน้ แต่ในบางระบบไม่สามารถยอมให้เกิดโอเวอร์ชูตได้ และถ้าค่า 𝐾𝐾𝑝𝑝
น้อยเกินไปก็จะทําให้เกิดการแกว่ง

ตัวแปร ช่วงเวลา โอเวอร์ชูต เวลาสูส่ มดุล ความผิดพลาดสถานะคงตัว เสถียรภาพ


ขึน้ (Overshoot) (Settling time) (Steady-state error)
(Rise
time)

𝐾𝐾𝑝𝑝 ลด เพิม่ เปลีย่ นแปลง ลด ลด


เล็กน้อย

𝐾𝐾𝑖𝑖 ลด เพิม่ เพิม่ ลดลงอย่างมีนยั สําคัญ ลด

𝐾𝐾𝑑𝑑 ลดลง ลดลงเล็กน้อย ลดลงเล็กน้อย ตามทฤษฏีไม่มผี ล ดีขน้ึ ถ้า 𝐾𝐾𝑑𝑑 มีค่า


เล็กน้อย น้อย
ตารางที ่ 9-1 ผลของการปรับเปลีย่ นค่าตัวแปร

ตอนที่ 6-2 การควบคุมแบบ PID


การควบคุม PID เป็ นการรวมเอา สามเทอมมาทํางานร่วมกัน โดยแต่ละเทอมจะทํางานเพื่อแก้ปัญหาใน
แบบของตัวเอง สมการโดยรวมของ PID เป็ นดังรูปที่ 9-2 จะเห็นว่าเป็ นผลรวมของ สามเทอม ที่ประกอบด้วย
เทอม P เทอม I และ เทอม D อิทธิพลของแต่ ละเทอมจะทํางานในแต่ละสถานการณ์ ของระบบ ตัวอย่างเช่น
เทอม P จะมีอิทธิพลสูงเมื่อค่าความต่ างระหว่าง set point กับสัญญาณ Feed back มีค่ามาก อยู่ห่างกันมาก
ขณะที่เทอม I จะมีอิทธิพลสูงเมื่อค่า Feed back อยู่ใกล้ๆ ค่า set point เทอม I นี้จะเริ่มทํางานเพื่อทําให้ค่า
Error ลดลงจนเป็ นศูนย์ และสุดท้ายอิทธิพลของเทอม D จะคอยต้านทานการเปลีย่ นแปลงขึน้ ลงอย่างรวดเร็วของ
สัญญาณ feed back ทีจ่ ะส่งผลต่อสัญญาณเอาต์พุต อิทธิพลของเทอม D จะลดลงเมื่อสัญญาณFeed back ของ
ระบบ ในสถานะนิ่งๆ

รูปที ่ 9-2 สมการควบคุม PID

รูปที ่ 9-3 ไดอะแกรมการควบคุมแบบ PID


การต่อวงจร Ardiuno เข้ากับ บอร์ดอินเตอร์เฟส แสดงตามรูปที่ 6-6

รูปที ่ 9-4 การต่อวงจรเข้ากับ Arduino Mega


รูปที ่ 9-16 โปรแกรม PID
ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 6-3 การควบคุมแบบ PIDโดยใช้ไลเบอรี่ PID
ที่ผ่ า นมาเป็ นการใช้ตัว ควบคุ ม PID ที่เ ขีย นขึ้น มาเองซึ่ง จริง ๆ แล้ ว ตัว ควบคุ ม PID ที่ใ ช้ ง านใน
อุตสาหกรรม หรือในผลิตภัณฑ์ตวั ควบคุม PID สําเร็จรูป ได้เพิม่ ขึน้ ฟั งชัน่ ตัวป้ องกัน และอัลกอริทม่ึ ใหม่ๆ เข้า
ไปเพื่อแก้ปัญหาตัวควบคุม PID แบบพืน้ ฐาน เพื่อเป็ นการรับประกันว่าปั ญหาของตัวควบคุม PID แบบพืน้ ฐานที่
อาจเกิดขึน้ กับโค้ดทีเ่ ขียนขึน้ เองจะได้รบั การแก้ไขและป้ องกันไว้แล้ว การเลือกใช้ไลเบอรี่ PID ก็เป็ นทางเลือก
หนึ่งทีน่าสนใจ ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถมุ่งไปการจูนค่าเกน PID และดูผลตอบสนองของระบบ ให้ได้อย่างที่
ต้องการ โดยไม่ตอ้ งกังวลกับปั ญหาทีอ่ าจเกิดกับโค้ดทีเ่ ขียนขึน้ เอง สําหรับไลเบอรี PID ผูใ้ ช้งานสามารถไปโหลด
มาใช้งานได้ตามรูปที่ 9-6

รูปที ่ 9-17 ดาวน์โหลดไลเบอรี PID เวอร์ชนั V1.0.1


รูปที ่ 9-7 ตรวจสอบตัวอย่างโค้ด PID ทีม่ มี าให้ หากติดตัง้ ไลเบอรีเ่ รียบร้อยแล้ว

เมื่อโหลดไลเบอรี่มาแล้วติดตัง้ ให้เสร็จ จากนัน้ ตรวจสอบโดยทําตามรูปที่ 9-7 ถ้าถูกต้องจะต้องเห็น


ตัวอย่างใน Examples
รูปที ่ 9-8 ตัวอย่างโค้ดการใช้งานไลเบอรีเ่ พือ่ ควบคุมตําแหน่งแกนใบพัด
ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 6-3 ขัน้ ตอนในการออกแบบการควบคุมPID
มีหลักการง่ายๆ 4 ขัน้ ตอนดังนี้
1. ต้องมีค่าพารามิเตอร์เหล่านี้ของระบบในใจว่าต้องการมากน้อยขนาดไหน ซึง่ แต่ละงานจะแตกต่างกันออกไป
Rise Time ช่วงเวลาขาขึน้ ต้องการเร็วมากหรือไม่ หรือยอมรับค่ามากๆได้ รอได้
Overshoot ยอมให้มโี อเวอร์หรือไม่ หรือยอมได้มากน้อยขนาดไหน
Settling Time ช่วงเวลาตัง้ แต่มกี ารเปลีย่ นค่าตําแหน่ งเก่าไปตําแหน่ งใหม่ตอ้ งเร็วขนาดไหน หรือรอได้
ขอให้ได้ตรงตําแหน่งเป็ นพอ
Steady-state Error ยอมให้มีค่ า Error ตอนระบบนิ่ งแล้ว หรือ ไม่ ยอมได้ห รือ ยอมไม่ไ ด้ ต้อ งไม่ เ กิน
เท่าไร
2. ถ้าต้องการลด rise time ให้เพิม่ ค่า Kp
3. ถ้าต้องการลด over shoot และ settling time ให้เพิม่ ค่า Kd
4. ถ้าต้องการให้ค่า error เป็ น 0 ให้เพิม่ ค่า Ki มากกว่า 0

รูปที ่ 9-9 การจูน PID โดยใช้วธิ กี าร Ziegler-Nichols


ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง
ตอนที่ 6-4 การจูน PID โดยใช้วิธีการ Ziegler-Nichols
แนวคิด ง่ า ยๆ ของวิธีน้ี คือ เราจะหาค่ า เกน Kp, Ki, Kd ด้ว ยการให้ step response แก่ ร ะบบ แล้ว
คํา นวณจากกราฟที่ไ ด้ ซึ่ง กราฟที่ไ ด้น้ีเ กิด จากใช้อ อสซิโ ลสโคปจับวัด สัญญาณ Feed back ในกรณี ท่ีระบบ
ตอบสนองรวดเร็ว เช่น ความเร็ว ตําแหน่ งแขนกล กลไกต่างๆ ส่วนระบบช้าๆ เช่นอุณหภูมคิ วามชืน้ อาจต้อง
เก็บค่าด้วย Data logger แล้วนํามาพล็อตกราฟ

รูปที ่ 9-10 พล็อตกราฟเพือ่ หาค่า เกน Kp, Ki, Kd

รูปที ่ 9-11 ค่าเกน Kp, Ki, Kd ทีไ่ ด้จากการให้ step response แก่ระบบและพล็อตกราฟ

ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

You might also like